從福島核災受災者的角度出發.....【投書】東京奧運稱得上「復興五輪」嗎?被遺忘的311重建視角(08/12/2021 報導者The Reporter)
文字 : 陳威志
因COVID-19而延期一年的東京奧運,在8月8日閉幕了。這種傾國家之力舉辦的國際賽事,常被視為國威的展現,傳達某種慶賀的訊息。然而,正因如此,日本國內一直存在不少質疑與反對聲浪。
疫情方面的疑慮只是其一,許多人都忘了有關東日本大地震重建的問題。當初申辦奧運時,日本政府揭示的宗旨就是「向世界展現日本從大震災之中振作起來」(日語稱「復興五輪」),希望「東奧帶動重建復興」。對此,福島核災災民與支援重建的民間團體等有識之士,從申辦時就質問至今的正是:福島核災的後續還未妥善處理,豈是展現國威、舉國歡慶的時候?
核災損害仍根結社會底層:土地未除汙、災民陷貧困⋯⋯
10年了,核災尚未結束,災民的苦難還在繼續。避難指示區已大半被解編,但其依據的輻射劑量標準卻是災前的20倍,且除汙無法徹底,長居仍具健康疑慮。農、林、漁、牧等一級產業,所依賴的自然環境、土地受到輻射汙染、破壞,既有的維生方式遭到阻斷,以上諸種原因使得整體返鄉者少。
311隔天就進入福島採訪記錄,至今拍下數萬張照片、出版多本攝影集及兩部紀錄片的資深戰地記者豐田直巳形容:「進入浪江町等地之後,我驚覺那和我過去曾造訪的戰地沒什麼兩樣,差別只在敵人是看不見的輻射。」福島在地農民菅野正壽先生也同樣用戰爭做了比喻:「戰爭都沒有奪走我們的故鄉,但核災卻讓我們有家歸不得。」
更棘手的是,選擇不返鄉的災民,因為故鄉已非避難區,所以喪失了法定意義上的災民身分,他們因此也和住居未被劃入避難區、但擔憂輻射長期影響而自主避難的民眾一樣,都變成「擅自避難的人(勝手に逃げた人)」;本來獲得的經濟救助、住宅提供等都被陸續終止,導致貧困等問題叢生。由此可見,形式上的避難區縮減,並不表示避難者減少,更不表示福島重建復興已大半完成。所以支援災後重建的民間團體才說,核災影響逐漸被官方隱形化,幽微而難以察覺。
福島電廠除役再延期、124萬公噸核汙水恐排入太平洋
而關鍵的福島一核電廠的除役,也是難題不斷。歷經10年才好不容易進展到取出爐心熔毀的核燃料熔渣(燃料デブリ)這個步驟,但遇上疫情,所以又被延宕。官方承諾的「2051年以前完成除役」,恐怕得再延期。
與此相關的,為了幫核燃料熔渣降溫而產生的核汙水後續該如何處置。暫放於廠區內大水槽的核污水,至今已累積124萬公噸6960立方公尺(截至2021年2月18日),以奧運泳池用水量體積標準約2500公噸計算,相當於498座以上的奧運標準游泳池水量,即將無處可放,即將無處可放。日本官方宣稱,核汙水經過處理後將與一般核電廠所排的氚廢水無異,所以計畫2023年排入太平洋,以解決燙手山芋。
但後來媒體又揭露,廢水中含有鍶90(Strontium-90)等危險的放射性物質,不僅福島漁民和超過半數日本人反對,國際間亦有韃伐。即便民間團體也備有具體可行的替代方案,卻仍未見轉圜餘地。
由上述可得知,日本民眾質疑日本政府如何藉東奧呈現重建成果,也不是沒道理。
奧運聖火路線納入福島重災區,卻避開荒蕪景象
福島核災的重災區,被下令全町撤離的雙葉町,10年來不斷除汙,但輻射劑量還是壓不下來,至今水田裡還堆放著大量除汙廢土,龜裂的柏油路縫雜草叢生,以前人聲鼎沸的商店街,如今彷彿變成廢棄房屋的倉庫。然而此次東奧,雙葉火車站前的一個小區塊,卻被解除避難指示,並規劃為聖火傳遞路線,這看在災民眼中,無疑呈現中央所做的重建並非站在基層民眾角度思考,只是急著做出一個樣子,以宣稱「復興有成」。
根據《路透社》報導,雙葉町居民大沼勇治說,聖火傳遞要來這,也應該要經過如今已變成廢墟的地方,這樣外界才能知道我們失去了什麼,光看被整理過的,並無法知道實際狀況。大沼的家離福島第一核電廠約4公里,他小學時參加核電標語比賽得到優勝,他構思的「核能是象徵光明未來的能源」被做成看板,掛在町內的重要幹道上;災後他很自責,也希望保有這塊看板以作歷史教訓,但公所無視他的請求,仍將看板拆除。
另外,福島縣浪江町的居民也對媒體表示,東奧使得營造業的人事成本與建材價格等漲價,缺工缺師傅,蓋間房子要等2~3年,對他們來說,東京奧運不僅沒帶動地方發展,甚至排擠重建的經費與人力。同樣地,遭遇海嘯侵襲的宮城縣多賀市市長菊地健次郎也表示,中央籌備奧運、蓋新場館,使地方重建的預算補助等縮水。反對排放核汙水入太平洋的磐城市漁會理事柳内孝之更批評,整個感覺就是把重建當成申辦奧運的一個話題與題材罷了。正是在上述背景下,讓受災三縣(岩手縣、宮城縣、福島縣)的民眾離心離德,深深覺得所謂「復興五輪」,僅只是公關話術。
不過,東奧當然也不是完全沒有展現復興重建的意志。東京奧委會承諾,大會期間的電力使用,要百分百使用再生能源,其中太陽光電的部分就是計劃跟福島縣購買。福島核災之後,福島縣大力發展再生能源,一方面是對核電依賴的反省,一方面也希望成為再生能源的先驅地,以帶動復興,此舉跑得比中央還前面──2018年以後,自民黨政府才設定要將再生能源變成主力電源的目標──東奧的這個決定,可以說是對地方政府的肯定。
體現於能源政策的官民落差:非核家園民心所向,卻未被執政黨接納
而不僅福島對核電痛定思痛,日本全國民意也是這個趨勢。311之後的好幾年,日本都有6~7成的民意反對續用核電,到了今年2月,NHK的民調結果依舊顯示,67%的人希望非核家園,3月《京都新聞》聯合各地方報紙做的全國性民調更顯示,有82%的民眾要廢核。10年了!日本社會依舊想廢核。問題是,民意有反映在政策上嗎?
事實上,福島核災之後,當時的民主黨政府曾決定要推動2039非核家園的政策(2012年9月通過內閣決議),但卻因為自民黨回鍋(2012年12月)而被腰斬,無法進一步訂出具體的能源計畫。這幾年,台灣常聽到「日本人恐核、懼核,但沒有選擇廢核」,但這是誤解。主張廢核的民主黨政府之所以下台,很大因為是民眾對311複合災害的救災的不滿情緒堆積,以及消費稅增稅與經濟政策不得人心。
事實上,該次選舉幾乎所有主要政黨都主張日本應該走向非核家園,差別只在時程;另一方面,自民黨則是以「穩健減核」的說辭來含糊帶過,換句話說,正確的理解應該是,「日本民眾想要非核家園,但此項民意未被執政黨接納」。
台灣之所以會有「基於現實,日本也不得不要繼續用核」的說法,很有可能也是出於對日本曾有兩年(2013年8月~2015年8月)零核電運轉的去脈絡解讀。簡言之,把台灣情境套在日本狀況上解讀,以為那是中央政府一次下令所有機組皆停而造成,並且其後因為遇到供電困難所以選擇重啟機組、續用核電。
但實際上,日本核電廠並非國營,政府基本上不能直接下令停機。真正的來龍去脈是,福島核災後,核能管制機關為強化安全對策,而著手擬定更嚴格的新核安標準,但新的辦法一直到2013年7月才出爐,所以311之後依既定程序停機、實施定檢的機組必須等新辦法出現,才可以申請重啟動。而且,新辦法定案後,不是馬上可以提出申請,為符合新規範,還需要花錢花時間來建置新設備,零核電機組運轉的兩年空窗期,是這樣造成的。
「復興五輪」,真正復興了誰?
不過,就如同「復興五輪」的實際與其所宣稱的有差異一樣,自民黨的續用核電政策,並不順遂。自民黨重新執政之後,主張2030年的核電發電佔比維持在20%~22%,但所必要的核電機組重啟動並不順利,因為要符合核災後的新核安基準需要大把鈔票,若不划算,有的電力公司就乾脆除役。311之時,日本可用機組有54座,於今其中已有21座(包含福島第一核電廠的6座)已宣布除役。
日本的核電機組重啟需要有所在地縣長同意,現在雖還有11座審查中,但並非所有核電廠所在地的縣長都正面看待,因此存有不小變數,同時亦可能面對民間發起的訴訟(如四國的伊方核電廠3號機),而出現通過審查、卻無法運轉的狀況。
311發生前,日本核電發電量佔30%,但2020年只剩4.3%,僅10座可用(完成重啟動審查),核電實質上減少大半,一些中立派的日本學者已指出,自民黨的目標恐難達成。
災民心中可能都在問,把辦東奧的經費拿來協助災民的生活重建,而不是投注在那些大而無當的硬體建設不是更好?何苦繞了那麼大一圈來宣稱是「復興五輪」?奧運,是運動員帶領運動迷與做為主場國民舉國歡騰的聖典,也是帶動國家經濟的大型商機。然而,疫情下的東奧,被迫在無觀眾的狀態下舉辦,激戰時無法聽到滿場的加油聲,勝利者也無法聽到民眾即時的歡呼與喝采,舉國歡騰的程度有限。不過最令人擔憂的是,這個史上花費最高(158億美元)的奧運,阻礙了真正的重建,不僅無法復興東日本,還將繼福島核災之後,追加更多債務給下一代子孫。
完整內容請見:
https://www.twreporter.org/a/opinion-tokyo-2020-olympics-forgotten-311
♡
同時也有39部Youtube影片,追蹤數超過2萬的網紅帕克,也在其Youtube影片中提到,#奧運#體操#帕運 0:00 開頭 6:45 影片贊助者 6:48 murmur 「註」: 1.麻煩那些動不動就開噴的人 請先到置頂留言區看補充與勘誤 2.黑眼圈是天生的唷 延伸觀看: 奧運選手其實很愛打砲? 那些超乎想像的盛宴? https://youtu.be/fTxDhDhBNgI _ 這...
2012 olympics 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
โอลิมปิกที่ปารีส อาจเป็นครั้งแรก ที่คนจัดไม่ขาดทุน /โดย ลงทุนแมน
ประเทศญี่ปุ่นเพิ่งจะปิดฉากกีฬาโอลิมปิก 2020 ลงอย่างสวยงาม แต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าเงินลงทุนทั้งหมด ถูกใช้ไปสูงถึง 6 แสนล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุสำคัญมาจากการแบกรับต้นทุน
จากการเลื่อนจัดงานมา 1 ปีเพราะวิกฤติโรคระบาด
แต่ก็ดูเหมือนว่าเจ้าภาพ ก็ได้จัดงานจนจบลงได้สำเร็จและก็ได้ส่งไม้ต่อให้กับปารีส ประเทศฝรั่งเศส ที่จะเป็นเจ้าภาพครั้งถัดไปในปี 2024
เราเคยสงสัยไหมว่าที่ผ่านมา
งบประมาณและค่าใช้จ่ายในโอลิมปิกของแต่ละประเทศเจ้าภาพเป็นอย่างไร
แล้วโอลิมปิกครั้งต่อไปที่จะจัดขึ้นที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส
มีการวางงบประมาณและเตรียมพร้อมอะไรไปแล้วบ้าง ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ถ้าไปดูที่ปัญหาที่ตามมาจากการจัดกีฬาโอลิมปิก
ปัญหาแรกเลยก็คือ “เรื่องค่าใช้จ่ายบานปลาย”
เกินกว่างบประมาณที่ตั้งไว้ ซึ่งก็เกิดกับหลายประเทศที่เป็นเจ้าภาพก่อนหน้านี้ เช่น
ปี 2008 ที่ปักกิ่ง ประเทศจีน
งบประมาณ 6.3 แสนล้านบาท
ค่าใช้จ่ายจริง 1.4 ล้านล้านบาท
ปี 2012 ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ
งบประมาณ 1.6 แสนล้านบาท
ค่าใช้จ่ายจริง 5.7 แสนล้านบาท
ปี 2016 ที่รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล
งบประมาณ 4.4 แสนล้านบาท
ค่าใช้จ่ายจริง 6.3 แสนล้านบาท
ในขณะที่โตเกียวมีงบประมาณ 4.6 แสนล้านบาท แต่ค่าใช้จ่ายจริงถูกคาดการณ์ไว้สูงถึง 6 แสนล้านบาท
โดยค่าใช้จ่ายสำคัญสำหรับการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิก ก็คือ การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายในประเทศ ทั้งที่พักอาศัย ระบบขนส่ง และการรักษาความปลอดภัยให้พร้อมที่จะรองรับนักท่องเที่ยวและนักกีฬาจำนวนมาก
ในขณะเดียวกัน ก็มีบางโครงการที่ลงทุนไปแล้วแต่เมื่อจบงานกลับเกินความจำเป็นสำหรับคนในประเทศ อย่างเช่น สนามกีฬาราคาแพงที่ถูกสร้างแต่ไม่ได้ถูกนำไปใช้งานต่อ
นอกจากเรื่องของปัญหาค่าใช้จ่ายแล้ว ในมุมของรายได้หลักจากการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกจะมาจากค่าลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสด ค่าสปอนเซอร์ และค่าตั๋วเข้าชม
หากเราย้อนกลับไปโอลิมปิก 4 ครั้งล่าสุด ทุกประเทศเจ้าภาพมีรายได้ไม่ถึงครึ่งหนึ่งของค่าใช้จ่าย
ปี 2008 ที่ปักกิ่ง ประเทศจีน
รายได้ 1.7 แสนล้านบาท
ค่าใช้จ่ายจริง 1.4 ล้านล้านบาท
ปี 2012 ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ
รายได้ 2.5 แสนล้านบาท
ค่าใช้จ่ายจริง 5.7 แสนล้านบาท
ปี 2016 ที่รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล
รายได้ 2.9 แสนล้านบาท
ค่าใช้จ่ายจริง 6.3 แสนล้านบาท
ในขณะที่โอลิมปิกครั้งล่าสุดที่ประเทศญี่ปุ่น ถือเป็นงานโอลิมปิกที่เจ็บหนักกว่ารายอื่น ๆ
เพราะประเทศญี่ปุ่นเลือกที่จะจัดงานแบบไร้คนดู จึงทำให้ขาดทุนมหาศาล
และผู้ที่ต้องรับผิดชอบต่อการขาดทุน ก็คือประชาชนทั้งประเทศ
นั่นก็เพราะว่าค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ภาครัฐจะเป็นผู้รับผิดชอบ
แล้วประเทศฝรั่งเศสมีกลยุทธ์สำหรับการจัดโอลิมปิกอย่างไร ไม่ให้ขาดทุน ?
เริ่มจากงบประมาณในการจัดการงานที่ตั้งเป้าไว้ที่ 1.5 แสนล้านบาท
ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในช่วง 20 ปี ที่ผ่านมา
แต่ที่น่าสนใจกว่าคือ โครงสร้างของงบประมาณโอลิมปิกที่ปารีส ถูกแบ่งออกเป็น
- เงินสนับสนุนจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากล คิดเป็น 31%
- พาร์ตเนอร์จากหลากหลายแบรนด์ดัง คิดเป็น 28%
- สัมปทานในการจำหน่ายตั๋วเข้าชมการแข่งขัน คิดเป็น 30%
- อื่น ๆ เช่น ภาครัฐและการบริจาค คิดเป็น 11%
จะเห็นได้ว่างานโอลิมปิกที่จะเกิดขึ้นที่ปารีส จะถูกขับเคลื่อนโดยภาคเอกชนเป็นหลัก
ต่างจากโอลิมปิกก่อนหน้านี้ ในหลายประเทศที่จะมีภาครัฐเป็นผู้นำ
หมายความว่างานโอลิมปิกครั้งถัดไป จะถือเป็นงานโอลิมปิกที่ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ตั้งแต่เข้ามาหารายได้จากการแข่งขัน ไปจนถึงค่าใช้จ่ายที่กลุ่มบริษัทต้องเข้ามารับผิดชอบทั้งหมด
โดยอีกปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นกับประเทศเจ้าภาพโอลิมปิกมาโดยตลอดก็คือ “สิ่งก่อสร้างที่เกินความจำเป็น” ที่ในภายหลังจากงานเสร็จสิ้นมักจะถูกทิ้งร้างและไม่ได้นำไปใช้ต่อ
เรื่องดังกล่าวจึงทำให้สถานที่จัดงานที่ปารีสกว่า 95% ถูกคัดสรรมาจากสถานที่เดิมที่มีอยู่แล้วและนำมาปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
นอกจากนี้ โอลิมปิกปารีสก็ยังได้มีการวางแผนสร้างสนามแข่งขันชั่วคราวขึ้นตามจุดต่าง ๆ ของเมือง ทำให้ค่าใช้จ่ายลดลงไปมาก เพราะไม่ต้องลงทุนในงานก่อสร้างมูลค่าสูง รวมไปถึงช่วยลดการลงทุนในระบบการขนส่ง เพราะสถานที่ต่าง ๆ มีระบบขนส่งที่ถูกวางไว้เรียบร้อยแล้ว
โดยสนามแข่งขันชั่วคราวที่สร้างขึ้นนอกจากจะใช้เพื่อการแข่งขันกีฬาแล้ว
ยังเป็นเครื่องมือโปรโมตสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ทั่วปารีสไปในตัวอีกด้วย
อย่างเช่น สนามแข่งวอลเลย์บอลชายหาดที่ตั้งอยู่หน้าหอไอเฟล
หรือสนามแข่งขันกีฬาขี่ม้า ณ สวนพระราชวังแวร์ซาย
โดยเฉพาะพิธีเปิดและปิดการแข่งขันที่จะจัดขึ้นที่กลางแม่น้ำแซน (La Seine) แม่น้ำสายหลักของปารีส ต่างจากรูปแบบเดิมที่จัดในสนามกีฬาขนาดใหญ่ ซึ่งอาจจะต้องเสียงบประมาณมหาศาลเพื่อหาสถานที่ดังกล่าว
อย่างเช่น สนาม Japan National Stadium ที่ใช้ในพิธีเปิดและปิด ซึ่งผลาญงบประมาณกว่า 5 หมื่นล้านบาทในการปรับปรุงสนามเพื่อการจัดโอลิมปิก
และประเด็นถัดมาก็คือ สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสที่แม้ในอีก 3 ปีข้างหน้าอาจจะยุติลงแล้ว แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็อาจจะยังทำให้เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวยังไม่กลับมาเป็นแบบเดิม
แต่ด้วยโมเดลโครงสร้างเงินทุนของปารีสที่มีภาคเอกชนเป็นหลัก
แถมยังมีงบประมาณในการจัดที่ต่ำ เมื่อเทียบกับประเทศเจ้าภาพโอลิมปิกที่ผ่านมา
หากมีความจำเป็นต้องใช้งบประมาณเพิ่มเติมจากที่กำหนดไว้ในตอนแรก
ก็ยังสามารถพึ่งพางบประมาณจากภาครัฐมาช่วยสนับสนุนได้
เพราะภาครัฐเองแทบจะไม่ได้ใช้งบประมาณใด ๆ เลยตั้งแต่แรก
ด้วยโมเดลใหม่ ๆ และประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนรู้จากเจ้าภาพในอดีต
ก็เป็นที่น่าติดตามว่าการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่ปารีส จะออกมาเป็นอย่างไร
ทั้งในเชิงการจัดการแข่งขันกีฬาและการจัดสรรควบคุมงบประมาณ
หากทั้งหมดนี้เป็นไปได้ด้วยดี ก็ไม่แน่เหมือนกันว่ากลยุทธ์ในการจัดโอลิมปิกปารีสอาจกลายเป็นต้นแบบสำหรับเจ้าภาพโอลิมปิกครั้งต่อ ๆ ไปในอนาคต ก็เป็นได้
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.paris2024.org/en/the-games-finance-themselves/
-https://www.nytimes.com/2021/08/06/sports/olympics/paris-2024-olympics-pandemic.html
-https://press.paris2024.org/folders/olympic-venues-5f10-7578a.html
-https://www.longtunman.com/14138
-https://www.facebook.com/longtunman/posts/1085349435330997/
-https://olympics.com/en/olympic-games/paris-2024
-https://www.statista.com/statistics/1101349/japan-reconstruction-cost-breakdown-national-stadium/
-https://www.thehindubusinessline.com/data-stories/data-focus/will-the-tokyo-olympics-be-profitable-despite-the-pandemic/article35681634.ece
2012 olympics 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
โอลิมปิก 2016 มหกรรมคอร์รัปชันครั้งใหญ่ ในบราซิล /โดย ลงทุนแมน
คอร์รัปชัน เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับประเทศบราซิลมานาน ไม่เว้นแม้แต่การเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนในปี 2016 ที่ผ่านมา
ประเทศบราซิลใช้เงินเพื่อการเตรียมความพร้อมเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกกว่า 4 แสนล้านบาท
ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในการจัดโอลิมปิกที่แพงที่สุดในประวัติศาสตร์
แต่เมื่อพิธีปิดสิ้นสุดลง เรื่องราวของ รีโอเกมส์ กลับโด่งดังไปมากกว่าเดิม
เพราะนักการเมืองและนักธุรกิจกว่าร้อยคน ถูกสอบสวนจากการทุจริต
มหกรรมการรับสินบนที่อยู่ภายใต้มหกรรมกีฬาระดับโลกที่บราซิลเป็นเจ้าภาพ มีเรื่องราวเป็นอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
รีโอเดจาเนโร หรือที่นิยมเรียกกันว่า “รีโอ” เป็นเมืองท่องเที่ยวขนาดใหญ่ในประเทศบราซิล ที่ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในเมืองที่สวยที่สุดในโลก เพราะมีสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญอย่างชายหาด Copacabana และ Ipanema รวมไปถึงรูปปั้นพระเยซูขนาดใหญ่ที่ชื่อ Christ the Redeemer
รัฐบาลบราซิลจึงสนับสนุนให้เมืองรีโอ เป็นเจ้าภาพงานสำคัญระดับโลกมาหลายครั้ง ยกตัวอย่างเช่น
ปี 2007 เป็นเจ้าภาพ แพนอเมริกันเกมส์
ปี 2012 เป็นเจ้าภาพ การประชุม UN Earth Summit
ปี 2014 เป็นเจ้าภาพ ฟุตบอลโลก
ปี 2016 เป็นเจ้าภาพ โอลิมปิกเกมส์
อดีตประธานาธิบดี Lula da Silva คือผู้ที่ผลักดันให้เมืองรีโอเป็นเจ้าภาพการจัดกีฬาโอลิมปิก เพราะในการเตรียมตัว ก็จะนำไปสู่การปรับปรุงเมืองให้สวยงาม การลงทุนพัฒนาและก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งถือเป็นโอกาสที่ดีในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ชาวเมืองรีโอ
แต่เบื้องหลังภาพที่สวยงามเหล่านั้น กลับเต็มไปด้วยการคอร์รัปชัน
ไม่ว่าจะเป็นการติดสินบน การฟอกเงิน รวมไปถึงการใช้ความรุนแรงเพื่อขับไล่ผู้อยู่อาศัยในย่านสลัม
และรู้หรือไม่ว่าการคอร์รัปชันโอลิมปิกของบราซิลนั้น เริ่มตั้งแต่การที่เมืองรีโอได้รับเลือกเป็นเจ้าภาพ
นาย Carlos Nuzman ประธานกรรมการโอลิมปิกของบราซิล และนาย Sérgio Cabral อดีตผู้ว่าการรัฐรีโอเดจาเนโร ถูกจับในข้อหาติดสินบนเป็นเงินราว 66 ล้านบาท เพื่อให้ได้รับการการันตีว่ารีโอจะถูกโหวตเป็นเจ้าภาพโอลิมปิก
ซึ่งนาย Sérgio ยังพัวพันกับการติดสินบนในการก่อสร้างและปรับปรุงสถานที่ในเมืองรีโอ
ทั้งการก่อสร้างและปรับปรุงสนามกีฬาที่ชื่อว่า Maracanã ซึ่งเป็นที่จัดพิธีปิดโอลิมปิก
โดย Sérgio ได้ติดสินบนเจ้าหน้าที่กว่า 25 ล้านบาท เพื่อให้ได้รับอนุมัติปรับปรุงสนามกีฬาและใช้งบประมาณเกินกว่าที่เสนอไว้ไปกว่า 75% รวมถึงรถไฟใต้ดินสายใหม่ ที่การก่อสร้างใช้เงินกว่า 6 หมื่นล้านบาท เกินกว่าที่ตั้งเป้าไว้เป็น 10 เท่า
สำหรับรถไฟใต้ดินสายใหม่นี้ สร้างมาเพื่อเชื่อมระหว่างตัวเมืองรีโอกับย่าน Barra ที่เป็นหนึ่งในศูนย์กลางของการจัดโอลิมปิก ที่มีทั้งหมู่บ้านนักกีฬา รวมถึงแลนด์มาร์กใหม่อย่างสวนโอลิมปิก
เหตุผลที่ Barra เป็นย่านที่ถูกพัฒนามากที่สุด ก็มาจากการคอร์รัปชันที่เชื่อมโยงระหว่าง
- นาย Eduardo Paes อดีตนายกเทศมนตรีเมืองรีโอ
- นาย Carlos Carvalho นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ มหาเศรษฐีอันดับ 12 ของบราซิลในขณะนั้น
- บริษัท Odebrecht รัฐวิสาหกิจรับเหมาก่อสร้างที่ใหญ่สุดในประเทศ
ที่มาของเรื่องนี้ก็คือ เมืองรีโอมีประชากรราว 6.5 ล้านคน
แต่กว่า 14% ของประชากร อาศัยอยู่ในชุมชนแออัด หรือที่เรียกว่าสลัม
นาย Eduardo ที่เป็นนายกเทศมนตรีเลยบอกว่า หนึ่งในการพัฒนาเมืองรีโอเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับโอลิมปิก คือการปรับปรุงชุมชนสลัมที่มีอยู่ราว 1 พันแห่ง ด้วยการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญและทำให้เข้าถึงบริการสาธารณะ
แต่กลายเป็นว่าเงินส่วนใหญ่กลับทุ่มไปกับ Barra ย่านหรูหราทันสมัย
ที่อยู่ติดทะเลทางตอนใต้ของเมืองรีโอ ซึ่งมีประชากรอยู่อาศัยเพียง 4%
โดยผู้อยู่อาศัยในย่านนี้ล้วนเป็นคนรวย ที่เริ่มย้ายมาอยู่กันตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1970s
เพราะย่านใกล้เคียงที่นิยมอยู่กันมาแต่เดิม เริ่มมีชุมชนสลัมมาตั้งรกรากตามเนินเขา
ซึ่งนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อย่างนาย Carlos คือผู้ครอบครองที่ดินส่วนใหญ่ในย่าน Barra เป็นพื้นที่กว่า 64 ล้านตารางฟุต
แต่นอกจากเขาจะมีอิทธิพลจากการเป็นเจ้าของที่ดินแล้ว Carlos ยังมีอิทธิพลต่อนักการเมือง อย่างการเป็นผู้ให้เงินสนับสนุนหลักในแคมเปนหาเสียงเลือกตั้งแก่ Eduardo ให้ได้เป็นนายกเทศมนตรี จึงเป็นการตอบคำถามที่ว่าทำไมย่าน Barra ถึงถูกเลือก
และการพัฒนาที่ดินส่วนใหญ่ก็ก่อสร้างโดยบริษัท Odebrecht ซึ่งเหตุผลที่บริษัทนี้ถูกเลือก
ก็เพราะว่านายกเทศมนตรี Eduardo รับสินบนจากผู้บริหาร Odebrecht กว่า 95 ล้านบาท
โครงการขนาดใหญ่มีอยู่ 2 แห่ง ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กัน นั่นคือสวนโอลิมปิกและหมู่บ้านนักกีฬา ที่เป็นอาคาร 17 ชั้น ทั้งหมด 31 อาคาร ซึ่งในตอนส่งมอบเพื่อใช้เป็นที่พักนักกีฬา กลับพบว่าคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน มีปัญหาจุกจิกมากมาย
แต่เมื่อจบโอลิมปิกแล้ว หมู่บ้านนักกีฬาได้ถูกแปลงเป็นคอนโดมิเนียมหรู ที่มีสระว่ายน้ำ สวนขนาดใหญ่ และวิวทะเลสาบ ต่างจากหมู่บ้านนักกีฬาตอนที่ลอนดอนเป็นเจ้าภาพ ที่หลังจบงานถูกนำไปปรับปรุงเป็นที่อยู่อาศัยราคาย่อมเยา
หมู่บ้านนักกีฬาที่ถูกพัฒนาไปเป็นคอนโดมิเนียมหรู มีชื่อเรียกว่า Ilha Pura ที่แปลว่า Pure Island หรือเกาะบริสุทธิ์ ตามความตั้งใจของนาย Carlos ที่เคยให้สัมภาษณ์ไว้ว่า ต้องการพัฒนา Barra ให้เป็นเมืองแห่ง Elite ที่ปราศจากคนจน
นั่นจึงทำให้พื้นที่ส่วนหนึ่งที่อยู่ระหว่างหมู่บ้านนักกีฬาและสวนโอลิมปิก คือสิ่งที่กวนใจเขามาตลอดหลายปี
เพราะพื้นที่ตรงนั้นคือที่ตั้งของชุมชนที่ชื่อว่า Vila Autódromo ซึ่งเป็นย่านสลัมที่มี 600 ครอบครัวอาศัยอยู่ ซึ่งพวกเขาครอบครองที่อยู่อาศัยตรงนี้แบบถูกกฎหมาย
แผนการรื้อถอนสลัมแห่งนี้จึงเริ่มต้นขึ้นเมื่อปี 2010 โดยจะให้คนในชุมชนนี้
ย้ายไปอยู่ในโครงการที่อยู่อาศัยที่รัฐให้เป็นสวัสดิการในย่านที่ไกลออกไป
จากการขับไล่ของเจ้าหน้าที่รัฐโดยใช้กำลังและอาวุธ คนส่วนใหญ่จึงยอมรับเงินชดเชย และย้ายออก เหลืออยู่ราว 20 ครอบครัวที่ยังคงต่อสู้เพื่อปกป้องที่อยู่ของตัวเอง ซึ่งต้องแลกมากับการถูกเจ้าหน้าที่รัฐทำร้ายร่างกาย ทำลายที่อยู่อาศัย จนกลายเป็นซากปรักหักพัง
แต่สุดท้ายแล้ว การยืนหยัดประท้วงของ 20 ครอบครัวนี้ ได้ถูกนำเสนอโดยสำนักข่าวต่างประเทศ ซึ่งกลายเป็นแรงกดดันที่ทำให้ภาครัฐต้องยอมให้ 20 ครอบครัวนี้อาศัยอยู่ต่อไปได้ แต่ก็เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมาก เพราะในอีกหลายชุมชนจะถูกรัฐบาลฟ้องไล่ที่ต่อ
และเหตุการณ์แบบนี้ก็ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว เพราะถ้านับตั้งแต่ปี 2009 มีกว่า 77,200 คน หรือกว่า 20,000 ครอบครัวในชุมชนแออัดที่ถูกไล่ที่ เพื่อการปรับปรุงเมืองให้พร้อมเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลกและโอลิมปิก ทั้งที่พวกเขาไม่ได้ทำผิดกฎหมาย
ภาครัฐยังลงทุนเปลี่ยนเส้นทางรถบัสนักท่องเที่ยวอย่างน้อย 11 สาย เพื่อเลี่ยงเส้นทางที่ผ่านชุมชนแออัด รวมถึงลงทุนติดตั้งฉากทึบตลอดถนนเส้นทางที่ออกจากสนามบินนานาชาติเป็นระยะทางหนึ่ง เพื่อไม่ให้ผู้มาเยือนรีโอได้เห็นชุมชนแออัดในย่าน Maré
และทั้งหมดนี้ก็เป็นเพียงเรื่องราวหลัก ๆ ของวังวนการทุจริตที่เกิดจากการเตรียมความพร้อมเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกของเมืองรีโอ ที่สุดแล้วเม็ดเงินมหาศาลกลับไหลเวียนอยู่แค่ในกลุ่มผู้มีอิทธิพล
และสิ่งที่สร้างความโกรธแค้นให้กับชาวเมืองรีโอมากกว่านั้นก็คือ เงินที่ถูกจัดสรรให้กลุ่มคนที่ขาดแคลน กลับไม่ได้ถูกใช้เพื่อแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ไม่ได้ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำ
แต่กลับถูกใช้ไปกับการสร้างสิ่งที่ใช้ปกปิดพวกเขาจากสายตาชาวต่างชาติแทน..
ปิดท้ายด้วยเรื่องราวที่น่าสนใจ
“Eduardo Paes” ได้รับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีเมืองรีโอ 2 สมัยติดต่อกัน ตั้งแต่ปี 2009 ถึง 2016 แต่การพัวพันกับการคอร์รัปชันการจัดกีฬาโอลิมปิก ทำให้เขาแพ้การเลือกตั้งในสมัยต่อมาให้กับคู่แข่งอย่าง Marcelo Crivella
แต่ในปลายปี 2020 ที่ผ่านมา หรือเพียง 9 วันก่อนที่ Marcelo Crivella จะดำรงตำแหน่งจนครบวาระ เขาถูกจับกุมที่บ้านพักในข้อหาคอร์รัปชัน และผู้ที่ชนะการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีเมืองรีโอในสมัยต่อจากเขา ก็คือ Eduardo Paes คนเดิมนั่นเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.theguardian.com/sport/2017/apr/23/brazil-olympic-world-cup-corruption-bribery
-https://www.reuters.com/article/us-brazil-corruption-idUSKBN16L1LQ
-https://www.bbc.com/news/world-latin-america-41678338
-https://www.vox.com/2016/6/27/12026098/rio-olympics-2016-removals-eviction
-https://www.theatlantic.com/international/archive/2016/08/building-barra-rio-olympics-brazil/493697/
-https://time.com/4271376/brazil-corruption-scandal-olympics/
-https://money.cnn.com/2017/04/05/news/economy/odebrecht-latin-america-corruption/index.html
2012 olympics 在 帕克 Youtube 的精選貼文
#奧運#體操#帕運
0:00 開頭
6:45 影片贊助者
6:48 murmur
「註」:
1.麻煩那些動不動就開噴的人
請先到置頂留言區看補充與勘誤
2.黑眼圈是天生的唷
延伸觀看:
奧運選手其實很愛打砲? 那些超乎想像的盛宴?
https://youtu.be/fTxDhDhBNgI
_
這部影片特別感謝:
帕克的贊助會員
呂小冷 熱情贊助
1.加入帕克會員,讓我們更茁壯
https://www.youtube.com/channel/UCbKWA0yZnXiUD3jvvdWWbJw/join
2.帕克IG:
https://www.instagram.com/pocket_pedia
其他延伸觀看:
鳳梨竟然會讓嘴巴爆血? 吃鳳梨為何會咬舌?
https://youtu.be/Uoz-vhMKPOA
人類真的可以用刀擋下子彈嗎?史上最強的武士
https://www.youtube.com/watch?v=KoL4CqvxXAM
references:
1.國際體協評分細則:
https://www.gymnastics.sport/publicdir/rules/files/de_MAG%20CoP%202022-2024.pdf
https://www.gymnastics.sport/publicdir/rules/files/en_WAG%20CoP%202022-2024.pdf
2.Gymnastics 101: Scoring
https://www.nbcolympics.com/news/gymnastics-101-scoring
3.usa gymnastics
https://usagym.org/pages/gymnastics101/men/scoring.html
4.謠言粉碎機:打臉所谓“中國體操被禁超難動作”
https://www.163.com/sports/article/E0NTSFD600058782.html
5.Korbut flip 沒放進去
https://www.nydailynews.com/sports/olympics-2012/korbut-flip-move-dangerous-today-olympic-gymnasts-aren-allowed-attempt-article-1.1134730
6.3:10的影片來源為sporteverywhere
2012 olympics 在 コアラ小嵐 Youtube 的最佳貼文
◼︎Dr.GTV カヌースプリント 日本代表チーム
https://www.youtube.com/watch?v=2qGjKIOzZKo
◼︎Men's Canoe Sprint Kayak Single 200m Semi-Finals - London 2012 Olympics
https://www.youtube.com/watch?v=cQr4ua3dxiM
◼︎アスリート解体新書カヌー・フラットウォーターレーシング 水の上の死闘
https://www.youtube.com/watch?v=VAfR1y4Z_zM
◼︎コアラ小嵐のTwitter(@koooarashi)
https://twitter.com/koooarashi
◼︎コアラ小嵐のトークアプリ755「たわわなたわごと」
http://7gogo.jp/talks/O_vMqy1DoIDV
◼︎コアラ小嵐のインスタグラム「だいたい上裸です」
https://instagram.com/kk601012/
◼︎コアラ小嵐のブログ「毎日が筋曜日」
http://s.ameblo.jp/kk601012/
◼︎超新塾オフィシャルwebサイト
http://choshinjuku.jp
◾︎マッチョ29公式webサイト
http://event-kikaku.com/macho_macho_29/
2012 olympics 在 JeaenのYouTube再生リスト Youtube 的精選貼文
2016.10.7 リオ五輪パレード 日本橋高島屋前にて
撮影後現地から即アップロードした未編集速報版です。
At 2016.10.7 Rio de Janeiro Olympics, Japan medalist parade, Tokyo Nihombashi Takashimaya before
After shooting is unedited preliminary version that is uploaded immediately from the local.
この4年前、東京銀座で行われたロンドンオリンピックメダリストパレードは以下のURLにて
Link 2012 London Olympic Japan medalist parade
http://www.youtube.com/watch?v=_F32mFFtNLQ