CKPower ตอกย้ำความสำเร็จ คว้า 4 รางวัล
ก้าวสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน
CKPower x ลงทุนแมน
ปี 2563 ถือเป็นอีกก้าวแห่งความสำเร็จสำหรับ บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จำกัด (มหาชน) ผู้ประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า ผ่านโรงไฟฟ้า 3 ประเภท ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังน้ำ โรงไฟฟ้าระบบโคเจนเนอเรชั่น และโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
จากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา ทำให้ CKPower ได้รับรางวัลในหลายด้าน ซึ่งการันตีถึงการบริหารจัดการธุรกิจบนความยั่งยืน ด้วยการคำนึงถึง สิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) ได้เป็นอย่างดี
CKPower ได้รับรางวัลในด้านใดบ้าง?
สำหรับรางวัลแรก CKPower ได้รับคัดเลือกเป็นหนึ่งในรายชื่อหุ้นยั่งยืน หรือ “Thailand Sustainability Investment (THSI)” ประจำปี 2563 จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET)
โดยรายชื่อหุ้นยั่งยืนนั้น จะคัดเลือกจากบริษัทที่เข้าร่วมตอบแบบประเมินความยั่งยืน ซึ่งประกอบด้วยคำถาม 19 หมวด ครอบคลุม 3 มิติ ได้แก่ มิติเศรษฐกิจ (รวมบรรษัทภิบาล), มิติสังคม และมิติสิ่งแวดล้อม ซึ่งการที่บริษัทจะได้รับคัดเลือกให้อยู่ในรายชื่อนี้ได้ จะต้องมีคะแนนผ่านร้อยละ 50 ในแต่ละมิติ
และยังต้องผ่านเกณฑ์คุณสมบัติที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ กำหนด เช่น การประเมินคุณภาพรายงานด้านบรรษัทภิบาล (CGR), ผลประกอบการด้านกำไรสุทธิและส่วนของผู้ถือหุ้น, การกำกับดูแลในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของบริษัท และการไม่สร้างผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล เป็นต้น โดยมีคณะทำงานเพื่อการลงทุนอย่างยั่งยืนเป็นผู้กลั่นกรองให้มีความโปร่งใสตลอดกระบวนการ
ซึ่งรายชื่อหุ้นยั่งยืน ก็จะถูกนำไปใช้เป็นเกณฑ์คำนวณดัชนี SETTHSI เพื่อส่งเสริมการลงทุนในหุ้นยั่งยืนที่ดำเนินธุรกิจโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล โดยมีการทบทวนทุกครึ่งปี
CKPower ยังได้รับคะแนนการประเมินด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีในระดับ “ดีเลิศ” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors: IOD)
เป็นการตอกย้ำว่า CKPower มีการกำกับดูแลเรื่องความโปร่งใส เปิดเผยข้อมูลและสามารถตรวจสอบได้ รวมถึงให้ความสำคัญกับผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ซึ่งเป็นไปตามหลักการใน Corporate Governance Code และสอดคล้องกับความคาดหวังและช่วยสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ลงทุนทั้งในและต่างประเทศ
นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัล ASIAN POWER AWARDS 2020 ซึ่งถือเป็นรางวัลสำคัญที่จะช่วยให้พนักงาน CKPower มีกำลังใจและแรงกระตุ้นที่จะคิดค้นโครงการและนวัตกรรมที่สามารถลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในการดำเนินกิจการ
โดยโครงการที่ได้รับรางวัล คือโครงการที่โรงไฟฟ้าบางปะอินโคเจนเนอเรชั่น ซึ่งเดิมออกแบบให้ Gas Compressor เดินเครื่อง 2 เครื่องอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มแรงดันก๊าซก่อนเข้าห้องเผาไหม้ในเครื่องกังหันก๊าซ ทั้งในช่วงเวลาที่ต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงและในช่วงเวลาที่ต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำ
ซึ่งในช่วงที่ต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำนี่เอง อัตราการใช้ก๊าซในการผลิตไฟฟ้าก็ต่ำลงด้วย ก๊าซที่อัดขึ้นมาจาก Gas Compressor จึงเหลือจากการใช้งาน ทำให้เกิดการสูญเสียพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ขับ Gas Compressor
พนักงานของ CKPower จึงคิดที่จะช่วยลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในส่วนนี้ลง โดยคิดโครงการและนวัตกรรม ได้ทำการศึกษา ปรับปรุง และทดลองเพื่อหยุดการใช้งาน Gas Compressor ในช่วงเวลาที่ต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำให้เหลือเพียง 1 เครื่อง
ซึ่งจากผลการทดลองและเดินเครื่องจริง ปริมาณก๊าซจากการเดิน Gas Compressor 1 เครื่องนั้น เพียงพอต่อการผลิตไฟฟ้าในช่วงที่ต้องการพลังงานไฟฟ้าต่ำ ส่งผลให้บริษัทลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในช่วงดำเนินโครงการนี้ ตั้งแต่เดือน ตุลาคม ถึง ธันวาคมปี 2562 ได้ประมาณ 396,253 หน่วย และสามารลดค่าใช้จ่ายจากการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้ประมาณ 1 ล้านบาท
การที่บริษัทฯ ได้รับรางวัล “การยกระดับสิ่งแวดล้อมแห่งปี” และ “โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติแห่งปีของประเทศไทย รางวัลระดับเงิน” ประจำปี 2563 ก็แสดงให้เห็นถึงการที่บริษัทให้ความสำคัญในการปรับปรุงและคิดค้นโครงการนวัตกรรมต่างๆ ที่ช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และความตระหนักที่ชัดเจนในการช่วยกันลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมในการดำเนินธุรกิจ
จากการสร้างจิตสำนึกและความร่วมมือร่วมใจกันของพนักงาน ให้เล็งเห็นถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมของโลกในปัจจุบัน ผู้บริหารและพนักงานจึงมีเป้าหมายตรงกันคือการดำเนินธุรกิจที่ทุกคนในองค์กรมีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อความยั่งยืนสำหรับคนรุ่นหลังต่อไป
นอกจากโครงการที่ได้รับรางวัลนี้ CKPower ยังมีอีกหลายโครงการ ทั้งที่ดำเนินการอยู่แล้ว และที่จะทำในอนาคต ซึ่งมีทั้งโครงการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เช่นลดการใช้น้ำ ลดการปล่อยของเสียทั่วไปและของเสียอันตราย ลดการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ ลดการปล่อยก๊าซ CO2 เป็นต้น
ส่วนรางวัลสุดท้าย ได้รับจากนิตยสาร IR Magazine ซึ่งเป็นนิตยสารชั้นนำเกี่ยวกับงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ (IR) จากสหราชอาณาจักร และมีฐานผู้อ่านที่เป็น IR ทั่วโลก
ซึ่งจากการประกาศรางวัล IR Magazine Awards 2020 นั้น CKPower ได้รับรางวัลในสาขา “Best Crisis Management” ในภูมิภาค South East Asia
จากการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำและสิ่งแวดล้อมและการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังน้ำ ไซยะบุรี สปป.ลาว โดยการให้ภาครัฐ ชุมชน และสื่อมวลชนเข้าเยี่ยมชมโรงไฟฟ้าพลังน้ำ ไซยะบุรี พร้อมกับการบรรยายให้ความรู้ และข้อเท็จจริงของลักษณะการบริหารจัดการน้ำและสิ่งแวดล้อมของโรงไฟฟ้า ควบคู่ไปกับการสร้างประโยชน์ตอบแทนคืนสู่สังคม
ด้วยรางวัลทั้งหมดนี้ แสดงให้เห็นว่า CKPower ได้ก้าวขึ้นมาเป็นหนึ่งในองค์กรที่มีการบริหารจัดการธุรกิจอย่างยั่งยืน คำนึงถึงการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างรอบด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเติบโต (Growth) การสร้างผลกำไร (Profitability) และการสร้างความยั่งยืน (Sustainability) ซึ่งล้วนแต่เสริมสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในระยะยาวอีกด้วย
corporate governance code 在 渾水財經Channel Facebook 的最讚貼文
股票實名制,監管機構獲過大權力
(文章刊登於信報月刊)
《信報》獨家爆料引述消息指,港交所(388)行政總裁李小加跟中央協商過互聯互通的內容,要進一步「債券」、「ETF」、「新股」互通,前提是要處理好股票實名制的事宜。由於涉及重大既得利益,金融市場中人馬上嚇一大跳。
推行股票實名制的消息其後獲得港交所證實。由於今年6月,香港與商務部簽訂《內地與香港關於建立更緊密經貿關係安排》(CEPA)框架下的《投資協議》及《經濟技術合作協議》,其中已提及明年1月1日將會實行股市實名制的條款,所以股票實名制看來有事在必行的趨勢,業界要反對的話,只能把握剩下這幾個月。
先把實名制的概念疏理一下,實名制在內地又叫「一戶一碼」,這是指監管機構可以透過法人機構識別編碼(LEI),綑綁身份證號碼和股票賬號,隨時監控股民所有交易,馬上追蹤到股票交易的最終權益持有人。這跟現時香港的監管做法有所不同,如果證監發現股價波動,當局會向券商索取資料,然後再進行分析,隔了一重。支持股票實名制的理由很表面,就是「夠快」、「直接」,但一定不包括「減少市場波動」。我見到支持推行股票實名制的官員多引述內地A股做例,提出A股市場因為推行了股票實名制,所以減少了內幕交易、市場操控等行為,股價相對波動較少。見到這類講法,實在很難忍俊不禁,因為內地有升漲停版機制,只要10%的波動就會強調停止交易。邏輯上,10%不是大波動,你無法判斷所謂的股價波動較少現象,是因為停版機制,還是股票實名制。
反對股票實名制的最強道德論據,自然是私隱權,因為部份投資者偏向低調,不想被旁人得知交易狀況。私隱權的進一步延伸出來的inconvenient truth是,少了這部分私隱權,大型機構投資者對港股市場反感,減少市場資金流入,令香港少了熱錢。良好的公司治理守則(Corporate Governance Code)強調持份者的誠信義務(fiduciary duty),只要買買賣賣的投資者沒有因為內幕消息而炒作獲利,它就沒有違反其誠信義務,公司管治便已完善了,實在不必犧牲投資者的私隱多此一舉。
股票實名制的另一對立面是內幕交易,剛好信報力捧的專欄作家盧安迪寫了一篇《反思內幕交易》的鴻文,提出了反直覺式的怪誕經濟學(Freakonomics)論點,意指內幕交易並未必想像中不妥。盧君指出:「不少經濟學家——例如佛利民(Milton Friedman)和索維爾(Thomas Sowell)——都曾指出,內幕交易有助傳遞資訊,提升市場效率。事實上,佛利民活到94歲仙遊、索維爾如今87歲高齡,都仍然贊成內幕交易合法化」佛利民是自由市場論點的擁護者,涉獵的範籌甚多。我同意盧君的論點,亦想在此立論進行延伸,如果要專攻於內幕交易的學術觀點,更應看看法律經濟學者Henry G. Manne的《Insider trading and the stock market》。
一般法律背景的學者都傾向支持訊息要公平對外公布,反對內幕交易等,Manne卻是異數,終其一生也被法律圈中人和監管機構排斥。除了一般大路的「內幕有助反映價格」的效率市場觀點外,Manne還提出更新奇的「層遞式內幕交易」的觀點。
一般來講,最清楚公司運作的必然是公司管理層和大股東等一致行動人士,如果禁止內幕交易,即管理層和大股東無法「偷跳」受惠,這不難理解。然而,內幕資訊有如病毒,會一層一層傳遞開去,公司管理層和大股東之外的圈子,就是投行顧問、會計師、律師等專業人士,很多人都認為這伙人也應該被禁止內幕交易,所以這伙人也無法直接得益於內幕交易。管理層之外、專業人士之外,內幕消息這「病毒」也差不多擴散至股票經紀這圈子,股票經紀跟上市公司的關係已經夠疏離,一般監管機構很難證成股票經紀參與內幕交易,所以禁止核心內圍參與內幕交易的最大利益者,是核心外圍的股票經紀,因為內幕消息總會擴散開去,他們會吃到核心內圍吃不到的甜頭。
事實上,美國最反對內幕交易的既得利益者,就是股票經紀。
這個推論跟股票實名制有什麼相關的地方呢?監管機構有一個永恆矛盾:如果監管機構是為了監管市場中人,那麼有誰會監管監管機構,再推論下去,沒完沒了。
內幕交易總會有受惠者,如果行了股票實名制後,公司管理層、專業人士當然無法受惠於「偷跳」內幕消息,只怕連股票經紀也無受惠,反而再向外延伸多一個圈子,在監管機構內工作的人卻成了最大受益人。理論上,你不能排除監管機構中人透過實名追蹤到個別大基金的交易資料,從而跟隨買入「偷跳」。樹大有枯枝,如果監管機構內的人幹到這份上,又有誰能保證市場是公平。倫理哲學角度去睇,我們實在無法推論在監管機構內工作的人,道德上比上市公司核心內圍的人更純潔高尚,不會「偷跳」。所以,監管機構支持股票實名制,而內裡工作的人又是潛在利益對象,這看上來是怪怪的。
讓監管機構直接、實時追蹤投資者的動態無疑是下放了過大權力,讓內裡工作的人可以有「偷跳」的機會。現在監管機構間接「向券商索取資料,然後再進行分析」的設計實有高明之處,因為搜證需時,市場已反映消息,監管機構中人無法「偷跳」,這是保證市場和監管機構之間的check and balance。
站在中央角度,內地不想國際金融大鱷透過互聯互通,狙擊和操控市場,所以才有此一著。不過再站在更宏觀的管治角度,實名制不止在股票市場實行,早在2004年5月13日《網際網路電子郵件服務標準》已首次提出實名制並且強調電子郵件服務商應要求客戶提交真實的客戶資料。行實名制的,還有電訊、電郵、網上遊戲、社交媒體。股票實名制只是中央政治穩定大布局下的其中一個板塊,僅此而已。香港應否跟從,那要看金融業界有多大反應。
corporate governance code 在 小子投資筆記 Facebook 的最佳解答
瑞星科技(02018)被沽空機構追擊,拖累股價下跌11%,看看加利的看法。
瑞聲科技(2018.HK) 遭沽空機構GOTHAM CITY RESEARCH 追擊,目標價$40-$50,現價不建議追
成件事最吊鬼反而係拖埋蘋果落水,瑞聲出澄清也不一定能解決事件。
岩岩睇完份報告,解釋返先:
個重點位係質疑瑞星作為一個供應商,個純利率比蘋果,google,微軟仲要高
理據如下:
1.
AAC has used 20+ undisclosed related parties & dubious accounting to overstate & smoothen profits since 2014.
At least 20 undisclosed related party suppliers are owned or managed by AAC CEO’s family members or employees.
依個用關聯公司做大自己純利方法,我之前有文已經講解左個原理
焦點直擊:宏橋遭受沽空之謎(一) 2017年3月7日 星期二
https://garyinvesmentblog.blogspot.hk/2017/03/blog-post.html
2.
These undisclosed related party suppliers are not listed in Apple’s supplier list, despite some claiming otherwise.
Some of the undisclosed related entities supply the same products as AAC does, are based in the same locations as AAC is, & hire employees under AAC’s name.
AAC has used these hidden entities to evade Apple’s labor standards specified in the Apple Supplier Code of Conduct.
Apple (and other parties) will conduct independent investigations, & validate our findings. As a result, AAC’s profit margins will decline, converging to its peers’ levels.
AAC is in violation of Hong Kong listing rules, Apple’s supplier code of conduct, and its own representations.
依點好中要害,直接叫蘋果查瑞星,如果屬實會好大件事,大家要小心!
3.
AAC has no listed CFO since 2010, per its annual reports.
Chunyuan Wu, the wife of AAC’s CEO, is a member of AAC’s audit & risk committee
企業管治問題,應該攻擊corporate governance做得不好
4.
AAC’s auditor, Deloitte, is considered
the Audit Firm That Has Had the Most Trouble in China
德勤躺著也中槍