Slm jumaat semu...kalo masak ni mesti semerbak bau dapur tu!!! Ni abg brian payungkan resipi yg dikongsikan secara langsung di #SeleraAbangBrian semalam
Nantikan lebih lagi resipi sodap dan tawaran semasa siaran langsung sahaja! temu janji kite setiap Selasa-Jumat pada kul 9pm dan 11am hari ahad secara langsung di fb abg brian …
Kepah Kam Hiong
500 g kepah
Bahan Kisar
2 tbsp udang kering, direndam air panas 10 min
5 bawang merah kecil
6 cili padi
5 tangkai daun kari
1 sudu besar serbuk kari
1 sudu besar sos tiram
1 sudu besar kicap
1 sudu kecil karamel pekat
1. Panaskan minyak dan tumiskan daun kari sehingga bau naik.
2. Masukkan bahan kisar dan tumis garing.
3. Masukkan kesemua bahan lain kecuali kepah. Gauls sebati. Tambahkan sedikit air sekiranya terlalu pekat.
4. Masukkan kepah, gaul mesra dan tutupkan kuali dengan penutup dan biarkan kepah masak.
#kepah #halal #resipihalal #resipi #quickrecipes #malaysianfood #malaysianrecipes #foodiesofinstagram #foodiesofmalaysia #resipimudah #Malaysianrecipes #resipilala #resipicinahalal #halalchineserecipes #spicy #kamheong #lala
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過1萬的網紅translation,也在其Youtube影片中提到,#'92年にコナミが稼働させた、AC用ベルトスクロールアクションゲーム。フランスのルネ・ゴシニ氏とアルベール・ユデルゾ氏による同名漫画『アステリックス』を元にしており、プレイヤーはアステリックスあるいは親友のオベリクスを操作し、ローマ帝国に立ち向かう。 グラフィック、多彩なアニメーション、攻撃のパ...
gauls 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答
กฎหมายของชาวโรมัน : รากฐานระบบกฎหมายซิวิลลอว์
หมายเหตุ เรื่องนี้เคยลงเผยแพร่มาแล้ว ครั้งหนึ่ง ในปี 2558
กฎหมายของชาวโรมัน (Roman Law) ที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายปัจจุบันและมักนำมากล่าวกันอยู่สมอได้แก่ กฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Tables) และประมวลกฎหมายจัสเตียน (The Justinian Code)
1.1 กฎหมายสิบสองโต๊ะ
กฎหมายสิบสองโต๊ะ อาณาจักรโรมัน ได้ถูกก่อตั้งขึ้น เมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราช และได้กลายเป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญทางอารยธรรมของทวีปยุโรปในระยะต่อมาในส่วนที่เกี่ยวกับความเจริญทางด้านกฎหมายนั้น ก็ได้มีวิวัฒนาการอย่างกว้างขวางและสอดคล้องกับรูปการปกครองของอาณาจักรโรมันในขณะนั้น เช่นบทบัญญัติแห่งกฎมายที่ตราขึ้นโดย Comitia Centuriata เรียกว่า “lex” ส่วนกฎหมายที่บัญญัติโดย Concilium Plebis เรียกว่า “Plebiscitum” แต่ในบางกรณีการใช้ถ้อยคำอาจเปลี่ยนไป เช่นเรียกว่า “lege” เป็นต้น
บทบัญญัติของกฎหมายในรูปต่างๆ ดังกล่าวแล้ว มีความสำคัญต่อวิวัฒนาการของกฎหมายโรมันในยุคแรกพอสมควร แต่บทบัญญัติแห่งกฎหมายซึ่งมีความสำคัญและรู้จักกันอย่างกว้างขวางได้แก่กฎหมายสิบสองโต๊ะ เพราะได้จัดทำขึ้นโดยการรวบรวมกฎหมายที่ใช้อยู่ให้รวมเข้าเป็นหมวดหมู่ในรูปของประมวลตั้งแต่ปี450 ก่อนคริสต์ศักราชและกล่าวไว้ว่ากฎหมายสิบสองโต๊ะนับได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของกฎหมายโรมันที่แท้จริงและทำให้กฎหมายลายลักษณ์อักษรเริ่มมีคุณค่าเหนือกว่าจารีตประเพณีซึ่งยังคงมีความสำคัญอยู่มากในสมัยก่อน เหตุที่มีการจัดทำกฎหมายสิบสองโต๊ะขึ้น เนื่องมาจากสมัยนั้นการบัญญัติกฎหมายและการใช้กฎหมายตกอยู่ในมือของพวกคนชั้นสูง ที่เรียกว่าพวก Patricians แต่เนื่องด้วยพวกชนชั้นสูงนี้เป็นเพียงชนกลุ่มน้อย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ใช้อยู่ก่อนหน้านั้นเป็นที่รับรู้กันในหมู่ชนกลุ่มน้อยเท่านั้น แต่ชนชั้นกลางหรือพวก Plebeians ซึ่งเป้นชนกลุ่มใหญ่ไม่ได้ล่วงรู้ถึงบทบัญญัติปห่งกฎหมายที่มีผลใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นเลย ดังนั้นพวก Plebeians จึงขอร้องให้มีการจัดทำกฎหมายขึ้นใหม่ที่มีลักษณะแน่นอน มีหลักฐานเพื่อสามารถเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปรับรู้และปฏิบัติตาม
ดังนั้นในปี 452 ก่อนคริสต์ศักราช จึงมีการส่งผู้แทน 3คน ไปยังประเทศกรีซ เพื่อศึกษากฎหมายของ Solon ที่เรียกว่า “Solon’s Code of Laws ซึ่งมีชื่อเสียงมากในขณะนั้นเพื่อเป็นแบบอย่างในการจัดทำกฎหมายโรมัน ภายหลังที่คณะผู้แทนคณะนี้ได้เดินทางกลับถึงกรุงโรม ได้มีการแต่งตั้งบุคคลคณะหนึ่งจำนวนสิบคน ซึ่งประกอบด้วยพวก Patricians เป็นผู้จัดทำกฎหมายขึ้น โดยการจารึกไว้บนบรอนซ์จำนวน 10 โต๊ะ
ในปี 451 ก่อนคริสต์ศักราช และได้รับการรับรองโดยสภา Senate และ Comitia Centuriata ในระยะต่อมา
ในปี 450 ก่อนคริสต์ศักราช ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการอีกคณะหนึ่ง จำนวน 3 คน ซึ่งเลือกจากพวก Plebeians ให้ทำหน้าที่จัดทำกฎหมายเพิ่มเติมอีก 2 โต๊ะ เมื่อรวมกับที่ได้จัดทำไว้แล้ว 10 โต๊ะ จึงมีจำนวนทั้งสิ้น 12 โต๊ะ และรู้จักกันอย่างแพร่หลายในนามของกฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Tables หรือ Lex Xll Tabularum)
เป็นที่น่าเสียดายที่กฎหมายทั้งสิบสองโต๊ะได้ถูกทำลายในปี 390 ก่อนคริสต์ศักราช อันเนื่องมาจากชาวโรมถูกชาวโกล( Gauls) รุกราน และโรมเองถูกเผาโดยผู้รุกรานนี้ ทำให้กฎหมายสิบสองโต๊ะถูกเผาทำลายไปด้วย และม่เป็นที่เชื่อได้อย่างแน่นอนว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายสิบสองโต๊ะที่ศึกษาอยู่ในภายหลังจะถูกต้องหรือไม่
เมื่อพิจารณาถึงสาระสำคัญของกฎหมายสิบสองโต๊ะปรากฏตามหลักฐานที่ได้บัญญัติขึ้นจะพบว่ามีสาระสำคัญดังนี้
โต๊ะที่ 1,2และ 3 ได้แก่ วิธีพิจารณาความแพ่งและการบังคับคดี (Civil Procedure and Excution)
โต๊ะที่ 4 ได้แก่ อำนาจอิสระของบิดา (Patria Potestas)
โต๊ะที่ 5,6,7 ได้แก่ อำนาจปกครอง มรดก ทรัพย์สิน (Guardianship,Inheritance and Property)
โต๊ะที่ 8 ได้แก่ การลงโทษทางอาญา (Crimes)
โต๊ะที่ 9 ได้แก่ กฎหมายมหาชน (Public Law)
โต๊ะที่ 10 ได้แก่ กฎหมายศักดิ์ (Sacred Law)
โต๊ะที่ 11,12 ได้แก่ กฎหมายเพิ่มเติม (Suplementary Laws)
1.2 ประมวลกฎหมายจัสติเนียน
หลังจากได้มีการจัดทำกฎหมายสิบสองโต๊ะ ของชาวโรมันก่อน 753 ปี คริสต์ศักราช และได้ถูกพวกชาวโกลได้เผาทำลายไปในยุคต่อมาได้ทำมีการจัดทำกฎหมายขึ้นอีกหลายฉบับ เช่น Edictum โย Savius Julianus ในปี ค.ศ. 130 Codex Gregorianus โดย Gregorianus ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 3 Codex Theodosianus โดย Emperor ในปี ค.ศ. 435 กฎหมายฉบับนี้มี 16 บรรพ มีทั้งเรื่อง กฎหมายเอกชน (Private Law) กฎหมายมหาชน (Public Law) กฎหมายอาญา (Criminal Law) กฎหมายเทศบาล (Municipal) กฎหมายทหาร (Military) และกฎหมายศาสนา (Ecclesiastical Law) แต่อย่างไรก็ตาม กฎหมายที่มีความสำคัญและเป็นแบบอย่างแก่กฎหมายของภาคพื้นยุโรปใน คริสต์ศตวรรษที่ 12-13 คือ ประมวลกฎหมายจัสติเนียน (The Justinian Code) จัดทำโดย Emperor Justinian ในประมาณปี ค.ศ. 528-529 และมีชื่อเรียกในภายหลังว่า “Copus Juris Civilis” ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายแม้กระทั่งในปัจจุบัน เพราะการจัดทำและรวบรวมกฎหมายขึ้นในรูป Code ของจัสติเนียน จึงทำให้กฎหมายโรมันมีความแน่นอนและมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้สามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง รวมทั้งนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางและทำให้กฎหมายที่ใช้อยู่ดั้งเดิมในยุคเก่าหมดสิ้นความหมายลงไปด้วย
ความเป็นมาของ“Copus Juris Civilis” ในปี คศ.528 จัสติเนียนได้มีความประสงค์ให้คนในอาณาจักรโรมัน พูดภาษาเดียวกัน นับถือศาสนาเดียวกันและใช้กฎหมายเดียวกัน จึงได้แต่งตั้งกรรมการคณะหนึ่งจำนวน 10 คน นำโดย Tribonian ซึ่งเป็นนักกฎหมายที่มีชื่อเสียงในขณะนั้นเป็นประธานให้มีหน้าที่รวบรวมและจัดทำกฎหมายขึ้นใหม่ จนในที่สุดสามารถประกาศใช้เป็นกฎหมายได้ในปี ค.ศ. 529 .ในปี ค.ศ. 530 จัสติเนียนได้มอบให้ Tribonian จัดทำกฎหมายขึ้นใหม่อีกครั้งให้มีลักษณะกว้างขวางสามารถใช้บังคับทั่วๆไป มีคณะกรรมการจำนวน 16 คน คณะกรรมการชุดนี้ใช้เวลา 3 ปี ได้จัดทำกฎหมายขึ้น 2,000 บรรพ (book) ขนาด -3,000,000 บรรทัด แต่ในที่สุดถูกตัดทอนลงเหลือ 150,000 บรรทัดและได้ประกาศใช้เป็นกฎหมายในปี ค.ศ. 533
วิเคราะห์อิทธิพลของกฎหมายโรมันในยุโรปและประเทศอื่นๆทั่วโลก
เมื่อพิจารณาศึกษาถึงบรรดาประเทศต่างๆ ในยุโรปจะมีกฎหมายของตนเองใช้อยู่แล้วก็ตาม แต่กฎหมายของประเทศเหล่านั้นก็ไม่ใช่เป็นกฎหมายประจำชาติที่สามารถนำไปใช้บังคับได้ทั้งประเทศ กล่าวคือ ยังคงเป็นกฎหมายจารีตประเพณีหรือกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่ใช้บังคับได้เฉพาะถิ่นนั้นๆ เท่านั้น ดังนั้นกฎหมายโรมันจึงเป็นประโยชน์แก่ประเทศต่างๆเหลานี้มาก เพื่อนำไปอุดช่องโหว่ หรือขจัดข้อขัดแย้งระหว่างกฎหมายท้องถิ่นต่างๆ รวมทั้งนำไปเป็นแบบอย่างในการบัญญัติกฎหมายต่อไปด้วย
แต่การยอมรับกฎหมายโรมันไปใช้เป็นไปในลักษณะที่แตกต่างกัน กล่าวคือในยุโรปภาคใต้ได้แก่ อิตาลี สเปน และภาคใต้ของฝรั่งเศส ได้รับกฎหมายโรมันไปใช้โดยไม่มีปัญหามากมายนัก เพราะเป็นประเทศที่ใช้กฎหมายลายลักษณ์อักษรอยู่แล้ว แต่ในยุโรปตอนเหนือ การยอมรับกฎหมายโรมันเป็นไปอย่างช้าๆ เพราะประเทศเหล่านี้ต่างมีจารีตประเพณีของตนเองอยู่แล้ว เช่น เยอรมัน และเนเธอร์แลนด์ แต่ในที่สุดก็ได้รับอิทธิพลของกฎหมายโรมันไปใช้ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่สิบห้า และการยอมรับนี้เป็นไปโดยสมบูรณ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เช่นเดียวกับภาคเหนือของฝรั่งเศส
ในระยะต่อมาเมื่อประเทศต่างๆ ได้จัดทำกฎหมายของตนขึ้นตามแบบใหม่ ประมวลกฎหมายเหล่านี้ต่างก็รับเอาอิทธิพลของกฎหมายโรมันเป็นหลัก หรือเป็นแนวทางในการจัดทำกฎหมายประจำชาติ เช่น ในการจัดทำกฎหมายบาวาเรีย (Bavaria) ในปี ค.ศ.๑๗๕๖และประมวลกฎหมายปรัสเซีย (Prussia) ในปี ค.ศ. ๑๗๙๔ แต่ประมวลกฎหมายที่มีความสำคัญอย่างยิ่งได้แก่ประมวลกฎหมายนโปเลียน ในปี ค.ศ. 1804 เพราะประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้มีอิทธิพลในประเทศต่างๆมาก เช่น ฮอลันดา สเปน อิตาลี เบลเยี่ยม หลุยเซียนา ควิเบก อียิปต์ และประเทศต่างๆในอเมริกาใต้ ซึ่งเหมือนกับว่ากฎหมายโรมันได้แผ่อิทธิพลเข้าไปในประเทศต่างๆ เหล่านี้ด้วย
สำหรับประเทศเยอรมนี แม้ว่าจะได้รับอิทธิพลมาจากประมวลกฎหมายนโปเลียนอย่างมากก็จริง ในฐานะต้นสกุลกฎหมาย โรมาโน-เยอรมานิค แต่เนื่องด้วยอิทธิพลของ Savigny (1779-1861) นักนิติศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงของประเทศเยอรมนี จึงไม่ได้ยอมรับเอาประมวลกฎหมายนโปเลียนไปใช้เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ที่กล่าวมาแล้ว แต่ได้ศึกษากฎหมายโรมันอย่างกว้างขวาง ในที่สุดได้มีการจัดทำประมวลกฎหมายเยอรมันขึ้นในปี ค.ศ. 1900 ซึ่งกล่าวได้ว่าประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้รับอิทธิพลของกฎหมายโรมันมากกว่าประมวลกฎหมายฝรั่งเศส และในที่สุดประมวลกฎหมายเยอรมันได้ถูกใช้เป็นแบบอย่างในการจัดทำประมวลกฎหมายของญี่ปุ่น และบราซิล รวมทั้งมีอิทธิพลต่อประมวลกฎหมายของสวิสด้วย
gauls 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
กฎหมายของชาวโรมัน
กฎหมายของชาวโรมัน (Roman Law) ที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายปัจจุบันและมักนำมากล่าวกันอยู่สมอได้แก่ กฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Tables) และประมวลกฎหมายจัสเตียน (The Justinian Code)
1.1 กฎหมายสิบสองโต๊ะ
กฎหมายสิบสองโต๊ะ อาณาจักรโรมัน ได้ถูกก่อตั้งขึ้น เมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราช และได้กลายเป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญทางอารยธรรมของทวีปยุโรปในระยะต่อมาในส่วนที่เกี่ยวกับความเจริญทางด้านกฎหมายนั้น ก็ได้มีวิวัฒนาการอย่างกว้างขวางและสอดคล้องกับรูปการปกครองของอาณาจักรโรมันในขณะนั้น เช่นบทบัญญัติแห่งกฎมายที่ตราขึ้นโดย Comitia Centuriata เรียกว่า “lex” ส่วนกฎหมายที่บัญญัติโดย Concilium Plebis เรียกว่า “Plebiscitum” แต่ในบางกรณีการใช้ถ้อยคำอาจเปลี่ยนไป เช่นเรียกว่า “lege” เป็นต้น
บทบัญญัติของกฎหมายในรูปต่างๆ ดังกล่าวแล้ว มีความสำคัญต่อวิวัฒนาการของกฎหมายโรมันในยุคแรกพอสมควร แต่บทบัญญัติแห่งกฎหมายซึ่งมีความสำคัญและรู้จักกันอย่างกว้างขวางได้แก่กฎหมายสิบสองโต๊ะ เพราะได้จัดทำขึ้นโดยการรวบรวมกฎหมายที่ใช้อยู่ให้รวมเข้าเป็นหมวดหมู่ในรูปของประมวลตั้งแต่ปี450 ก่อนคริสต์ศักราชและกล่าวไว้ว่ากฎหมายสิบสองโต๊ะนับได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของกฎหมายโรมันที่แท้จริงและทำให้กฎหมายลายลักษณ์อักษรเริ่มมีคุณค่าเหนือกว่าจารีตประเพณีซึ่งยังคงมีความสำคัญอยู่มากในสมัยก่อน เหตุที่มีการจัดทำกฎหมายสิบสองโต๊ะขึ้น เนื่องมาจากสมัยนั้นการบัญญัติกฎหมายและการใช้กฎหมายตกอยู่ในมือของพวกคนชั้นสูง ที่เรียกว่าพวก Patricians แต่เนื่องด้วยพวกชนชั้นสูงนี้เป็นเพียงชนกลุ่มน้อย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ใช้อยู่ก่อนหน้านั้นเป็นที่รับรู้กันในหมู่ชนกลุ่มน้อยเท่านั้น แต่ชนชั้นกลางหรือพวก Plebeians ซึ่งเป้นชนกลุ่มใหญ่ไม่ได้ล่วงรู้ถึงบทบัญญัติปห่งกฎหมายที่มีผลใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นเลย ดังนั้นพวก Plebeians จึงขอร้องให้มีการจัดทำกฎหมายขึ้นใหม่ที่มีลักษณะแน่นอน มีหลักฐานเพื่อสามารถเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปรับรู้และปฏิบัติตาม
ดังนั้นในปี 452 ก่อนคริสต์ศักราช จึงมีการส่งผู้แทน 3คน ไปยังประเทศกรีซ เพื่อศึกษากฎหมายของ Solon ที่เรียกว่า “Solon’s Code of Laws ซึ่งมีชื่อเสียงมากในขณะนั้นเพื่อเป็นแบบอย่างในการจัดทำกฎหมายโรมัน ภายหลังที่คณะผู้แทนคณะนี้ได้เดินทางกลับถึงกรุงโรม ได้มีการแต่งตั้งบุคคลคณะหนึ่งจำนวนสิบคน ซึ่งประกอบด้วยพวก Patricians เป็นผู้จัดทำกฎหมายขึ้น โดยการจารึกไว้บนบรอนซ์จำนวน 10 โต๊ะ
ในปี 451 ก่อนคริสต์ศักราช และได้รับการรับรองโดยสภา Senate และ Comitia Centuriata ในระยะต่อมา
ในปี 450 ก่อนคริสต์ศักราช ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการอีกคณะหนึ่ง จำนวน 3 คน ซึ่งเลือกจากพวก Plebeians ให้ทำหน้าที่จัดทำกฎหมายเพิ่มเติมอีก 2 โต๊ะ เมื่อรวมกับที่ได้จัดทำไว้แล้ว 10 โต๊ะ จึงมีจำนวนทั้งสิ้น 12 โต๊ะ และรู้จักกันอย่างแพร่หลายในนามของกฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Tables หรือ Lex Xll Tabularum)
เป็นที่น่าเสียดายที่กฎหมายทั้งสิบสองโต๊ะได้ถูกทำลายในปี 390 ก่อนคริสต์ศักราช อันเนื่องมาจากชาวโรมถูกชาวโกล( Gauls) รุกราน และโรมเองถูกเผาโดยผู้รุกรานนี้ ทำให้กฎหมายสิบสองโต๊ะถูกเผาทำลายไปด้วย และม่เป็นที่เชื่อได้อย่างแน่นอนว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายสิบสองโต๊ะที่ศึกษาอยู่ในภายหลังจะถูกต้องหรือไม่
เมื่อพิจารณาถึงสาระสำคัญของกฎหมายสิบสองโต๊ะปรากฏตามหลักฐานที่ได้บัญญัติขึ้นจะพบว่ามีสาระสำคัญดังนี้
โต๊ะที่ 1,2และ 3 ได้แก่ วิธีพิจารณาความแพ่งและการบังคับคดี (Civil Procedure and Excution)
โต๊ะที่ 4 ได้แก่ อำนาจอิสระของบิดา (Patria Potestas)
โต๊ะที่ 5,6,7 ได้แก่ อำนาจปกครอง มรดก ทรัพย์สิน (Guardianship,Inheritance and Property)
โต๊ะที่ 8 ได้แก่ การลงโทษทางอาญา (Crimes)
โต๊ะที่ 9 ได้แก่ กฎหมายมหาชน (Public Law)
โต๊ะที่ 10 ได้แก่ กฎหมายศักดิ์ (Sacred Law)
โต๊ะที่ 11,12 ได้แก่ กฎหมายเพิ่มเติม (Suplementary Laws)
1.2 ประมวลกฎหมายจัสติเนียน
หลังจากได้มีการจัดทำกฎหมายสิบสองโต๊ะ ของชาวโรมันก่อน 753 ปี คริสต์ศักราช และได้ถูกพวกชาวโกลได้เผาทำลายไปในยุคต่อมาได้ทำมีการจัดทำกฎหมายขึ้นอีกหลายฉบับ เช่น Edictum โย Savius Julianus ในปี ค.ศ. 130 Codex Gregorianus โดย Gregorianus ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 3 Codex Theodosianus โดย Emperor ในปี ค.ศ. 435 กฎหมายฉบับนี้มี 16 บรรพ มีทั้งเรื่อง กฎหมายเอกชน (Private Law) กฎหมายมหาชน (Public Law) กฎหมายอาญา (Criminal Law) กฎหมายเทศบาล (Municipal) กฎหมายทหาร (Military) และกฎหมายศาสนา (Ecclesiastical Law) แต่อย่างไรก็ตาม กฎหมายที่มีความสำคัญและเป็นแบบอย่างแก่กฎหมายของภาคพื้นยุโรปใน คริสต์ศตวรรษที่ 12-13 คือ ประมวลกฎหมายจัสติเนียน (The Justinian Code) จัดทำโดย Emperor Justinian ในประมาณปี ค.ศ. 528-529 และมีชื่อเรียกในภายหลังว่า “Copus Juris Civilis” ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายแม้กระทั่งในปัจจุบัน เพราะการจัดทำและรวบรวมกฎหมายขึ้นในรูป Code ของจัสติเนียน จึงทำให้กฎหมายโรมันมีความแน่นอนและมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้สามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง รวมทั้งนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางและทำให้กฎหมายที่ใช้อยู่ดั้งเดิมในยุคเก่าหมดสิ้นความหมายลงไปด้วย
ความเป็นมาของ“Copus Juris Civilis” ในปี คศ.528 จัสติเนียนได้มีความประสงค์ให้คนในอาณาจักรโรมัน พูดภาษาเดียวกัน นับถือศาสนาเดียวกันและใช้กฎหมายเดียวกัน จึงได้แต่งตั้งกรรมการคณะหนึ่งจำนวน 10 คน นำโดย Tribonian ซึ่งเป็นนักกฎหมายที่มีชื่อเสียงในขณะนั้นเป็นประธานให้มีหน้าที่รวบรวมและจัดทำกฎหมายขึ้นใหม่ จนในที่สุดสามารถประกาศใช้เป็นกฎหมายได้ในปี ค.ศ. 529 .ในปี ค.ศ. 530 จัสติเนียนได้มอบให้ Tribonian จัดทำกฎหมายขึ้นใหม่อีกครั้งให้มีลักษณะกว้างขวางสามารถใช้บังคับทั่วๆไป มีคณะกรรมการจำนวน 16 คน คณะกรรมการชุดนี้ใช้เวลา 3 ปี ได้จัดทำกฎหมายขึ้น 2,000 บรรพ (book) ขนาด -3,000,000 บรรทัด แต่ในที่สุดถูกตัดทอนลงเหลือ 150,000 บรรทัดและได้ประกาศใช้เป็นกฎหมายในปี ค.ศ. 533
วิเคราะห์อิทธิพลของกฎหมายโรมันในยุโรปและประเทศอื่นๆทั่วโลก
เมื่อพิจารณาศึกษาถึงบรรดาประเทศต่างๆ ในยุโรปจะมีกฎหมายของตนเองใช้อยู่แล้วก็ตาม แต่กฎหมายของประเทศเหล่านั้นก็ไม่ใช่เป็นกฎหมายประจำชาติที่สามารถนำไปใช้บังคับได้ทั้งประเทศ กล่าวคือยังคงเป็นกฎหมายจารีตประเพณีหรือกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่ใช้บังคับได้เฉพาะถิ่นนั้นๆ เท่านั้น ดังนั้นกฎหมายโรมันจึงเป็นประโยชน์แก่ประเทศต่างๆเหลานี้มาก เพื่อนำไปอุดช่องโหว่ หรือขจัดข้อขัดแย้งระหว่างกฎหมายท้องถิ่นต่างๆ รวมทั้งนำไปเป็นแบบอย่างในการบัญญัติกฎหมายต่อไปด้วย
แต่การยอมรับกฎหมายโรมันไปใช้เป็นไปในลักษณะที่แตกต่างกัน กล่าวคือในยุโรปภาคใต้ได้แก่อิตาลี สเปน และภาคใต้ของฝรั่งเศส ได้รับกฎหมายโรมันไปใช้โดยไม่มีปัญหามากมายนัก เพราะเป็นประเทศที่ใช้กฎหมายลายลักษณ์อักษรอยู่แล้ว แต่ในยุโรปตอนเหนือ การยอมรับกฎหมายโรมันเป็นไปอย่างช้าๆ เพราะประเทศเหล่านี้ต่างมีจารีตประเพณีของตนเองอยู่แล้ว เช่น เยอรมัน และเนเธอร์แลนด์ แต่ในที่สุดก็ได้รับอิทธิพลของกฎหมายโรมันไปใช้ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่สิบห้า และการยอมรับนี้เป็นไปโดยสมบูรณ์ในคริสต์ศตวรรษที่สิบหก เช่นเดียวกับภาคเหนือของฝรั่งเศส
ในระยะต่อมาเมื่อประเทศต่างๆ ได้จัดทำกฎหมายของตนขึ้นตามแบบใหม่ ประมวลกฎหมายเหล่านี้ต่างก็รับเอาอิทธิพลของกฎหมายโรมันเป็นหลัก หรือเป็นแนวทางในการจัดทำกฎหมายประจำชาติ เช่น ในการจัดทำกฎหมายบาวาเรีย (Bavaria) ในปี ค.ศ.๑๗๕๖และประมวลกฎหมายปรัสเซีย (Prussia) ในปี ค.ศ. ๑๗๙๔ แต่ประมวลกฎหมายที่มีความสำคัญอย่างยิ่งได้แก่ประมวลกฎหมายนโปเลียน ในปี ค.ศ. 1804 เพราะประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้มีอิทธิพลในประเทศต่างๆมาก เช่น ฮอลันดา สเปน อิตาลี เบลเยี่ยม หลุยเซียนา ควิเบก อียิปต์ และประเทศต่างๆในอเมริกาใต้ ซึ่งเหมือนกับว่ากฎหมายโรมันได้แผ่อิทธิพลเข้าไปในประเทศต่างๆ เหล่านี้ด้วย
สำหรับประเทศเยอรมนี แม้ว่าจะได้รับอิทธิพลมาจากประมวลกฎหมายนโปเลียนอย่างมากก็จริง แต่เนื่องด้วยอิทธิพลของ Savigny (1779-1861) นักนิติศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงของประเทศเยอรมนี จึงไม่ได้ยอมรับเอาประมวลกฎหมายนโปเลียนไปใช้เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ที่กล่าวมาแล้ว แต่ได้ศึกษากฎหมายโรมันอย่างกว้างขวาง ในที่สุดได้มีการจัดทำประมวลกฎหมายเยอรมันขึ้นในปี ค.ศ. 1900 ซึ่งกล่าวได้ว่าประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้รับอิทธิพลของกฆหมายโรมันมากกว่าประมวลกฎหมายฝรั่งเศส และในที่สุดประมวลกฎหมายเยอรมันได้ถูกใช้เป็นแบบอย่างในการจัดทำประมวลกฎหมายของญี่ปุ่น และบราซิล รวมทั้งมีอิทธิพลต่อประมวลกฎหมายของสวิสด้วย
gauls 在 translation Youtube 的最讚貼文
#'92年にコナミが稼働させた、AC用ベルトスクロールアクションゲーム。フランスのルネ・ゴシニ氏とアルベール・ユデルゾ氏による同名漫画『アステリックス』を元にしており、プレイヤーはアステリックスあるいは親友のオベリクスを操作し、ローマ帝国に立ち向かう。
グラフィック、多彩なアニメーション、攻撃のパターン等、原作からの引用が見事で、とても丁寧な作り。
本作最大の問題点はそのマイナーさだろう。
欧州でこそ殆どの人が知る超有名な漫画(テーマパークまである)だが、日本に於いては原作自体ドマイナー且つ、置いてあるゲームセンターがほぼ存在しなかった。
BGMはスナッチャー(88/'88年)や、メタルギア2 ソリッドスネーク(MSX2/'90年)等の泉陸氏や、悪魔城ドラキュラシリーズや、がんばれゴエモンシリーズのミチルさん、マーシャルチャンピオン(AC/'93年)や、ストリートファイターV(PS4/'16年)等の,仲野氏と、錚々たるコンポーザーが集結。
明るくコミカルながらもティンパニを多用したマーチ風や、中世ヨーロッパの民族音楽ベースにするなど、異常に気合が入った楽曲群。
効果音:兼田潤一郎氏
作曲:泉陸奥彦氏,仲野順也氏,山根ミチルさん,江川麻理子さん,西垣綾子さん
Manufacturer: 1992 konami
system: asterix
Hardware: Z80,YM2151,K053260
Sound effect: Junichiro Kaneda
Composer: Mutsuhiko Izumi,Mariko Egawa,Michiru Yamane,Junya Nakano, Ayako Nishigaki
-------------------------------------------------------------------------------------
00:00 01.Konami Logo (コナミロゴ)
00:04 02.Together (タイトルデモ)
00:13 03.Profile (プレイヤー紹介)
01:14 04.Asterix Obelix (セレクト)
02:10 05.Asterix in Gauls Village (ステージ1)
04:00 06.In Egypt (中間デモBGM/エジプト)
05:02 07.Defeat the Evil Architects (ステージ2 BGM1/エジプト)
07:03 08.Pyramid (ステージ2 BGM2/ピラミッド)
10:01 09.In Britain (中間デモ/イギリス)
11:07 10.Wave (ステージ3 BGM1/海)
12:59 11.The Galley (ステージ3 BGM2/船)
14:34 12.Help Me (中間デモBGM/山賊)
15:22 13.Save Falbara (ステージ4 BGM1/山賊)
17:15 14.Ahhhhh.. (ステージ4 BGM2/トロッコ)
17:55 15.In Spain (中間デモ/スペイン)
18:50 16.Spanish Village (ステージ5/スペイン)
20:25 17.The Magic Carpet (中間デモ/インド)
21:23 18.Rescue the Indian Princess ( ステージ6/インド)
23:19 19.Asterix vs. Caesar (中間デモ/ローマ)
24:30 20.Asterix in Rome (ステージ7/ローマ)
26:37 21.They are Crazy (ボス 1)
28:02 22.Do You Want to Fight? (ボス BGM2)
29:19 23.Gladiators (最終ボス)
30:44 24.Stage Clear (ステージクリア)
30:53 26.Are You Ready (ボーナスステージファンファーレ)
31:01 27.Ave Caesar ( 剣闘士ファンファーレ)
31:09 28.Let's Party! (エンディング)
32:10 29.Thank You, Asterix & Obelix (クリアデモ)
33:01 30.Hurry Up! (ボーナスステージ BGM1/ベンハー)
34:00 31.Crash, Crash! (ボーナスステージ BGM2/樽壊し)
34:57 32.I Hate Gauls (ボーナス表示)
35:05 33.Game Over(ゲームオーバー)
-------------------------------------------------------------------------------------
gauls 在 M13 Youtube 的最讚貼文
Tour Taiwan with me: http://taiwantoursm13.com/
Private Channel: https://www.patreon.com/M13
My Facebook: https://www.facebook.com/Mordeth13
Support M13 buy my Private Series: http://www.m13online.com/?page_id=294
World's best motorcycle pants are RHOK (search Ebay for them) "More than three million Chinese drink their own urine in the belief it is good for their health, according to the official Xinhua news agency."
"In Roman times, there was a tradition among the Gauls to use urine to whiten teeth."
"In Hinduism a religious Sanskrit text called the Damar Tantra contains 107 stanzas on the benefits of one's own urine."
"In China, the urine of young boys has been regarded as a curative. In southern China, babies' faces are washed with the urine of other young boys as a skin protectant.
The French customarily soaked stockings in urine and wrapped them around their necks in order to cure strep throat.
Aristocratic French women in the 17th century reportedly bathed in urine to beautify their skin.
In Sierra Madre, Mexico, farmers prepare poultices for broken bones by having a child urinate into a bowl of powdered charred corn. The mixture is made into a paste and applied to the skin. "
gauls 在 The Gauls: Ancient Culture Analysis - YouTube 的推薦與評價
A cultural overview of the Gauls, the Celtic culture of pre-Roman France.Music used: "Rites" Kevin MacLeod (incompetech.com)Licensed under ... ... <看更多>