การพิจารณารูปแบบของรัฐโดยพิจารณาจากประมุขของรัฐ
เมื่อเราพิจารณารูปแบบของรัฐโดยอาศัยประมุขของรัฐเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาจะแยกรูปแบบการครองของรัฐ ออกเป็น 2 รูปแบบ คือ ราชอาณาจักร (Kingdom) กับ สาธารณรัฐ (Republic) ดังนี้
1.1 ราชอาณาจักร
ราชอาณาจักร (Kingdom) คือ รัฐที่มีพระมหากษัตริย์ (King) เป็นประมุขซึ่งการเข้าสู่ตำแหน่งพระมหากษัตริย์เป็นไปตามวิธีการสืบราชสันตติวงศ์และสถานะของประมุขของรัฐที่เป็นพระมหากษัตริย์จะอยู่ในฐานะที่ละเมิดไม่ได้จะถูกวิพากษ์วิจารณ์ในทางการเมือง จะถูกฟ้องร้องในคดีแพ่งคดีอาญาไม่ได้ เพราะฉะนั้นจึงเกิดหลักสำคัญในประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข คือ หลักที่ว่า “The King do no Wrong” ซึ่งหมายความว่า การกระทำของพระมหากษัตริย์ไม่เป็นความผิด ไม่มีผู้ใดสามารถฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางแพ่งหรือทางอาญาได้ ไม่มีผู้ใดจะวิพากษ์วิจารณ์พระมหากษัตริย์ในทางการเมืองได้ รูปแบบของรัฐระบอบการเมืองซึ่งพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมี 2 ระบอบ คือ
1.1.1 ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบที่มีการปกครองโดยพระมหากษัตริย์ในฐานะที่เป็นประมุขของรัฐและพระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจเป็นล้นพ้น กล่าวคือ ไม่ตกอยู่ภายใต้ข้อจำกัดใดๆ ในทางกฎหมาย พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือกฎหมายทั้งหลายทั้งปวง ซึ่งพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จึงเป็นล้นพ้นมีพระราชอำนาจในทุกทางไม่มีข้อจำกัด หากแต่จะมีข้อจำกัดก็เป็นเพราะพระมหากษัตริย์ทรงจำกัดพระราชอำนาจของพระองค์เองที่เรียกว่า "ทศพิธราชธรรม" ซึ่งถือเป็นข้อจำกัดในทางศีลธรรมพระมหากษัตริย์ที่ดีจะทรงไว้ซึ่ง “ทศพิธราชธรรม” แต่ถ้าพระมหากษัตริย์จะทำการขัดต่อทศพิธราชธรรมก็ไม่ได้หมายความว่าการกระทำของพระมหากษัตริย์เป็นโมฆะ
แต่อย่างไรก็ตามในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่สมบูรณ์แบบในอดีตนั้นไม่มีอีกแล้ว แต่ยังคงมีระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในลักษณะที่เรียกว่า “ระบอบปรมิตาญาสิทธิราชย์ (Limited Monarchy)” หรือ เรียกว่า “ระบอบราชาธิปไตย” ในระบอบการปกครองแบบนี้กษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจทุกประการ เว้นแต่ที่ต้องถูกจำกัดโดยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เช่น การบัญญัติกฎหมายเป็นอำนาจของรัฐสภา การกำหนดงบประมาณแผ่นดินต้องให้รัฐสภาเห็นชอบก่อน การพิจารณาพิพากษาคดีเป็นอำนาจของผู้พิพากษาคดีตามบทกฎหมาย แต่อำนาจบริหารนั้นเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยแท้ คือ ทรงแต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ซึ่งคณะรัฐมนตรีรับผิดชอบต่อพระมหากษัตริย์ เป็นต้น การปกครองในระบอบนี้มีใช้อยู่ 5 ประเทศกับ 1 รัฐ คือ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ประเทศสวาซิแลนด์ ประเทศบรูไน ประเทศโอมาน ประเทศกาตาร์ และ นครรัฐวาติกัน
1.1.2 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) หมายความว่า เป็นระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์จะทรงมีพระราชอำนาจเพียงเท่าที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายถวายแด่พระองค์เท่านั้น ในกรณีที่ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายถวายพระราชอำนาจด้านใดให้พระมหากษัตริย์ ก็หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชอำนาจในประการนั้น เช่น ระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับเรียกว่า “การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปัจจุบัน มีอยู่ 22 ประเทศด้วยกัน เช่น ประเทศไทย ประเทศอังกฤษ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศอันดอรา ประเทศสเปน เป็นต้น
รัฐที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขทั้งในการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในลักษณะระบอบราชาธิปไตยกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีหลายประเทศด้วยกันในแต่ละทวีป ดังนี้
1.1.2.1 รัฐที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขในการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
รัฐที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขทั้งในการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในลักษณะระบอบปรมิตาญาสิทธิราชย์หรือเรียกว่าระบอบราชาธิปไตย โดยมีชื่อเรียกเป็นทางการ ดังนี้
1. ทวีปอัฟริกา คือ ราชอาณาจักรสวาซิแลนด์ (Kingdom of Swaziland) เป็นรัฐเล็กๆอยู่ใกล้กับอัฟริกาใต้
2. ทวีปยุโรป คือ นครรัฐวาติกัน (Stato della Citta del Vaticano)
3.ทวีปเอเชีย เช่น ราชอาณาจักรฮัชไมจอร์แดน (Hashermite Kingdom of Jordan) ราชอาณาจักรซาอุดิอารเบีย (Kingdom of Saudi Arabia) รัฐสุลต่านโอมาน (Sultanate of Oman) รัฐการ์ตา (State of Qatar) รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
1.1.2.2 รัฐที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
รัฐที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ มีชื่อเรียกเป็นทางการดังนี้
1.ในทวีปอเมริกาเหนือ เช่น บีไลซ์ (Belize) ซึ่งเป็นรัฐเล็กๆอยู่ติดกับเม็กซิโกและกัวเตมาลา
2.ทวีปอัฟริกา เช่น ราชอาณาจักรมอร็อคโค (Kingdom of Morocco) ราชอาณาจักรเลโซโท (Kingdom of Lesotho) เป็นรัฐเล็กๆที่อยู่ใกล้กับอัฟริกาใต้
3.ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย เช่น ราชอาณาจักรตองกา (Kingdom of Tonga)
4.ทวีปยุโรป เช่น สหราชอาณาจักรแห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนเหนือ (United Kingdom of Great Britian and Northern Irland) ราชอาณาจักรเดนมาร์ก (Kingdom of denmark) ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway) ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม (Kingdom of Spian) ราชอาณาจักรลักแซมเบอร์ก (Grand Duchy of Luxembourg) ราชรัฐโมนาโค (Principality of Monaco) ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Principality of Ligtenstine) ราชรัฐอันดอรา (Principality of Undora) ราชอาณาจักรสเปน (Kingdom of Spain)
4.ทวีปเอเชีย เช่น ราชอาณาจักรฮัชไมจอร์แดน (Hashermite Kingdom of Jordan) รัฐคูเวต (State of Kuwait) รัฐบาเรนห์ (State of Barain) ญี่ปุ่น (Japan) ราชอาณาจักรภูฏาน (Kingdom of Bhutan) ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) มาเลย์เซีย (Malaysia) และ ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ข้อสังเกต ชื่อประมุขของรัฐและชื่อเรียกของรัฐนั้นจะมีการเรียกอย่างเป็นทางการที่แตกต่างกัน คือ
1.ถ้าประมุขของรัฐเป็นพระมหากษัตริย์หรือราชินี เราเรียกรัฐนั้นว่า “ราชอาณาจักร” (Kingdom) ถ้าประมุขของรัฐเป็นเจ้าชาย (Prince) หรือ ดยุ๊ค (Duchy) เราเรียกรัฐนั้นว่า “Grand Duchy” หรือ ราชรัฐ เราเรียกรัฐนั้นว่า “Principality”
2.มีรัฐที่มีชื่อเรียกประมุของรัฐแตกต่างกัน คือ
1) รัฐที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่น คูเวต บาร์เรนห์ การ์ตา หรือบรูไน ไม่ใช้คำว่า “ราชอาณาจักร” (Kingdom) ประกอบชื่อ กลับใช้คำว่า “รัฐ” (State) ซึ่งเป็นคำกลางๆประกอบชื่อ ซึ่งรัฐเหล่านี้จะเป็นรัฐเล็กๆทั้งสิ้น
2) รัฐที่ใช้คำว่า “รัฐสุลต่าน” (Sultannate) ประกอบชื่อไม่ใช่คำว่า “ราชอาณาจักร” (Kingdom) หรือ “รัฐ” (State) นั้นเป็นการบอกให้ทราบถึงผู้ปกครองของรัฐเป็นสุลต่าน
3) ญี่ปุ่นกับมาเลย์เซียไม่ใช้คำว่า “Kingdom”หรือคำใดๆเลยประกอบชื่อประเทศใดๆทั้งสิ้น
1.2 สาธารณรัฐ
สาธารณรัฐ (Republic) หรือมหาชนรัฐ หมายถึง รัฐซึ่งมีสามัญชนเป็นประมุขกล่าว คือ ผู้เป็นประมุขของรัฐมิได้อยู่ในฐานะที่อันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้เหมือนพระมหากษัตริย์ เป็นเพียงสามัญคนธรรมดาและถูกวิพากษ์วิจารณ์ได้ สามารถจะถูกฟ้องร้องในคดีแพ่งหรือคดีอาญาได้เหมือนกับราษฎรอื่นทุกประการ ซึ่งประมุขของรัฐที่เป็นสาธารณรัฐหรือมหาชนรัฐจะมีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น ประธานาธิบดี ท่านผู้นำ เป็นต้น รูปแบบของการปกครองสาธารณรัฐหรือมหาชนรัฐ ซึ่งมีสามัญชนเป็นประมุขมีการปกครองอยู่ 2 ระบอบ คือ
1.2.1 ระบอบเผด็จการ
ระบอบเผด็จการ (Dictatorship) คือ ระบอบที่ผู้เป็นประมุขทรงไว้ซึ่งอำนาจเด็ดขาดไม่ตกอยู่ภายใต้ข้อจำกัดใด ๆ ในทางกฎหมายและอาจเข้าสู่ตำแหน่งประมุขด้วยวิธีการแย่งอำนาจจากผู้อื่นด้วยวิธีด้วยการปฏิวัติ (Revolution) หรือการรัฐประหาร (Coup d’ Etate) หรือเข้าสู่อำนาจด้วยการสืบทอดจากผู้มีอำนาจคนก่อน เช่น อาจจะเป็นลูกหรือน้องชาย เป็นต้น
ดังนั้นระบอบเผด็จการ จึงเป็นระบอบที่ระดมพลังมวลชนซึ่งเป็นกลไกรัฐที่ยื่นแขนขาออกไปเพื่อสร้างความยินยอมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุน ระบอบเผด็จการมุ่งสร้างสังคมใหม่โดยให้ประชาชนอยู่ใต้การบงการของอุดมการณ์ สถาบันทุกอย่างจะถูกใช้ไปเพื่อปฏิบัติภารกิจของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ จึงมีอำนาจอย่างล้นเหลือ ระบอบเผด็จการบางประเทศอาจห้ามก่อตั้งสหภาพแรง เพราะเห็นว่าอาจต่อต้านอำนาจรัฐได้
ระบอบเผด็จการมี 3 รูปแบบ คือ เผด็จการทหาร (Military dictatorship) เผด็จการฟาสซิสต์ (Fascist dictatorship) และเผด็จการคอมมิวนิสต์ (Fascism) ซึ่งแต่ละระบอบต่างมีสาระสำคัญ ดังนี้
1. มีผู้นำคนเดียวหรือคณะผู้นำกองทัพหรือพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง สามารถใช้อำนาจนั้นได้อย่างเต็มที่โดยไม่ต้องฟังเสียงคนส่วนใหญ่ของประเทศ
2. การรักษาความมั่นคงของผู้นำหรือคณะผู้นำมีความสำคัญกว่าการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถที่จะวิพากษ์วิจารณ์การกระทำของผู้นำได้เลย
3. ผู้นำหรือคณะผู้นำสามารถที่จะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชีวิตตราบเท่าที่กลุ่มผู้ร่วมงานหรือกองทัพยังให้ความสนับสนุนอยู่ ประชาชนไม่มีสิทธิที่จะเปลี่ยนแปลงผู้นำได้โดยวิถีทางรัฐธรรมนูญ
4. รัฐธรรมนูญหรือการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญและรัฐสภา ไม่มีความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครองเหมือนระบอบประชาธิปไตย กล่าวคือ รัฐธรรมนูญเป็นเพียงแต่รากฐานรองรับอำนาจผู้นำหรือคณะผู้นำเท่านั้นไม่ใช่ตัวแทนของประชาชนอย่างแท้จริง
ซึ่งรัฐที่มีการปกครองในระบอบเผด็จการโดยมีชื่อเรียกเป็นทางการ เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน (People’s Republic of Chaina) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Dimocratic People’s of Korea) (ที่เรารู้จักในชื่อสามัญว่า “เกาหลีเหนือ”) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Dimocratic Republic) สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Federal Republic of Vietnam) สหภาพพม่า (Union of Myanmar) เป็นต้น
1.2.2 การปกครองระบอบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) หมายถึง การปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน ดังนั้นอำนาจในการปกครองของรัฐบาลที่ผู้ปกครองเป็นประมุขที่มาจากบุคคลธรรมดาโดยมาจากการเลือกตั้งทางตรงหรือทางอ้อมจากประชาชนและมีอำนาจจำกัดเพียงเท่าที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
รูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตยอาจแบ่งได้ 3 รูปแบบ คือ ประชาธิปไตยทางตรง ประชาธิปไตยทางผู้แทน และประชาธิปไตยทางตรงกับทางผู้แทนผสมผสานกัน ซึ่งเรียกว่า "ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของประชาชนหรือประชาธิปไตยแบบกึ่งทางตรง” ดังนี้
1.2.2.1 การปกครองระบอบประชาธิปไตยทางตรง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยทางตรง (Direct Democracy) เป็นระบอบการปกครองที่ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจในปัญหาต่างๆของตนทุกเรื่อง ขอบเขตของการมีส่วนร่วมของประชาชนในกรณีนี้จึงมีครบ 100 เปอร์เซ็นต์ เป็นระบอบการปกครองที่เหมาะสมสำหรับชุมชนเล็กๆที่มีประชาชนไม่มากและปัญหาหรือเรื่องที่จะตัดสินใจไม่ยุ่งยาก จะเห็นได้ว่าการใช้อำนาจอธิปไตยรูปแบบนี้เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยกรีกโบราณ เมื่อประมาณ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งในสมัยดังกล่าวประชาชนมีจำนวนน้อย สามารถที่จะเรียกประชุมหรือนัดหมายกันได้ง่าย เพื่อออกความเห็นหรือตัดสินปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาเกี่ยวกับการปกครองประเทศหรือรัฐ ปัญหาเกี่ยวกับการออกกฎหมายสำคัญๆ หรือแม้แต่การเลือกตั้งบุคคลสำคัญของรัฐ ดังนั้นการเรียกประชุมนัดหมายประชาชนจึงกระทำได้ง่าย แต่ในปัจจุบันประชาชนพลเมืองมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น และการปกครองการบริหารราชการแผ่นดินมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นยากแก่การให้ประชาชนทั้งหลายมาประชุมรวมกันได้เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
ในปัจจุบันการใช้อำนาจอธิปไตยโดยตรงนี้ยังใช้อยู่ในประเทศสวิสเซอร์แลนด์ สำหรับบางมลรัฐ ที่เรียกว่า “Canton”มีอยู่ 3 มลรัฐ กล่าวคือ 1 ปี ประชาชนก็มาประชุมกันพิจารณาออกกฎหมายหรือจัดระเบียบภาษีอากร เสร็จแล้วก็เป็นหน้าที่กรรมการของมลรัฐที่จะทำงานต่อไปตามนั้นหรือในประเทศลิกเตนสไตล์เป็นรัฐเล็กๆ ในยุโรปที่มีประชากรประมาณ 36,000 คน เป็นต้น
ข้อสังเกต การใช้อำนาจอธิปไตยโดยตรงนี้จะใช้ได้ผลดีเฉพาะในท้องที่ที่มีพลเมืองน้อยและมีความเจริญในทางจิตใจใกล้เคียงกัน แต่ถ้าท้องที่ใดมีพลเมืองมากก็ย่อมเป็นการยากที่จะใช้วิธีนี้มาประชุมออกเสียงจัดทำกฎหมายไjด้ ด้วยเหตุนี้ประเทศต่างๆจึงไม่นิยมใช้การอำนาจอธิปไตยทางตรงและหันมาใช้อำนาจอธิปไตยทางผู้แทนมาใช้ในการปกครองประเทศ
1.2.2.2 การปกครองระบอบประชาธิปไตยทางผู้แทน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยทางผู้แทน (Representative Democracy) เป็นระบอบการปกครองที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเลือกผู้แทนหรือตัวแทนเป็นผู้ตัดสินใจและแก้ปัญหาแทนตน การปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยอ้อมเหมาะสมสำหรับชุมชนขนาดใหญ่มีประชากรมาก ปัญหาที่จะแก้ไขหรือเรื่องที่จะตัดสินใจก็มีความยุ่งยากสลับซับซ้อนมาก จึงจำเป็นต้องเลือกตัวแทนเพื่อทำหน้าที่แทนตน โดยประชาชนไม่มีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจที่จะส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของตน ประชาชนมีสิทธิเลือกตัวแทนเท่านั้น ฉะนั้นจุดอ่อนสำคัญของประชาธิปไตยโดยอ้อม ก็คือ ไม่มีหลักประกันว่าการตัดสินใจของตัวแทนจะสนองตอบต่อปัญหาและความต้องการของประชาชน เนื่องจากเห็นว่ามีผู้แทนซึ่งจะทำหน้าที่แทนตนอยู่แล้ว เมื่อขาดการติดตามและตรวจสอบจากประชาชน ผลที่ตามมาก็คือ ผู้ปกครองและผู้บริหารซึ่งเป็นตัวแทนของประชาชนมีแนวโน้มที่จะปกครองและบริหาร โดยคำนึงถึงประโยชน์ของตนเองและพวกพ้องมากกว่าผลประโยชน์ของประชาชน
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า สาระสำคัญของการใช้อำนาจอธิปไตยโดยอ้อมหรือโดยทางผู้แทน คือ อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน (Popular Sovereignty) แต่ประชาชนไม่สามารถใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยตรง จึงมีการมอบอำนาจให้กับตัวแทนประชาชน ซึ่งลักษณะสำคัญของการปกครองโดยทางผู้แทน คือ
1. ประชาชนมอบอำนาจอธิปไตยของตนให้ตัวแทนไปใช้แทนตน
2. การมอบอำนาจอธิปไตยต้องผ่านกระบวนการเลือกตั้ง (Election) ภายใต้
ระบบการแข่งขัน (Competition)
3. ตัวแทนของประชาชนมีอำนาจจำกัดตามที่กฎหมาย (รัฐธรรมนูญ) กำหนดไว้เท่านั้น
4. เป็นการมอบอำนาจให้กับผู้แทนอย่างมีเงื่อนไข หากผู้แทนใช้อำนาจนอก
ขอบเขตของกฎหมาย ใช้อำนาจโดยพลการหรือโดยบิดเบือนเพื่อประโยชน์ส่วนตัว ประชาชนเจ้าของอำนาจอธิปไตยย่อมเรียกคืนได้
แต่อย่างไรก็ตามการใช้อำนาจอธิปไตยโดยอ้อมหรือผ่านทางผู้แทนกลับพบข้อบกพร่องและจุดอ่อนอยู่หลายประการ ทำให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลขาดความเชื่อมั่นศรัทธาจากประชาชน ทำให้ประชาชนเกิดความเบื่อหน่ายกับการเมือง จึงได้มีแนวคิดการใช้อำนาจอธิปไตยกึ่งทางตรงหรือประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมขึ้นมา กล่าวคือ ผสมผสานระหว่างประชาธิปไตยทางตรงกับประชาธิปไตยทางผู้แทนขึ้นมาเพื่อแก้ไขความบกพร่องระบอบประชาธิปไตยทางผู้แทน
1.2.2.3 การปกครองระบอบประชาธิปไตยกึ่งโดยตรง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยกึ่งโดยตรงของประชาชน (semi-Direct Democracy) หรือเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประชาชนแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy) ซึ่งเป็นการใช้อำนาจอธิปไตยในรูปแบบผสม รูปแบบนี้มีหลักการใช้อำนาจอธิปไตยของประชาชนโดยอ้อมหรือทางผู้แทนและอำนาจอธิปไตยของประชาชนโดยตรง เข้ามาใช้รวมกัน โดยประชาชนยังสงวนสิทธิที่จะใช้ อำนาจอธิปไตยทางตรงในบางเรื่อง แต่ส่วนใหญ่แล้วประชาชนได้มอบหมายให้ตัวแทนเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยแทนตน กล่าวคือ การใช้อำนาจอธิปไตยรูปแบบนี้เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ดังนั้นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งนั้นจะเป็นผู้ใช้สิทธิอำนาจอธิปไตยแทนประชาชนในการบริหารปกครองประเทศโดยการจัดตั้งรัฐบาล หรือแม้แต่การตรากฎหมาย แต่ในขณะเดียวกัน นอกจากจะให้ประชาชนใช้อำนาจอธิปไตยทางอ้อม โดยเลือกผู้แทนเข้าไปทำหน้าที่แทนตนแล้ว ยังเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมือง และเรื่องสำคัญอื่นๆโดยการใช้อำนาจอธิปไตยได้โดยตรง เช่น การให้ประชาชนใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายเข้าสู่สภา สิทธิในการออกเสียงประชามติหรือแม้แต่การให้สิทธิประชาชนเข้าชื่อถอดถอนตำแหน่งสำคัญของผู้บริหารหรือผู้ปกครองประเทศ เป็นต้น
ดังนั้นเห็นได้ว่าการใช้อำนาจอธิปไตยของประชาชนแบบมีส่วนร่วมหรือแบบผสมระหว่างประชาธิปไตยทางตรงกับประชาธิปไตยทางอ้อมเข้าด้วยกันหรืออาจเรียกว่า “การใช้อำนาจอธิปไตยกึ่งทางตรง” เพื่อรักษาส่วนแบ่งพื้นที่ทางการเมืองให้ประชาชนได้เข้ามีส่วนร่วมในกรอบที่สามารถรักษาดุลยภาพระหว่างประชาธิปไตยทางตรงกับประชาธิปไตยทางอ้อม และยึดโยงเข้ากันได้กับความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยของประชาชนด้วย ซึ่งต้องคำนึงถึงความสามารถในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองและความสามารถในการสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการเมืองของประชาชน (Political efficacy) ได้แก่ องค์ประกอบของหลักการในการกระจายอำนาจและการร่วมตัดสินใจทางการเมืองของประชาชนหรือการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าร่วมในกิจกรรมสำคัญในทางการเมือง เป็นต้น
ดังนั้นการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจึงเป็นรูปแบบที่เหมาะสมในการปกครองประเทศในปัจจุบัน ส่วนประชาธิปไตยทางตรงนั้นเป็นตัวเสริมหรือสนับสนุนการมีประชาธิปไตยทางอ้อมหรือทางผู้แทน ซึ่งเรียกว่า “ประชาธิปไตยแบบกึ่งทางตรงหรือประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม” อันเป็นการผสมผสานแนวความคิดของทฤษฎีอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนกับอำนาจอธิปไตยเป็นของชาติเข้าด้วยกัน ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้
1. แนวคิดทฤษฎีอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนซึ่งยอมรับว่า ประชาชนแต่ละคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยคนละหนึ่งส่วนนั้น กำหนดให้ประชาชนมีสิทธิแสดงประชามติ (Referendum) การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (Initiative Process) และการถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองออกจากตำแหน่ง (Recall) แต่แนวคิดตามทฤษฎีอำนาจอธิปไตยเป็นของชาติเป็นที่รวมของประชาชนทุกคน ดังนั้นผู้แทนจึงมีอิสระในตัวเองที่จะทำแทนชาติได้
2. แนวความคิดของทั้งสองทฤษฎีดังกล่าวข้างต้นนั้น เมื่อมองในแง่ปรัชญาทางกฎหมายมหาชนแล้วเห็นได้ว่า ทั้งสองทฤษฎีมีมุมมองที่แตกต่างกันในเรื่องของอำนาจอธิปไตยที่ไปด้วยกันได้ เพราะแนวคิดที่กล่าวว่า ชาตินั้นมีความเป็นหนึ่งเดียวแบ่งแยกไม่ได้ แตกต่างกับแนวคิดที่ว่าประชาชนแต่ละคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยคนละหนึ่งส่วนโดยสิ้นเชิง รัฐสมัยใหม่ในปัจจุบันจึงให้การยอมรับแนวความคิดผสมผสานทั้งสองทฤษฎีดังกล่าว
ปัจจุบันได้มีการนำแนวความคิดของทั้งสองทฤษฎีมาใช้ร่วมกัน และพยายามที่จะทำให้แนวคิดทั้งสองไปด้วยกันได้อย่างราบรื่น ในหลายๆประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ประชาชน คือ หัวใจในการพยายามที่จะดึงจุดเด่นจุดด้อยของทั้งสองทฤษฎีออกมาเพื่อนำมาปรับปรุงให้มีความสอดคล้องกันของการปกครองในระบอบดังกล่าว ประชาชนซึ่งมีสิทธิและมีเสียงในการปกครองประเทศ เสียงของประชาชนเป็นเสียงสวรรค์ที่ฝ่ายตัวแทนของประชาชน ผู้ปกครองบ้านเมืองต้องฟังเสียงของประชาชน นอกจากนี้ยังรวมถึงกระบวนการเสริมต่างๆที่จะให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองบ้านเมืองโดยตรงด้วย
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過147萬的網紅Kento Bento,也在其Youtube影片中提到,Our Merch: https://standard.tv/kentobento Our Patreon: https://patreon.com/kentobento Nebula: https://watchnebula.com/kentobento Twitter: https://twi...
bhutan military 在 Chelsia Ng Facebook 的最讚貼文
Michael Aris proposed to Aung San Suu Kyi in Bhutan~ Enjoy reading the untold love story. Good weekend~ L
...........................
The Untold Love Story of Burma's Aung San Suu Kyi
Aung San Suu Kyi, whose story is told in a new film, went from devoted Oxford housewife to champion of Burmese democracy -- but not without great personal sacrifice.
By Rebecca Frayn
When I began to research a screenplay about Aung San Suu Kyi four years ago, I wasn’t expecting to uncover one of the great love stories of our time. Yet what emerged was a tale so romantic -- and yet so heartbreaking -- it sounded more like a pitch for a Hollywood weepie: an exquisitely beautiful but reserved girl from the East meets a handsome and passionate young man from the West.
For Michael Aris the story is a coup de foudre, and he eventually proposes to Suu amid the snow-capped mountains of Bhutan, where he has been employed as tutor to its royal family. For the next 16 years, she becomes his devoted wife and a mother-of-two, until quite by chance she gets caught up in politics on a short trip to Burma, and never comes home.
Tragically, after 10 years of campaigning to try to keep his wife safe, Michael dies of cancer without ever being allowed to say goodbye.
I also discovered that the reason no one was aware of this story was because Dr Michael Aris had gone to great lengths to keep Suu’s family out of the public eye. It is only because their sons are now adults -- and Michael is dead -- that their friends and family feel the time has come to speak openly, and with great pride, about the unsung role he played.
The daughter of a great Burmese hero, General Aung San, who was assassinated when she was only two, Suu was raised with a strong sense of her father’s unfinished legacy. In 1964 she was sent by her diplomat mother to study Politics, Philosophy and Economics at Oxford, where her guardian, Lord Gore-Booth, introduced her to Michael. He was studying history at Durham but had always had a passion for Bhutan – and in Suu he found the romantic embodiment of his great love for the East. But when she accepted his proposal, she struck a deal: if her country should ever need her, she would have to go. And Michael readily agreed.
For the next 16 years, Suu Kyi was to sublimate her extraordinary strength of character and become the perfect housewife. When their two sons, Alexander and Kim, were born she became a doting mother too, noted for her punctiliously well-organised children’s parties and exquisite cooking. Much to the despair of her more feminist friends, she even insisted on ironing her husband’s socks and cleaning the house herself.
Then one quiet evening in 1988, when her sons were 12 and 14, as she and Michael sat reading in Oxford, they were interrupted by a phone call to say Suu’s mother had had a stroke.
She at once flew to Rangoon for what she thought would be a matter of weeks, only to find a city in turmoil. A series of violent confrontations with the military had brought the country to a standstill, and when she moved into Rangoon Hospital to care for her mother, she found the wards crowded with injured and dying students. Since public meetings were forbidden, the hospital had become the centre-point of a leaderless revolution, and word that the great General’s daughter had arrived spread like wildfire.
When a delegation of academics asked Suu to head a movement for democracy, she tentatively agreed, thinking that once an election had been held she would be free to return to Oxford again. Only two months earlier she had been a devoted housewife; now she found herself spearheading a mass uprising against a barbaric regime.
In England, Michael could only anxiously monitor the news as Suu toured Burma, her popularity soaring, while the military harassed her every step and arrested and tortured many of her party members. He was haunted by the fear that she might be assassinated like her father. And when in 1989 she was placed under house arrest, his only comfort was that it at least might help keep her safe.
Michael now reciprocated all those years Suu had devoted to him with a remarkable selflessness of his own, embarking on a high-level campaign to establish her as an international icon that the military would never dare harm. But he was careful to keep his work inconspicuous, because once she emerged as the leader of a new democracy movement, the military seized upon the fact that she was married to a foreigner as a basis for a series of savage -- and often sexually crude -- slanders in the Burmese press.
For the next five years, as her boys were growing into young men, Suu was to remain under house arrest and kept in isolation. She sustained herself by learning how to meditate, reading widely on Buddhism and studying the writings of Mandela and Gandhi.
Michael was allowed only two visits during that period. Yet this was a very particular kind of imprisonment, since at any time Suu could have asked to be driven to the airport and flown back to her family.
But neither of them ever contemplated her doing such a thing. In fact, as a historian, even as Michael agonised and continued to pressurise politicians behind the scenes, he was aware she was part of history in the making. He kept on display the book she had been reading when she received the phone call summoning her to Burma. He decorated the walls with the certificates of the many prizes she had by now won, including the 1991 Nobel Peace Prize. And above his bed he hung a huge photograph of her.
Inevitably, during the long periods when no communication was possible, he would fear Suu might be dead, and it was only the odd report from passers-by who heard the sound of her piano-playing drifting from the house that brought him peace of mind. But when the south-east Asian humidity eventually destroyed the piano, even this fragile reassurance was lost to him.
Then, in 1995, Michael quite unexpectedly received a phone call from Suu. She was ringing from the British embassy, she said. She was free again! Michael and the boys were granted visas and flew to Burma.
When Suu saw Kim, her younger son, she was astonished to see he had grown into a young man. She admitted she might have passed him in the street. But Suu had become a fully politicised woman whose years of isolation had given her a hardened resolve, and she was determined to remain in her country, even if the cost was further separation from her family.
The journalist Fergal Keane, who has met Suu several times, describes her as having a core of steel.
It was the sheer resilience of her moral courage that filled me with awe as I wrote my screenplay for The Lady. The first question many women ask when they hear Suu’s story is how she could have left her children. Kim has said simply: “She did what she had to do.” Suu Kyi herself refuses to be drawn on the subject, though she has conceded that her darkest hours were when “I feared the boys might be needing me”.
That 1995 visit was the last time Michael and Suu were ever allowed to see one another. Three years later, he learnt he had terminal cancer. He called Suu to break the bad news and immediately applied for a visa so that he could say goodbye in person. When his application was rejected, he made over 30 more as his strength rapidly dwindled. A number of eminent figures -- among them the Pope and President Clinton -- wrote letters of appeal, but all in vain. Finally, a military official came to see Suu. Of course she could say goodbye, he said, but to do so she would have to return to Oxford.
The implicit choice that had haunted her throughout those 10 years of marital separation had now become an explicit ultimatum: your country or your family. She was distraught. If she left Burma, they both knew it would mean permanent exile -- that everything they had jointly fought for would have been for nothing. Suu would call Michael from the British embassy when she could, and he was adamant that she was not even to consider it.
When I met Michael’s twin brother, Anthony, he told me something he said he had never told anyone before. He said that once Suu realised she would never see Michael again, she put on a dress of his favourite colour, tied a rose in her hair, and went to the British embassy, where she recorded a farewell film for him in which she told him that his love for her had been her mainstay. The film was smuggled out, only to arrive two days after Michael died.
For many years, as Burma’s human rights record deteriorated, it seemed the Aris family’s great self-sacrifice might have been in vain. Yet in recent weeks the military have finally announced their desire for political change. And Suu’s 22-year vigil means she is uniquely positioned to facilitate such a transition -- if and when it comes -- exactly as Mandela did so successfully for South Africa.
As they always believed it would, Suu and Michael’s dream of democracy may yet become a reality.
bhutan military 在 Kento Bento Youtube 的精選貼文
Our Merch: https://standard.tv/kentobento
Our Patreon: https://patreon.com/kentobento
Nebula: https://watchnebula.com/kentobento
Twitter: https://twitter.com/kentobento2015
Business Inquiries: kentobento@standard.tv
Download Dashlane for free to manage all your passwords: https://dashlane.com/kentobento
Use the promo code "KENTOBENTO" to get 10% off Dashlane Premium.
Other videos you may like:
The Incredible Japanese Prison Break: https://youtu.be/oI8trlbCbU8
Has KFC Conquered Asia?: https://youtu.be/4iYt9eINS8M
The Greatest Bank Heist in Chinese History: https://youtu.be/qW0uzPJEO10
Where Are The Asian Borders?: https://youtu.be/vPupwlZlNMY
These Events Will Happen in Asia in 2019: https://youtu.be/HkUksxJrdmc
Stock Media Footage:
Videoblocks: https://www.videoblocks.com
Music:
Epidemic Sound: http://epidemicsound.com
Channel Description:
Animated documentary-style videos on extraordinary Asian events.
Credits:
Kento Bento — Researcher, writer, narrator, audio editor, video editor, motion graphics & art director
Charlie Rodriguez — Illustrator
Isambard Dexter — Research assistant
Jorrit van Ginkel — Music assistant
Nina Bento — Cheerleader
Video Title: These Events Will Happen in Asia in 2020 (part 1)
"As you probably know, this video will be different from normal, because it won’t just be about one event, but multiple events in the near future, all happening in Asia in 2020. Now of course predicting such events month-by-month is extremely difficult, but we can always give our best estimates based on the information we currently have."
In this video, we cover some of the following:
- Burj Khalifa, Al Marjan Island & fireworks (UAE)
- Kim Jong-un New Year's Address (North Korea)
- Xi Jinping's battle with Winnie the Pooh (China)
- Taiwan & China's conflict
- Hong Kong protests
- South China Sea Dispute between China & ASEAN
- Mekong River dams (Laos)
- Mount Everest landfill (Nepal)
- Indian's water crisis
- World's highest bridge (Kashmir)
- Beidou Satellite System (China)
- Fastest train in the world (China)
- The new Japanese Emperor
- Central Asia & Lonely Planet
- Bhutan & phalli
- Andrew Yang in the Democratic presidential primaries
- BTS and mandatory military service (South Korea)
- US' Huawei Ban
- Azerbaijan's first lady and vice president
- Tajikistan's very tasty president
- ABU International Song Contest (China)
- China's Beidou Satellite System
+ more!