恐慌嘅時候,更需要睇清楚啲。
肥人知道呢篇文真係寫得遲,本來我乜都唔想寫,依家見到個勢係全世界順水推舟圍堵中共就更加唔想寫,但係姣婆係好難守寡既,尤其是呢排成日俾班極度恐慌既人trigger… 我決定代肥控制員寫,因為我呢邊收視率高過佢。
好,開波!
--------------------
“We had better learn to doubt our inflated fears before they destroy us. Valid fear have their place; they cue us to danger. False and overdrawn fears only cause hardship. Even concerns about real dangers, when blown out of proportion, do demonstrable harm.” – Barry Glassner, American sociologist, author of The Culture of Fear.
網絡世界千奇百趣,好多網上既意見同評論,如果同傳媒製造既輿論結合(不論有心定無意),係會對社會有非常深切既影響。例如以前有政權會向群眾灌輸恐懼,挑起群眾之間既仇恨,或令群眾不知所措,進而控制群眾。呢種手法,不論以前納粹德國、現存或者已覆亡既共產國家、甚至自命民主自由既開放社會如美國都有出現。當政者及其黨羽,就係利用群眾既錯誤認知,以感性因素去扭曲大家既認知同決策能力,咁就可以達到佢地既政治目的啦。咩政治目的?好多種既,下至失敗政府要掩飾施政失誤,上至衝出國際統治全世界都有。
所以唔好話咁樣係「誇張」、「陰謀論」、同「乜都拉埋政治來講」呀,因為人類歷史就係充滿呢種叫 fearmongering既手段-用有目的地散播同誇大一樣不愉快既事情既手法,去引起大家既恐懼來控制群眾。現今世界,庸碌無能之輩當政比比皆是,唔識控制群眾既情緒,點樣遮掩政府既無能同做錯事既後果?不過肥人今次唔講法律,我學下一般既KOL咁「跨界別評論」先,所以呢篇文我講生物醫學,particularly 係將近來我係周遭聽聽埋埋既恐慌言論歸納一齊,逐點解釋。
--------------------
首先,等肥人我同大家重溫一下近來有關武漢肺炎既新聞標題:
信報報導「河南超長潛伏期病例疑94天確診」
HK01就話「逾5000疫廈元朗區最多 衛生署拒回應真偽」
Business Focus既報導就恐怖啦,話「肺炎突變新冠腦炎? 北京醫院首證病毒能侵襲中樞神經系統 感染肺炎併發腦炎北京醫院:患者意識曾陷入混亂」
CCTVB報導「私家醫生可收患者呼吸道樣本交政府陳肇始稱可及早減低傳播」
仲有零零星星報導例如:
「伊朗新冠肺炎疫情增至145死55歲國會議員不治」
「伊朗新型冠狀肺炎疫情失控,再有一位高級官員病逝。」
「【新冠肺炎・伊朗】數名官員先後染病身亡 23國會議員確診」
「新型冠狀病毒南韓確診個案累計增至逾7千宗死亡人數維持在44人。」
「【新冠肺炎.最新疫情】意大利確診個案逾萬 美國突破千宗」
上面堆報導實在睇到好多人好恐慌,尤其是本來對科學/病毒/醫療/疾病無咩認知既人,呢兩個月睇新聞就好似睇恐怖熱線咁。於是搞到好多心理質素差,表面受過教育既人墮入恐慌之中。
然後,我聽到身邊好多人竭斯底理咁驚叫:
「個肺花!個肺花!個肺花!個肺花呀!」
「呢個唔係流感呀!唔好再錯誤同流感比較啦!」
「潛伏期變長呀!無病徵既隱形病人都會傳染人架!」
(隔離果個choke到,咳兩聲)「我以後唔同你坐埋一齊呀!我唔想死呀!」
「如果唔係香港人衛生意識好,堅持戴口罩,香港一早淪陷啦!依家已經無新病例!你睇鬼佬幾污糟!又唔戴口罩,病又話唔使入醫院,返屋企休息,依家美國同意大利都爆發啦!」
「呢D廢老唔戴口罩,鬼唔望佢地中招死全家!政府應該強制人戴口罩!」
以上說話我全部聽過人講,最後一句我最撚火滾,你自己恐慌就好啦,咒人死仲要政府好 draconian 咁立法同執法?俾個民主自由既國會你仲可以普選,你都會選班人渣出來,然後大比數通過立法強制抽血抽組織,強制所有人有無問題都要戴口罩,仲可能要將人tag完再限制人出入自由。1984呀!
我日日做mon post狗睇網上既post,好多share出來又會令人恐懼既post,大部份都係有好多空間令人胡思亂想,如果你對科學尤其是 research methods, medical science, microbiology, virology等等唔認識的話,你鐵定會誤讀誤解再誤判… oh wait,睇返上面「利用群眾既錯誤認知,以感性因素去扭曲大家既認知同決策能力」,BINGO! 咁就搞掂你啦。為咩事要搞掂你?唔講啦,因為你會用陰毛論、陳雲信徒、唔好乜都政治化來駁我。
--------------------
依家太多post講呢個新型冠狀病毒,例如Facebook有個印度人既 Infographics on Covid-19,好詳盡,但咁又點呢?大家對病毒以致肺炎、流感、醫療系統等等都毫無認識,講到咁深入你地都會誤解或者一頭霧水。咁樣樣,好多人因為無足夠既basic knowledge,又先入為主咁因為自己既恐慌情緒相信左錯既資訊,要同佢地「解毒」,就好似同藍絲講咩叫法治一樣困難,真係太監洞房無撚用。
--------------------
好,依家開始【法網肥人講病毒】!
1. 眾所鳩知,武漢肺炎係由新型既冠狀病毒 Covid-19引起。Covid-19係冠狀病毒科 Coronaviridae裡面其中一種,佢係屬於 positive-sense, singled stranded RNA virus (正鏈單股核醣核酸病毒) 。RNA病毒有好高突變率,因為病毒既RNA polymerases缺乏 DNA polymerase 既proofreading能力,所以佢地好難有 nearly identical既 sequence。仲有一點好重要,病毒同病菌唔同,病毒係需要靠 host cell (宿主細胞)先可以生存,離開 host cell 佢地不能複製,不能運作,只有死路一條。所以一開始就話新病毒同SARS個sequence有幾多幾多 percent 相似,我即刻叮左一下,然後好多人傳話新病毒點點點可以生存好耐,我更加叮多兩下…. 邊個放呢D料出來既?
2. 另外,呢隻病毒並非 retrovirus (逆轉錄病毒, class VI single-stranded RNA-Reverse Transcriptase),唔會將自己既RNA用 reverse transcriptase (逆轉錄酶)塞入host cell既基因裡面,然後適時復發。咩係retrovirus呢? 例如會引起 T Cell Leukemia 既 Human T-cell lymphotropic virus type 1 (HTLV-1),或者引起愛滋病既 Human Immunodeficiency Virus (HIV)。呢個病毒,亦唔係好似肝病毒科乙型肝炎咁,唔係 retrovirus 但會有reverse transcriptase去將 viral genome incorporate 入host cell,所以就算不幸中左,都唔會話咩病者會成世帶住個病。所以我每一次聽到人講「就算中左都一世帶病呀」就會好抆,冠狀病毒變愛滋,黐L線!
3. 冠狀病毒既結構好簡單:一個 viral envelope,外面有protein spike,裡面有RNA,that’s it。佢地個replication mechanism (複製機制) 就係病毒接觸host cell後進入 host cell,然後係host cell個細胞核nucleus裡面複製。複製完之後就由host cell cytoplasm (細胞質)裡面製造既 necleocapsid (核蛋白衣) 加埋細胞核既 endoplasmic reticulum (內質網) 既phospholipid membrane (磷脂層)包住病毒RNA,經由host cell 既Golgi apparatus (高氏體)帶出host cell 繼續傳染人。呢個複製過程,當然會破壞甚至殺死 host cell啦。咁知道呢點有咩用?Phospholipid membrane係lipid bilayer (脂質雙分子層),lipid bilayer係怕番梘soap既!咁勤D用番梘洗手就得啦,使撚用甲醇咩屌你,你嫌命長?
4. 有人話:「咁基因突變都得架嘛!個病毒咪做到所有野囉!」喔,係咩?如果咁簡單,呢個世界既大學就唔需要有生物系,而且達爾文應該無人理。首先,病毒點解會有基因變異?簡單講就係 replication 之中,有polymerases 抄錯條 sequence,例如本來係 ATCG 既,抄成 ATTG,跟住無 proofread 就掉出去。又有一種變異,就好似屬於Orthomyxoviridae 既influenza A virus咁,裡面有八條 RNA segments,可以係 replication既時候洗牌。呢種 replication 既錯誤或者洗牌,積埋積埋,小則變成 genetic drift/antigenic drift,大則變成 genetic shift/antigenic shift。前者可能將某一個半個 surface protein 結構變左少少,整體來講人體免疫系統仲認得出,變異後既病毒殺傷力有限。後者可能將原有病毒變成新既 subtype,大部份人既免疫系統都認唔出而死傷無數。假設,新既冠狀病毒係由舊有冠狀病毒(包括 SARS)天然 antigenic shift 變出來既,咁點可能係短短兩三個月再次 antigenic shift 呢?如果基因突變去到呢個地步,肯定顛覆生物學界既認知。但好多本來就無讀過生物既人會唔認同,佢地會搏命咁話基因變異點能夠預測!肥人話你知,唔係預測,而係不符合現實同暫時無人能夠推翻既理論。如果新病毒可以係短時間內變成 retrovirus,可以無任何條件下生存好耐,隨意改變 latent period潛伏期,隨意改變傳染力同殺傷力的話,科學家應該點 classify 佢呢?簡單講,長頸鹿頸長先叫做長頸鹿,如果長頸鹿變成 Mike Tyson 條頸咁短,咁我地應該叫佢做 Mike Tyson 定長頸鹿?如果新冠狀病毒有 HTLV-1既retrovirus能力,有hepatitis B 既 reverse transcriptase,有 flu A 可以 shuffle RNA 既能力,又有 HIV 既超長 latent period,你會叫佢做 coronavirus 定 super virus?
5. 講基因變異,要一個變異既病毒基因可以流傳,病毒本身必須要不斷繁衍,宿主傳宿主咁一代傳一代,病毒先可以續存。呢個就係進化論,survival of the fittest。古代有好多生物不能續存,就係因為被環境淘汰,例如有理論認為三葉蟲因為蛻變機制 (instar and molting) 有問題,結果難以生存,最後被大自然淘汰。如果病毒勁到咩人都可以一野就殺死佢的話,佢點傳播?宿主死左,無人帶佢地去傳染其他人嘛!病毒唔係病菌,可以係環境種生存好耐,病毒只要離開宿主好快就會死,就算有飛沫帶住,我地環境中既太陽紫外光、oxidizing agents、濕度與氣溫等等會令佢地好快收皮。病毒唔係倪匡衛斯理《藍血人》裡面隻「獲殼依毒間」,可以變成游離電波周圍飄。大家明白進化論,就會明白病毒學101既常識,從而 debunk 左一個不斷流傳既流言:「隻病毒好勁,好多人死架,傳播得又快!」傳播得快,不等如勁,而太勁既病毒,難以傳播。係呢度,傳播得快,同隻病毒之間並無關係。病毒殺傷力勁,傳播範圍就會窄,傳播速度都會慢;病毒殺傷力一般如普通流感的話,傳播範圍先會闊,傳播速度先會快。如果新聞瘋狂報導好多人死就等如勁,咁非洲同中東都有好多基督徒男女老幼被人大規模屠殺,你會唔會覺得信耶穌係死路一條?
6. 又有人話:「呢隻病毒唔同流感呀!唔好再同流感比啦!呢隻病毒會死人架!呢隻病毒無藥醫架!」首先,除左冠狀病毒同流感病毒,仲有 Respiratory Synctical Virus (人類呼吸道合胞病毒) 同 Rhinovirus (鼻病毒) 都會引起呼吸道感染疾病,隻隻都係病毒,病毒一向未必有有效既藥物醫治,隻隻都會死人。你地以為流感有得醫?用 Tamiflu 都未必得架,而且有可能有嚴重副作用。咁冠狀病毒同流感病毒有咩唔同? 有人話death rate高,無vaccine,latent period又長又短,病人無病徵,但呢堆因素唔係用來分別病毒勁唔勁囉。Death rate 高低由咩決定,點計?Vaccine有咩用,target 咩?latent period 點解會長短不一?有無病徵同嚴重性有咩關係,係咪好似異形咁,你怕有人無病徵但會 sudden death?你地睇得太多 WhatsApp D人無啦啦訓低既片段啦,你又知人地係武漢肺炎死?New England Journal of Medicine 有篇叫 First Case of 2019 Novel Coronavirus in the United States既文,提到美國華盛頓州有個病人1月19日入廠,20日確診,一直都係 supportive care,直到染病第11日,即係入廠第7日,醫生先用 IV 俾 remdesivir (瑞德西韋),然後佢就退燒,其他症狀都消失或者減輕。咁又點解會係無得醫?大家記住remdesivir (瑞德西韋),遲下會再講。
7. 仲有,我最憎既「個肺花!個肺花!個肺花!個肺花呀!」呢句,我想同講呢句既人講,肺花,係因為照 X-ray 既時候個肺有 consolidation/infiltration,呢個問題唔單止係肺炎,肺癆甚至cancer都會肺花。你怕咩肺花?流感去到嚴重的話,都可能肺花,因為你有 pulmonary consolidation or infiltration。肺花係因為你個肺 filled with liquid, exudate, pus 甚至 blood from hemorrhage。理性少少,冷靜D,肺花講一次就得,repeat 幾次無幫助。
8. 孤勿論點,呢隻病毒都只係一隻呼吸道感染既病毒,一隻真病毒,一隻同流感一樣會令人病,亦會令人死既病毒,只係流感令人鼻塞,但一樣有機會令人肺炎。呢個新病毒佢所有既威力都係傳媒、WhatsApp片段、社交媒體既報導俾佢,就好似有D 人,你聽佢大名如雷灌耳,一見到真人原來係柒碌又無料到一樣(我懷疑我自己都係咁)。其實有無人真正去了解上面我所講既野?無人話你聽你可以當呢隻病毒無到,話之佢死,但係一開始就進入恐慌狀態,咁你係咪俾人耍緊呢?
--------------------
講完上面既病毒既基本知識,不如講多少少基本病毒檢測既知識。好,依家開始【法網肥人化身肥控制員】!
外面成日有人話:「哎呀,個病人21日後先確診呀!」「哎呀,佢隻狗弱陽性呀!」「哎呀,本來係陰性依家係陽性呀!」「哎呀,南韓同意大利爆發,突然好多人確診呀!」Now TV 更報導「鑽石公主號在日確診香港人 康復回港後再檢測呈陽性」
究竟,呢堆確診數字信唔信得過?我意思唔係話邊個國家信唔信得過,而係呢個 test method 同個 protocol 信唔信得過,會唔會有 uncertainty 或者error? 一開始,我地可以睇下 Journal of the American Medical Association 3月9日既文章,Diagnostic Testing for the Novel Coronavirus,裡面有講到 false positive/false negative 既問題,仲有病毒測試既regulation,測試既 guideline等等。文中有提到,開初發展出來既病毒測試有 false negative,顯示出呢個測試既設計應該係有問題。另外,FDA,CDC與美國各州政府之間都有分歧,州政府當然想為居民檢驗啦,但因為個測試係新開發,有大量問題同 uncertainy,所以FDA “made clear that laboratories were encouraged to develop tests but could not use them for clinical diagnosis without FDA’s “approval, clearance, or authorization during an emergency declaration.” 咁 what does that means? 如果你讀 law 的話,我expect你可以 read between the lines。
講返個測試,檢驗新病毒一般都係會用 RT-PCR (Reverse transcriptase-polymerase chain reaction 逆轉錄聚合酶鏈式反應)。好多人,包括肥人好多行家與同事甚至客仔,一聽到咩DNA測試,就以為呢個 test 無L敵啦,一定準確啦。Oh Sorry,no! 撇除所有「中國的會爆炸」同「中國有咩係真」呢兩個因素,一個test既結果是否可信係建基於樣本收集同檢驗方法,無論你係美國,意大利,南韓,日本定中國,樣本收集同檢驗方法先係 main point!
檢驗呼吸道感染疾病,你地話收集咩樣本好呀?Saliva? Sputum? Nasopharyngeal aspirate (NPA)? Bronchial lavage? 如果係上呼吸道病毒,咁 NPA都足夠既,sputum 都可以,但saliva 就應該要reject。但有時呢類既樣本都未必有足夠既病毒樣本去驗,病毒深入氣管去到肺氣泡(alveoli),樣本可能要係bronchial lavage先夠做。仲有,收集樣本既手法,部位,儲存方式,收集時間與檢驗時間既差距,樣樣都會影響結果。支棉花棒「了」得唔好,你或者都會無 result。
好啦,到講 RT-PCR啦。RT-PCR係需要 medical scientist 去砌一段 primer 出來開始做test。為左檢驗結果既可靠性,scientist通常會係新病毒入面抽一段比較穩定既 RNA segment 出來做 primer。可惜,有好多情況下,RT-PCR會俾個錯既答案你。
第一,primer 既設計好影響結果,上面都話段 primer 要係抽病毒一段比較穩定既 RNA segment 出來做,咁如果你抽錯左呢?第二,樣本既 DNA/RNA sequence 既integrity好差,甩頭甩骨咁,結果就會受影響。即係上面所講既樣本收集出現問題呀!第三,樣本純度低,或者份量少,又即係上面所講既樣本收集出現問題呀!咁個 tech 或者 scientist 要係咁加 PCR cycle去 amplify 個 sample,咁 amplify 出來既樣本就有好大機會係 false positive,呢點會影響所謂確診既可信度,亦係咁肥人我見到漁護處話瑞士花園個阿婆患者隻狗呈現弱陽性反應,我當下笑 L97 左出來。大佬呀,你是咪無足夠 sample 就鳩 amplify,然後個 result 根本有問題你都聽長官意志,鳩簽個名話係弱陽性呀?陽就陽,陰就陰。Result 唔 significant 或者 inconclusive,你出咩報告jack? Invalid 啦!仲有呀,病毒係 host specific 架,會傳染人既病毒,又點會無啦啦傳染狗? 眾所鳩知冠狀病毒係靠人類細胞上既 ACE2 (Angiotensin-converting enzyme 2,血管收縮素轉化酶2)來進入人體細胞啦,狗 ACE2既同人既一樣?
寫下寫下,喂,原來未寫數據演繹同政策問題,太長啦,下次再續!
#跨界別吹水
#本來要免於恐懼唔跟隨共匪起舞
#依家又俾共匪睇穿你班人既心理
#個勢變啦全世界同共匪切割了
hiv rate 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
แอฟริกาใต้ ประเทศที่เคย “รวย” กว่าไทย /โดย ลงทุนแมน
เมื่อ 60 ปีที่แล้ว คนแอฟริกาใต้มีรายได้ต่อหัวมากกว่าคนไทย 4 เท่า
ปี 1960 คนแอฟริกาใต้ มีรายได้ต่อปี 8,950 บาท
ในขณะที่คนไทยมีรายได้ต่อปีเพียง 2,140 บาท
ประเทศนี้เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้
ประเทศนี้อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากมาย ทั้งเพชร ทองคำ และแพลทินัม
ในขณะที่การท่องเที่ยวก็มีรายได้สูงเป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา
และเป็นประเทศเดียวในทวีปนี้ที่เคยเป็นเจ้าภาพจัดมหกรรมฟุตบอลโลกในปี 2010
รายได้ต่อปีของคนแอฟริกาใต้เพิ่มมาถึงจุดสูงสุดราว 250,000 บาท ในปี 2011
ซึ่งมากกว่าคนไทยในช่วงเวลานั้นถึง 1.5 เท่า
แต่หลังจากนั้น เศรษฐกิจของแอฟริกาใต้ก็เริ่มชะลอตัวลงเรื่อยๆ
จนกลายเป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวน้อยกว่าไทยในที่สุด
เกิดอะไรขึ้นกับประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกาในช่วงที่ผ่านมา..
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ ซีรีส์บทความ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอน แอฟริกาใต้
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
หนึ่งในปัญหาที่กัดกร่อนเศรษฐกิจของแอฟริกาใต้มาตลอดคือ
“ปัญหาความเหลื่อมล้ำของประชากร”
แอฟริกาใต้เป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ในระดับสูง
โดยมีค่า Gini coefficient อยู่ที่ 63 ซึ่งสูงที่สุดในโลก
ความเหลื่อมล้ำของประชากรในประเทศนี้มีสาเหตุหลักมาจากนโยบายการปกครองที่เรียกว่า
นโยบายการแบ่งแยกสีผิว (Apartheid)
นโยบายนี้เริ่มตั้งแต่สมัยที่แอฟริกาใต้ยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี ค.ศ. 1948
โดยให้สิทธิต่างๆ แก่คนผิวขาว ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยของประเทศ
ที่อยู่อาศัยของประชาชนจะถูกจัดแบ่งแยกกัน หลายคนถูกบังคับให้โยกย้ายถิ่นฐาน
คนผิวดำซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ จะได้รับการศึกษา การรักษาพยาบาล และการขนส่งสาธารณะด้อยกว่าคนผิวขาว
นโยบายนี้ถูกประท้วงต่อต้านมาโดยตลอด จนถูกยกเลิกไปในปี ค.ศ. 1994
โดยประธานาธิบดีผิวดำคนแรก ผู้ได้รับการเลือกตั้ง คือเนลสัน แมนเดลา
แต่สิ่งที่นโยบายนี้ทิ้งไว้
ได้ทำให้ประชากรผิวดำจำนวนไม่น้อยขาดโอกาสทางการศึกษา และการเข้าถึงระบบสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพ
ประชากรทั้งประเทศ 58 ล้านคน เป็นผู้ติดเชื้อ HIV สูงถึง 7.7 ล้านคน
อัตราการติดเชื้อ HIV ในประชากรอายุ 15-49 ปี มีสูงถึง 20.4%
คนกลุ่มนี้คือวัยเจริญพันธุ์และกำลังแรงงานที่สำคัญของประเทศ
แต่ความเหลื่อมล้ำทำให้ผู้ติดเชื้อจำนวน 38% ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาต้าน HIV
ซึ่งส่วนใหญ่คือคนผิวดำ
การขาดโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิต นำมาสู่การขาดโอกาสที่ดีในการทำงาน
อัตราว่างงานของแอฟริกาใต้จึงอยู่ในระดับสูงมาโดยตลอด
ปี 2010 อัตราว่างงาน อยู่ที่ 24.7 %
ปี 2018 อัตราว่างงาน อยู่ที่ 27.0 %
เมื่ออัตราว่างงานอยู่ในระดับสูง สิ่งที่ตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ปัญหาอาชญากรรม
แอฟริกาใต้มีปัญหาอาชญากรรมสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก
โดยในปี 2018 ทั่วประเทศมีคดีจี้ปล้นรถยนต์วันละ 44 คดี
มีคดีฆาตกรรมเกิดขึ้นทุกวัน วันละ 57 คดี
ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2017 ถึง 6.9%
อาชญากรรมทำให้บริษัทต่างชาติที่จะเข้ามาลงทุน
ต้องมีค่าใช้จ่ายที่สูงในการรักษาความปลอดภัย
การลงทุนจากบริษัทต่างชาติมายังแอฟริกาใต้จึงไม่เติบโตมากนัก
เช่นเดียวกับภาคการท่องเที่ยวซึ่งเป็นรายได้สำคัญ และจ้างงานเป็นสัดส่วน 9.5% ของการจ้างงานทั้งหมด
แอฟริกาใต้มีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย ทั้งชายหาด ซาฟารี และเมืองประวัติศาสตร์
แต่ปัญหาอาชญากรรมเป็นปัจจัยสำคัญ
ที่ทำให้การท่องเที่ยวของแอฟริกาใต้ไม่เติบโตเท่าที่ควร
เมืองท่องเที่ยวหลักอย่างเคปทาวน์ติดอันดับเมืองที่มีคดีฆาตกรรมสูงเป็นอันดับที่ 11
ของโลก ในปี 2018
นอกจากปัญหาที่เกิดจากความเหลื่อมล้ำและอาชญากรรม
ปัญหาเรื้อรังมาเป็นระยะเวลานานของประเทศแห่งนี้ คือ ภาระหนี้ของรัฐบาลที่สูงขึ้นเรื่อยๆ
โดยมีสาเหตุสำคัญมาจากการที่รัฐบาลต้องอุ้มรัฐวิสาหกิจที่มีหนี้สะสมมหาศาล
หากเป็นรัฐวิสาหกิจทั่วไป รัฐบาลอาจปล่อยให้ล้มละลาย
แต่รัฐวิสาหกิจแห่งนี้ อยู่ในสถานะใหญ่เกินกว่าจะล้ม (Too Big to Fail)
เพราะรัฐวิสาหกิจนี้เป็นผู้ผลิตกระแสไฟฟ้า 95% ของทั้งประเทศ บริษัทนี้มีชื่อว่า Eskom
รู้หรือไม่ว่า ตั้งแต่ปี 2007 แอฟริกาใต้ประสบปัญหาขาดแคลนไฟฟ้าครั้งใหญ่มาแล้วถึง 3 ครั้ง
Eskom ประสบปัญหาหลักคือ ขาดการพัฒนาแหล่งผลิตไฟฟ้าแห่งใหม่
เพราะไม่สามารถสร้างโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ได้หากไม่ได้รับอนุญาตจากรัฐบาล
จึงทำให้มีค่าใช้จ่ายที่สูงในการบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าเก่า
การขาดความคล่องตัวในการบริหาร ทำให้ไม่สามารถจัดการวัตถุดิบ เช่น ถ่านหิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนทำให้กำลังการผลิตลดลง
บวกกับการที่รัฐบาลไม่ได้สนับสนุนให้มีผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน
เมื่อความต้องการไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้นจากการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม
แต่กำลังการผลิตจาก Eskom ไม่เพียงพอ ผลที่ตามมาคือการขาดแคลนไฟฟ้าทั่วประเทศ
ค่าบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าเก่าหลายแห่ง โดยเฉพาะโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซึ่งมีค่าบำรุงรักษาสูง
รวมถึงการต้องใช้งบประมาณสร้างโรงไฟฟ้าแห่งใหม่
ทำให้ Eskom ประสบปัญหาหนี้เสียสะสมคิดเป็นมูลค่าสูงถึง 440,000 ล้านแรนด์
หรือคิดเป็นเงินไทยเท่ากับ 910,000 ล้านบาท
นอกจากนั้น แอฟริกาใต้ยังมีปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ทำให้ค่าเงินแรนด์ของแอฟริกาใต้อ่อนค่าลงเรื่อยๆ
ปี 2011 เงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ มีค่าเท่ากับ 7.05 แรนด์
ปี 2019 เงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ มีค่าเท่ากับ 14.62 แรนด์
สกุลเงินแรนด์ที่อ่อนค่า
ทำให้ขนาดเศรษฐกิจในสกุลดอลลาร์สหรัฐของแอฟริกาใต้มีขนาดลดลง
และภาระหนี้ในสกุลต่างประเทศเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ
ในขณะที่ภาคการส่งออกกลับทรงตัว
และเม็ดเงินลงทุนจากต่างประเทศ ไม่เติบโตมากนัก
เนื่องจากปัญหาอาชญากรรม การขาดแรงงานที่มีการศึกษา และภาวะขาดแคลนไฟฟ้า
เศรษฐกิจของแอฟริกาใต้จึงค่อยๆ เติบโตช้าลง
จนกลายเป็นประเทศที่คนมีรายได้ต่อหัวน้อยกว่าคนไทยในที่สุด..
โครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นอย่างกระแสไฟฟ้า
ความเหลื่อมล้ำของการเข้าถึงการศึกษา
อาชญากรรมที่สูง
การดำเนินนโยบายของรัฐที่ผิดทาง
และ สุดท้ายคือเสถียรภาพของค่าเงิน
เป็นปัญหาสำคัญที่บั่นทอนเศรษฐกิจของประเทศแอฟริกาใต้
นอกจากแอฟริกาใต้ ทวีปแอฟริกายังมีอีกประเทศหนึ่งที่ประสบปัญหาคล้ายคลึงกัน
ทั้งที่ประเทศนี้มีแหล่งน้ำมัน ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์สำคัญของการขนส่ง
มีแหล่งท่องเที่ยว และเป็นหนึ่งในแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ของโลก
และดินแดนนี้เคย “รวย” กว่าไทย 1.5 เท่า
ประเทศที่กล่าวถึงคือ “สาธารณรัฐอียิปต์”..
ติดตาม ซีรีส์ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอนต่อไปได้ในสัปดาห์หน้า
โหลดแอป Blockdit เพื่ออ่านซีรีส์ตอนก่อนหน้านี้ ได้ที่ Blockdit.com/download
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
แหล่งรวมความรู้มากมาย
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
References
-https://www.statista.com/…/ranking-of-the-20-countries-wit…/
-https://www.worldfinance.com/…/the-problems-are-mounting-fo…
-https://www.statista.com/…/unemployment-rate-in-south-afri…/
-https://www.avert.org/…/hiv…/sub-saharan-africa/south-africa
-https://www.statista.com/…/south-africa-budget-balance-in-…/
-https://www.indexmundi.com/…/south-…/current-account-balance
-https://www.fin24.com/…/sa-has-a-sovereign-debt-problem-its…
-https://www.pdmo.go.th/th/public-debt/debt-outstanding
-https://tradingeconomics.com/south-a…/government-debt-to-gdp
-https://www.bloomberg.com/…/bailouts-to-push-south-africa-s…
-https://www.resbank.co.za/…/05Crowding%20out%20–%20diagnosi…’s%20stubborn%20current%20account%20deficit%20–%20January%202018.pdf
-https://tradingeconomics.com/south-a…/current-account-to-gdp
hiv rate 在 藥學人生 - Pharmalife Facebook 的最佳解答
在臺灣,卡氏肺囊蟲肺炎 (PCP) 患者在第一線藥物 Baktar (trimethoprim-sulfamethoxazole) 治療失敗後,其他替代選擇用藥往往不易取得。大約三年前,也曾與朋友討論過 echinocandins 這類藥物作為替代或救援治療的可能性。
其學理的機轉是 Pneumocystis jirovecii 的細胞壁上同樣有 beta-1,3-D-glucan 這個 target 可以被 echinocandins 類藥物攻擊,而早年也有零星的 case report 與 case series 指出,在血液腫瘤科病人或是移植病人,在 Baktar 治療失敗後,以 caspofungin 作為替代治療成功的經驗。
那麼,當 PCP 侵襲的對象換成是 HIV 感染者,且其無法耐受 Baktar,或是對 Baktar 治療反應不佳時,我們是否能用 echinocandins 作為救援治療呢?之前相關的實證資料並不多,而最近,臺灣 HIV 研究團隊在 AIDS journal 發表了在台灣的研究成果:
▲ 研究設計:multi-center, retrospective cohort study
▲ 研究對象:2013/08 - 2018/04 期間,HIV 感染者,併有 PCP 感染,因對 Baktar 有使用禁忌、無法耐受、效果不彰而使用 echinocandins >48 h 者。
該研究共收納 34 人,其中 2 人因對 Baktar 有使用禁忌故未曾接受Baktar治療,餘下的 32 人有 6 位繼續併用 Baktar,5 位併用 clindamycin and/or dapsone,剩下 21 位則使用 echinocandins monotherapy。
▲ 受試者資料:
☞ median CD4: 27 cells/mm^3 (我想寫個慘字..)
☞ median plasma HIV viral load: 5.2 log10 copies/mL
☞ 多數為 moderate-to-severe PCP (24/34, 70.6%)
☞ Echinocandins 使用分布:anidulafungin (61.8%), caspofungin (20.6%), and micafungin (11.8%).
☞ 在轉換成 echinocandins 前暴露 Baktar 的中位數:9.0 days
▲ 治療成效:
☞ All cause mortality: 7/24 (20.6%)
☞ PCP-related in-hospital mortality: 5/34 (14.7%)
-----
☞ All cause mortality in mild PCP: 0%
☞ All cause mortality in moderate-severe PCP: 7/24 (29%)
-----
☞ 對第一線 Baktar 治療無效者,其死亡率會比經 Baktar 治療有效者還高,但未達顯著差異 (44.4% vs. 12.0%; HR, 4.25; 95% CI 0.95-19.01; p=0.06),我想這有可能是 sample size 的關係~
-----
☞ Echnocandins monotherapy 組於 in-hospital mortality rate 與 echinocandins + Baktar 組並無顯著差異 (17.4% vs. 16.7%)。
-----
☞ Echinocandins 的安全性佳,僅有一位使用 caspofungin 者因懷疑肝炎而停止使用,並在轉用 anidulafungin 後肝功能得到改善。
##
一直以來,Baktar 累積了非常多的資料,讓它在治療 PCP 具有無可撼動的首選地位,當然這篇研究也不是拿來 echinocandin 來挑戰 Baktar 的。
這篇研究雖然囿於 sample size 不大,而且是 retrospective cohort study (基於 HIV 病人並不容易收案,能跨院收納到這樣的人數實屬不易),但有了這些珍貴的本土資料,相信會讓許多臨床照護者更有信心的使用這些 candin 來作為 HIV/PCP infection 的替代選擇,嘗試為病人多爭取一些治療機會。
謝謝研究團隊~
――――
Echinocandins as alternative treatment for HIV-infected patients with Pneumocystis pneumonia
doi: 10.1097/QAD.0000000000002207
――――
Baktar 治療 PCP 失敗後
你... 還願意換 echinocandin 嗎?
#滅PCP #沒有禁語 #貼一張保平安
#聽說符咒產生器的圖可以避免盜印
hiv rate 在 HIV & AIDS Trends and U.S. Statistics Overview 的相關結果
HIV incidence declined 8% from 2015 to 2019. In 2019, the estimated number of HIV infections in the U.S. was 34,800 and the rate was 12.6 (per 100,000 people). ... <看更多>
hiv rate 在 Basic Statistics | HIV Basics | HIV/AIDS | CDC 的相關結果
An estimated 1,189,700 people in the United States c had HIV at the end of 2019, the most recent year for which this information is available. Of those people, ... ... <看更多>
hiv rate 在 HIV - World Health Organization (WHO) 的相關結果
Globally, 38.4 million [33.9–43.8 million] people were living with HIV at the end of 2021. An estimated 0.7% [0.6-0.8%] of adults aged 15–49 years worldwide are ... ... <看更多>