ทำไม SAP และ Atos ถึงตอบโจทย์ การทรานส์ฟอร์มองค์กร สู่โลกดิจิทัล
Atos Thailand x ลงทุนแมน
หากพูดถึงการทำงานขององค์กรในยุคดิจิทัล
เรื่องแรก ๆ ที่ต้องพูดถึง คงไม่พ้นเรื่อง ระบบวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร หรือที่เรียกกันว่า Enterprise Resource Planning (ERP)
ซึ่งถ้าถามว่า ใครคือผู้นำของโลกในเรื่องนี้ ? คำตอบคือ “SAP” บริษัทเทคโนโลยีสัญชาติเยอรมัน เจ้าของซอฟต์แวร์ ERP ที่มีมูลค่าบริษัทกว่า 5.6 ล้านล้านบาท
นอกจาก SAP ก็ยังมีอีกหนึ่งองค์กรผู้เชี่ยวชาญ
นั่นคือ “Atos” องค์กรที่มีโซลูชันมากมายในด้านไอที ซึ่งจะช่วยยกระดับการทำงานขององค์กร สู่การทำงานโลกดิจิทัลได้อย่างสมบูรณ์
บริการของ SAP และ Atos มีอะไรน่าสนใจ
แล้วทำไม SAP และ Atos ถึงตอบโจทย์การทรานส์ฟอร์มองค์กร สู่โลกดิจิทัล ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
ในโลกการทำงานยุคนี้ เรื่องของระบบไอทีภายในองค์กรถือเป็นเรื่องสำคัญมาก โดยเฉพาะระบบ ERP หรือที่ภาษาไทยเรียกว่า ระบบวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร
อธิบายก่อนว่า ERP เป็นระบบที่ช่วยอัปเดตข้อมูลให้ทุกฝ่ายในองค์กร รับรู้การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรในบริษัท ได้ตรงกันแบบ Real-time
ยกตัวอย่างให้เห็นภาพง่าย ๆ ถ้าเรามีบริษัทที่ทำธุรกิจขายเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วบริษัทเรามีหน้าที่ตั้งแต่ บริหารหน้าร้าน รับคำสั่งซื้อจากลูกค้า จัดการคำสั่งซื้อ จัดการคลังสินค้า และบันทึกบัญชี
ลองคิดดูว่า ถ้าในหนึ่งวันมีลูกค้ามาซื้อของจากบริษัทเราเป็นร้อยเป็นพันคน และเราไม่มีระบบจัดการเรื่องเหล่านี้ได้ดี องค์กรเราจะทำงานได้ยากลำบากมาก
ซึ่งจุดนี้เอง ที่บริการจาก SAP และ Atos จะเข้ามาตอบโจทย์..
SAP มีบริการ “RISE with SAP” ซึ่งเป็นโซลูชัน on Cloud ที่ช่วยออกแบบรูปแบบการทำงาน การจัดการข้อมูล และวางระบบให้เหมาะสมกับองค์กรได้มากที่สุดและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ซึ่งโซลูชันของ RISE with SAP ที่ว่านี้ ก็รวมบริการต่าง ๆ เอาไว้อย่างครบครัน อย่างเช่น ระบบออกแบบจัดการข้อมูล, ระบบจัดเก็บข้อมูล, ระบบวิเคราะห์ข้อมูลอัตโนมัติด้วย AI หรือหุ่นยนต์ เพื่อช่วยยกระดับการวางแผนและจัดการทรัพยากรขององค์กร
ตัวอย่างความสะดวกเมื่อองค์กรมีโซลูชัน RISE with SAP ก็อย่างเช่น
เมื่อมีลูกค้ามาสอบถามและสั่งซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ พนักงานขายของบริษัท ก็สามารถเช็กข้อมูลได้แบบเรียลไทม์ ว่ามีสินค้าภายในร้านหรือในคลังสินค้าหรือไม่ และจะส่งมอบให้ลูกค้าได้เร็วสุดตอนไหน
และที่สำคัญก็คือ ข้อมูลคำสั่งซื้อจากลูกค้า ก็ส่งต่อเข้าไปในระบบเพื่อให้ฝ่ายต่าง ๆ เช่น ฝ่ายบัญชีหรือฝ่ายคลังสินค้า ให้สามารถจัดการข้อมูลต่อได้ทันที
แล้วถ้าองค์กรอยากเอาบริการของ SAP อย่างเช่น RISE with SAP มาใช้งาน จะต้องทำอย่างไร ?
สำหรับในไทยก็มี อาโทส ประเทศไทย หรือ Atos Thailand ที่เป็น Platinum Partner อย่างเป็นทางการของ SAP
หมายความว่า ถ้าองค์กรต้องการนำบริการหรือโซลูชันจาก SAP มาใช้ ก็สามารถติดต่อผ่านทาง Atos ให้เข้ามาช่วยดูแลได้
โดยการทำงานของ SAP และ Atos
จะยึดตามมาตรฐานของ “ITIL” หรือ Information Technology Infrastructure Library ซึ่งถือเป็นกระบวนการทำงานที่ได้รับการยอมรับในการให้บริการทางไอทีในทุกวันนี้ ประกอบด้วย
1. “Transition” หรือ การเปลี่ยนผ่าน
ช่วยกำหนดขอบเขตและการเปลี่ยนผ่านของการทำงานที่ชัดเจน และครอบคลุมถึงการรองรับบริการในอนาคตจากการขยายตัวของธุรกิจและองค์กร
2. “Core Application Management System” ระบบบริการจัดการการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
มีบริการและการให้ความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ โดยมีระบบตรวจสอบความเหมาะสมในการใช้งาน การจัดการแอปพลิเคชัน
อธิบายง่าย ๆ คือ มีระบบรับฟีดแบ็กการทำงาน ว่าขั้นตอนในส่วนไหนที่มีปัญหา ขั้นตอนไหนควรปรับปรุงให้ดีขึ้น จากมุมมองของพนักงานฝ่ายต่าง ๆ ที่ใช้งานระบบของ SAP
3. “Add-On” หรือบริการปรับปรุงระบบการทำงานของ SAP ให้เหมาะสมกับองค์กรอย่างต่อเนื่อง
เช่น ถ้าในอนาคตบริษัทมีการควบรวมกิจการกับบริษัทอื่น ก็สามารถออกแบบระบบจัดการข้อมูลให้สามารถเชื่อมต่อกับบริษัทใหม่ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
สรุปความน่าสนใจ และจุดเด่นของโซลูชันจาก SAP
และบริการจาก Atos แบบเข้าใจง่าย ๆ คือ
- ช่วยให้การวางแผนบริการจัดการทรัพยากรของบริษัท มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ช่วยลดงานซ้ำซ้อนหรืองานที่ไม่จำเป็นลงได้ และช่วยลดความผิดพลาดในเรื่องข้อมูลระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กรลงได้
- เมื่อองค์กรมีการเติบโตมากขึ้น บริการจาก SAP และ Atos ก็จะยังช่วยให้องค์กรสามารถพัฒนาระบบวางแผนจัดการทรัพยากร ให้เหมาะสมกับข้อมูลและทรัพยากรที่ต้องจัดการมากขึ้นได้
- หากมีปัญหาเกี่ยวกับระบบการใช้งาน ก็มีทีมงานคอยให้คำปรึกษาและช่วยเหลือตลอด 24 ชั่วโมง แบบไม่มีวันหยุด
- ลดภาระและต้นทุนในการบริหารจัดการ การจัดการระบบไอทีขององค์กร และช่วยเสริมความสามารถในการแข่งขันกับคู่แข่งในตลาด
เรารู้ดีว่า โลกทุกวันนี้ กำลังถูกขับเคลื่อนด้วยข้อมูล
เพราะฉะนั้น จุดเปลี่ยนสำคัญ ที่ช่วยให้องค์กรสามารถแข่งขันในโลกทุกวันนี้ คงหนีไม่พ้น การต้องทรานส์ฟอร์มสู่โลกดิจิทัล
และเรื่องสำคัญอันดับต้น ๆ ก็คือ การมีโซลูชันดี ๆ ที่เข้ามาช่วยในเรื่องการจัดการข้อมูลและทรัพยากรขององค์กร ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ซึ่งหากถามว่าใครที่จะมาช่วยในเรื่องนี้ได้
SAP และ Atos ก็คือสองผู้เชี่ยวชาญ
ที่สามารถตอบโจทย์การทรานส์ฟอร์มองค์กร สู่โลกดิจิทัลได้..
สำหรับคนที่สนใจสามารถติดต่อฝ่ายบริการการขายและการตลาดได้ที่
คุณรตนพร สุริย์ อีเมล [email protected]
References
-https://finance.yahoo.com/quote/SAP/
-https://www.sap.com/sea/products/rise.html
-https://atos.net/en/about-us/partners-and-alliances/sap
-บริษัท อาโทส ไอที โซลูชั่นส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด (ประเทศไทย)
同時也有89部Youtube影片,追蹤數超過25萬的網紅iT24Hrs,也在其Youtube影片中提到,Work from Home เรียน ทำงาน ขายของออนไลน์ให้ปัง ทำยังไง ? ทำอะไรทั้งทีต้องทำให้ดี และทำให้สุด ขายของยังไงในยุคออนไลน์ให้ปัง!!! ยุคนี้อยากเป็นพ่อค้าแม่...
cloud thailand 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
ลงทะเบียนฟรี เสวนาออนไลน์ในหัวข้อ ‘National Digital CTO FORUM 2022’ Co-creation SaaS Business with 5G and Cloud
เตรียมพบกับการบรรยายเนื้อหาปรับธุรกิจเพื่อการขยายกิจการ SaaS Business ด้วยเทคโนโลยี 5G และ Cloud Computing ท่านจะได้รับความรู้ทิศทางเทคโนโลยีเตรียมพร้อมสู่ปี 2022 ก่อนใคร ดังนี้
15.45 น. : ส่องทิศทางในไทย กับการขับเคลื่อน National Digital Infrastructure 2022 กับ ดร.ชินาวุธ ชินะประยูร ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านเศรษฐกิจดิจิทัล สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
16.10 น. : CTO Agenda กับ คุณภูผา เอกะวิภาต Microsoft Thailand CTO
16.30 น. : Keynote : How Grab Co-Innovating with Microsoft on Mapping Southeast Asia and Building Great Maps กับ คุณ Philipp Kandal, Head of Engineer, GEO at Grab
17:00 น. : เสวนาเตรียมพร้อมสู่ทศวรรษที่ 2 ของ Startup Thailand Ecosystem “ถึงเวลาเฉิดฉายของเหล่า CTO”
ในหัวข้อ “เกิดอะไรขึ้นบ้างกับวงการ Startup และ Tech SMEs”
คุณ Emily Rich Director of Microsoft for Startups, APAC
และ คุณศรีหทัย พราหมณี ผู้จัดการส่วนงานเอไอเอส สตาร์ทอัพ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)
ในหัวข้อ “โอกาสสำหรับ Startup และ Tech SMEs ในอนาคต”
คุณประพันธ์ เจริญประวัติ ผู้ช่วยผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ
คุณพิพัฒน์ พิเชฐจำเริญ อุปนายกสมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย และผู้ก่อตั้ง Witsawa
คุณสถาพน พัฒนะคูหา ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สมาร์ทคอนแทรคท์ บลอกเชน สตูดิโอ และคุณอมฤต ฟรานเซน กรรมการบริหาร และผู้ร่วมก่อตั้ง AppMan
17:30 น. : Closing Highlight : เปิดทิศทางการสร้าง Infrastructure ด้วย 5G และ Digital Technology เพื่อการขยายธุรกิจ กับ คุณธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย หัวหน้าคณะผู้บริหารกลุ่มลูกค้าองค์กร บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)
-ในวันพฤหัสบดีที่ 23 กันยายน 2564 เวลา 15.30 – 18.00 น.
-ฟรี ! ไม่มีค่าใช้จ่าย
-สามารถลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมฟัง ได้ที่
https://www.zipeventapp.com/e/National-Digital-CTO-FORUM-2022
cloud thailand 在 Facebook 的精選貼文
100 PHIM CHÂU Á XUẤT SẮC
1. Tokyo Story (Ozu Yasujiro, 1953) – Japan
2. Rashomon (Kurosawa Akira, 1950) – Japan
3. In the Mood for Love (Wong Kar Wai, 2000) – Hong Kong
4. The Apu Trilogy (Satyajit Ray) – India
5. A City of Sadness (Hou Hsiao-hsien, 1989) – Taiwan
6. Seven Samurai (Kurosawa Akira, 1954) – Japan
7. A Brighter Summer Day (Edward Yang, 1991) – Taiwan
8. Spring in a Small Town (Fei Mu, 1948) – China
9. Still Life (Jia Zhang Ke, 2006) – China
10. The Housemaid (Kim Ki-young, 1960) – Korea
11. Close Up (Abbas Kiarostami, 1990) – Iran
12. A One and a Two (Edward Yang, 2000) – China
13. Spring, Summer, Fall, Winter… and Spring (Kim Ki-duk, 2003) – Korea
14. Oldboy (Park Chan-Wook, 2003) – Korea
15. Late Spring (Ozu Yasujiro, 1949) – Japan
16. A Taste of Cherry (Abbas Kiarostami, 1998) – Iran
17. Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives (Apichatpng Weerasethakul, 2010) – Thailand
18. Ugetsu Monogatari (Mizoguchi Kenji, 1953) – Japan
19. The Music Room (Satyajit Ray, 1958) – India
20. The Cloud-capped Star (Ritwik Ghatak, 1960) – India
21.Where is the Friend’s Home (Abbas Kiarostami, 1987) – Iran
22. Raise the Red Lantern (Zhang Yimou, 1991) – China
23. Sopyonje (Im Kwon Taek, 1993) – Korea
24. Crouching Tiger Hidden Dragon (Ang Lee, 2000) – Taiwan
25. Spirited Away (Miyazaki Hayao, 2001) – Japan
26. Tropical Malady (Apichatpong Weerasethakul, 2004) – Thailand
27. Mother (Bong Joon-ho, 2008) – Korea
28. Poetry (Lee Chang-dong, 2010) – Korea
29. A Separation (Asghar Farhadi, 2011) – Iran
30. A Touch of Zen (King Hu, 1969) – Taiwan
31. Manila in the Claws of Light (Lino Brocka, 1975) – Philippines
32. Mandala (In Kwon Taek, 1981) – Korea
33. A Moment of Innocence (Mohsen Makhmalbaf, 1981) – Iran
34. Happy Together (Wong Kar Wai, 1997) – Hong Kong
35. The River (Tsai Ming-Liang, 1997) – Taiwan
36. Blissfully Yours (Apichatong Weerasethakul, 2002) – Thailand
37. Awaara (Raj Kapoor, 1951) – India
38. Floating Clouds (Naruse Mikio, 1955) – Japan
39. Pyaasa (Guru Dutt, 1957) – India
40. The Lonely Wife (Satyajit Ray, 1964) – India
41. The Cow (Dariush Mehrjui, 1969) – Iran
42. Red Sorghum (Zhang Yimou, 1987) – China
43. Days of Being Wild (Wong Kar Wai, 1990) – Hong Kong
44. Farewell My Concubine (Chen Kaige, 1993) – China
45. Vive l’amour (Tsai Ming Liang, 1994) – Taiwan
46. The Adopted Son (Aktan Abdykalykov, 1998) – Kyrgyzstan
47. Peppermint Candy (Lee Chang-dong, 1999) – Korea
48. I Was Born, But… (Ozu Yasujiro, 1932) – Japan
49. The Story of the last Chrysanthemums (Mizoguchi Kenji, 1939) – Japan
50. Living [Ikiru] (Kurosawa Akira, 1952) – Japan
51. Sansho The Bailiff (Mizoguchi Kenji, 1954) – Japan
52. The House is Black (Forough Farrokhzad, 1963) – Iran
53. Woman in the Dunes (Teshigahara Hiroshi, 1964) – Japan
54. Scattered Clouds (Naruse Mikio, 1967) – Japan
55. Daughter in Law (Khodzhakuli Narliyev, 1972) – Turkmenistan
56. Dersu Uzala (Kurosawa Akira, 1975) – Japan
57. In the Realm of the Senses (Oshima Nagisa, 1976) – Japan
58. A time to live and a time to die (Hou Hsiao-hsien, 1985) – Taiwan
59. Through the Olive Trees (Abbas Kiarostami, 1994) – Iran
60. Children of Heaven (Majid Majidi, 1997) – Iran
61. Osama (Siddiq Barmak, 2003) – Afghanistan
62. West of Tracks (Wang Bing, 2003) – China
63. Paradise Now (Hany Abu Assad, 2005) – Palestine
64. Mukhsin (Yasmin Ahmad, 2006) – Malaysia
65. Secret Sunshine (Lee Chang-dong, 2007) – Korea
66. The Goddess (Wu Yonggang, 1934) – China
67. Humanity and Paper Balloons (Yamanaka Sadao, 1937) – Japan
68. Street Angels (Yuan Mizhi, 1937) – China
69. The Life of Oharu (Mizoguchi Kenji, 1952) – Japan
70. Mother India (Mehboob Khan, 1957) – India
71. Floating Weeds (Ozu Yasujiro, 1958) – Japan
72. Good Morning (Ozu Yasujiro, 1959) – Japan
73. Paper Flowers (Guru Dutt, 1959) – India
74. The Naked Island (Shindo Kaneto, 1960) – Japan
75. Intentions of Murder (Imamura Shohei, 1964) – Japan
76. A Man Vanishes (Imamura Shohei, 1967) – Japan
77. Holiday (Lee Man-hee, 1968) – Korea
78. The Cruel Sea (Khaled Al Siddiq, 1972) – Kuwait
79. Insiang (Lino Brocka, 1976) – Philippines
80. Vengeance Is Mine (Imamura Shohei, 1979) – Japan
81. Batch ’81 (Mike de Leon, 1982) – Philipines
82. Taipei Story (Edward Yang, 1984) – Taiwan
83. The Runner (Amir Naderi, 1985) – Iran
84. My Neighbor Totoro (Miyazaki Hayao, 1988) – Japan
85. Ju Dou (Zhang Yimou, 1990) – China
86. Life, and Nothing More (and Life Goes on…) (Abbas Kiarostami, 1992) – Iran
87. The Puppetmaster (Hou Hsiao-hsien, 1993) – Taiwan
88. Chungking express (Wong Kar Wai, 1994) – Hong Kong
89. The Scent Of Green Papaya (Tran Anh Hung, 1994) – Vietnam, France
90. Gabbeh (Mohsen Makhmalbaf, 1995) – Iran
91. The White Balloon (Jafar Panahi, 1995) – Iran
92. The Day a Pig Fell into The Well ( Hong Sangsoo, 1996) – Korea
93. Hana-bi (Kitaro Takeshi, 1997) – Japan
94. Flowers of Shanghai (Hou Hsiao-hsien, 1998) – Taiwan
95. Chunhyang (Im Kwon Taek, 1999) – Korea
96. The Color of Paradise (Majid Majidi, 1999) – Iran
97. The Poet (Garin Nugroho, 1999) – Iran
98. Blackboards (Samira Makhmalbaf, 2000) – Iran
99. The Circle (Jafar Panahi, 2000) – Iran
100. The Day I became a Woman (Marzieh Meshkini, 2000) – Iran
#whatever
cloud thailand 在 iT24Hrs Youtube 的最佳貼文
Work from Home เรียน ทำงาน ขายของออนไลน์ให้ปัง ทำยังไง ?
ทำอะไรทั้งทีต้องทำให้ดี และทำให้สุด ขายของยังไงในยุคออนไลน์ให้ปัง!!! ยุคนี้อยากเป็นพ่อค้าแม่ค้าร้อยล้าน พันล้าน ไม่ต้องมีหน้าร้านก็รวยได้ ทำงาน เรียน work from home หรือ work from anywhere ต้องมีเครื่องมือที่ช่วยให้การทำงานร่วมกันเป็นทีม ราบรื่น มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และต้องมีความปลอดภัยอีกด้วย
โควิด-19 ทำให้ทุกๆวงการมีการเปลี่ยนแปลง จากที่เราเคยใกล้ชิดกัน ก็ต้องเว้นระยะห่างไว้ก่อน ทำให้การทำงาน การเรียน ต่างย้ายไปอยู่ออนไลน์ ...การขายของทางออนไลน์ก็บูมขึ้นอีก แต่ทำอะไรทั้งทีต้องทำให้ดี และทำให้สุด ทีมงานรายการ Digital Thailand เลยจัดรวบรวมมาให้สำหรับ How to work from Home ทำงาน เรียน ขายของยังไงในยุคออนไลน์ให้ปัง!!! ..
แอปกลุ่มประชุมออนไลน์ - ZOOM, Google Meet, Microsoft Team, Line Meeting
แอปเครื่องมือ collaboration tools - Trello, Asana
กลุ่มงานเอกสารทำงานบน Cloud -Google Doc, Google Slide, Google Sheet
พื้นที่จัดเก็บบน Cloud - Google Drive, Dropbox, One drive
ได้เครื่องมือดีแล้ว ก็ต้องมีระบบการทำงานที่ดีด้วย ติดตามรายละเอียดวิธีการใช้เครื่องมือต่างๆ และวิธีวางระบบการทำงานให้ Work from Home ได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ในรายการย้อนหลังตอนนี้ได้เลย
ดูรายละเอียด Work from Home เรียน ทำงาน ขายของออนไลน์ให้ปัง ทำยังไง? เพิ่มเติมได้จากคลิบรายการย้อนหลัง Digital Thailand ต่อได้เลย
ออกอากาศวันเสาร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2564 ในรายการ Digital Thailand
ออกอากาศ ทุกวันเสาร์ ทางช่อง 3 กด 33 เวลา 4.40 น.- 5.05 น.
.
ติดตามรับข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่
facebook.com/it24hrs
twitter.com/panraphee
twitter.com/ it24hrs
IG: panraphee
ติดต่อโฆษณา it24hrs@it24hrs.com โทร 0802345023
cloud thailand 在 iT24Hrs Youtube 的最佳解答
ในแต่ละปีที่ผ่านไป ไม่ว่าจะวงการไหน ก็มักจะมีการเปลี่ยนแปลง มีการพัฒนาขึ้นอยู่เรื่อยๆ หนึ่งในนั้นคือวงการไอทีเทคโนโลยี ที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้ชีวิตเราดียิ่งขึ้น ... รายการดิจิทัลไทยแลนด์ขอรวบรวมสรุปข่าวสำคัญมาให้ดูกันว่าในวงการ เทคโนโลยี ปี 2020 มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง
สรุปข่าววงการ เทคโนโลยี ปี 2020 มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง
1. ปีเริ่มต้นของจริงยุค 5G ในไทย
เมื่อต้นปี 2020 ที่ผ่านมานี้ประเทศไทยก็มีการประมูล 5G ไทย จำนวน 3 คลื่นความถี่ได้สำเร็จ!! ปรบมือออ ซึ่งผลการประมูลคลื่นคือ
คลื่น 700MHz จำนวน 3 ใบอนุญาต : CAT ได้ 2 ชุด ส่วน AIS ได้ 1 ชุด
คลื่น 2600MHz จำนวน 19 ใบอนุญาต : AIS ได้ 10 ชุด และ truemove H ได้ 9 ชุด
ส่วนคลื่น 26GHz จำนวน 26 ใบอนุญาต : AIS 12 ชุด / TrueMove H 8 ชุด / TOT 4 ชุด และ ดีแทค ไตรเน็ต (dtac) 2 ชุด
5G ก็ไม่ใช่แค่เล่นเน็ตได้แรงขึ้นแต่จะมาต่อยอดเทคโนโลยีต่างๆได้อีกมากมาย เพราะเมื่อเทียบกับ 4G แล้วมีข้อแตกต่างดังนี้
1. ความเร็วในการรับส่งเพิ่มขึ้นประมาณ 20 เท่า // 2. เชื่อมต่อได้มากถึง 1,000,000 อุปกรณ์ต่อตร.กม. // และ 3. ความหน่วง หรือ Latency ลดลง เหลือเพียงแค่ 1 ms เท่านั้น เรียกได้ว่ารับส่งข้อมูลกันได้แบบ Real Time เลยทีเดียว
2. อวสานทีวีอนาล็อก หลังช่อง 3 ยุติแพร่ภาพทีวีอนาล็อก ไทยก้าวสู่ยุคทีวีดิจิทัลเต็มรูปแบบ บีอีซีได้สิ้นสุดสัญญาสัมปทานกับ บมจ.อสมท เป็นผลทำให้สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ได้ทำการยุติการออกอากาศในระบบแอนะล็อกทั่วประเทศ
3. Google Photos เลิกให้พื้นที่ฟรีไม่จำกัด ดยต้องแชร์พื้นที่จากบริการอื่นๆในบัญชี Google บนพื้นที่ 15 GB เท่านั้น จะมีผลวันที่ 1 มิถุนายน 2021 เป็นต้นไป
4. ประเด็นสหรัฐแบนแอปจากจีน เช่น TikTok Wechat ด้วยเหตุผลความมั่นคงของประเทศ
5. เพลงที่นิยมใช้บน tiktok มากที่สุดในปี 2020 คือเพลง "Savage Love" ของ Jason Derulo ส่วนคลิป 'M to the B' ของ Bella Poarch เป็น Top video viral ที่สุดแห่งปีบน TikTok
6. วิกฤตการณ์โควิด19 ทำให้งานกิจกรรมของหลายแบรนด์ต้องยกเลิก เช่น Mobile World Congress, Google I/O, F8 2020
7 หลายแบรนด์มาจัดแงานแบบ Viurtual Event เช่น Galaxy Unpacked 2020, Apple Event 2020
8. เครื่องมือออนไลน์ฝ่าวิกฤตโควิด19 ได้แก่ แอป ZOOM Cloud Meetings, Google Meet, LINE, Facebook, Snapcamera
9. กำเนิด ไทยชนะ แอปเช็คอินตรวจสอบกลุ่มเสี่ยงติด COVID-19
10. โครงการจากรัฐบาล ช่วยเหลือประชาชน สู้ COVID-19 ได้แก่ เราไม่ทิ้งกัน, เราเที่ยวด้วยกัน, คนละครึ่ง ใช้จ่ายผ่านแอปเป๋าตังค์, เยียวยาเกษตรกร, ช้อปดีมีเงินคืน
ติดตามรายละเอียด สรุปข่าวสำคัญวงการ เทคโนโลยี ปี 2020 กันต่อได้ในรายการ Digital Thailand ตอนนี้เลย
.
ออกอากาศวันเสาร์ที่ 2 มกราคม 2564 ในรายการ Digital Thailand
ออกอากาศ ทุกวันเสาร์ ทางช่อง 3 กด 33 เวลา 4.40 น.- 5.05 น.
.
ติดตามรับข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่
facebook.com/it24hrs
twitter.com/panraphee
twitter.com/ it24hrs
IG: panraphee
ติดต่อโฆษณา it24hrs@it24hrs.com โทร 0802345023
cloud thailand 在 spin9 Youtube 的最佳貼文
คลิปนี้ซู่ชิงพาชมงาน ... เพื่อสำรวจดูว่าเทคโนโลยีต่างๆ ที่หัวเว่ยบอกว่าสามารถขับเคลื่อนการเติบโตของเศรษฐกิจ อย่าง AI, Cloud, 5G และ IoT ไปถึงไหนแล้ว และเอามาใช้จริงได้ในรูปแบบไหนบ้าง
ผู้ที่สนใจสามารถเข้าชม Exhibition Zone ภายในงานได้ ตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันที่ 14 พฤศจิกายน นี้ ที่ Centara Grand Central World โดยเข้าไปลงทะเบียนล่วงหน้าได้ที่ https://www.facebook.com/HuaweiTechTH
*Disclosure: คลิปวิดีโอนี้ ได้รับการสนับสนุนจาก HUAWEI*
สมัครเป็นสมาชิกของช่อง spin9 เพื่อสนับสนุนการผลิตคอนเทนต์ของเราได้ที่นี่:
https://www.youtube.com/channel/UCovADuA7KBuMFORurTzL86A/join