บราซิล ประเทศที่มีพร้อมทุกอย่าง แต่ยังไปไม่ถึงจุดหมาย / โดย ลงทุนแมน
ประเทศที่เป็นแชมป์ฟุตบอลโลก 5 สมัย มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลก
และมีประชากร 220 ล้านคน มากเป็นอันดับ 5 ของโลก เช่นกัน..
ด้วยพื้นที่ 8.5 ล้านตารางกิโลเมตร เกือบเท่าประเทศจีน
บราซิลจึงมีเขตเกษตรกรรมกว้างใหญ่ไพศาล ที่ให้ผลผลิตทั้งถั่วเหลือง กาแฟ และอ้อย
ซึ่งบราซิลล้วนส่งออกผลิตผลเหล่านี้เป็นอันดับ 1 ของโลก
บราซิลยังมีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย
ทั้งเหล็ก ทองแดง น้ำมัน และป่าไม้ แม่น้ำสายใหญ่ที่มีปริมาณน้ำมหาศาลก็สามารถนำมาผลิตกระแสไฟฟ้าป้อนให้กับภาคครัวเรือนและอุตสาหกรรมในราคาถูก
จากทั้งหมดที่กล่าวมา ดูเหมือนว่า ไม่ใช่เรื่องยากเลยที่บราซิลจะก้าวขึ้นเป็นประเทศรายได้สูง และถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว
เมื่อปี 2011 ชาวบราซิลมี GDP ต่อหัวเป็น 2.4 เท่า ของคนไทย
คนบราซิล มี GDP ต่อหัว 397,400 บาท
ในขณะที่ชาวไทยมี GDP ต่อหัวเพียง 164,800 บาท
แต่เรื่องราวกลับไม่เป็นเช่นนั้น หลังจากปี 2011 GDP ต่อหัวของบราซิลก็ไปไม่ถึงจุดนั้นอีกเลย
แล้วยังลดลงเรื่อย ๆ จากวิกฤติเงินเฟ้อ และถูกซ้ำเติมด้วยวิกฤติการระบาดของโควิด 19 อย่างหนักหน่วงในปี 2020
ปี 2020 IMF คาดการณ์ว่า GDP ต่อหัวของชาวบราซิลจะเหลือเพียง 193,500 บาท
ซึ่งน้อยกว่าชาวไทยที่คาดว่าจะมี GDP ต่อหัว 218,900 บาทไปแล้ว..
อย่างไรก็ตาม วิกฤติครั้งนี้ไม่ใช่ครั้งแรกของบราซิล
เพราะประเทศนี้ผ่านวิกฤติใหญ่ ๆ มาถึง 3 ครั้ง
เส้นทางของบราซิลเป็นอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
เพื่อทำความเข้าใจเรื่องราวทั้งหมด บทความนี้จะขอเริ่มเล่าเรื่องราวนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นของประเทศบราซิล..
จักรวรรดิบราซิลก่อตั้งในปี ค.ศ. 1822 โดยจักรพรรดิเปดรูที่ 1 เจ้าชายโปรตุเกสที่หนีการยึดครองของจักรพรรดินโปเลียนในยุโรปมาตั้งอาณาจักรใหม่ที่อาณานิคมบราซิล
และแยกขาดจากโปรตุเกสอย่างสมบูรณ์
ด้วยภูมิประเทศทางตอนใต้ของบราซิลที่เป็นที่ราบสูงขนาดใหญ่ และภูมิอากาศที่เหมาะสมกับการปลูกกาแฟ เศรษฐกิจของบราซิลจึงรุ่งเรืองมาจากการเป็นแหล่งปลูกกาแฟที่สำคัญของโลก โดยลูกค้าส่วนใหญ่คือประเทศในยุโรปตะวันตก
เมื่อบราซิลเปลี่ยนการปกครองมาเป็นสาธารณรัฐ ในปี ค.ศ. 1889
การขยายพื้นที่ปลูกกาแฟอย่างมหาศาลทางตอนใต้ก็ดึงดูดแรงงานทั้งชาวอิตาลีและชาวญี่ปุ่น ให้มาตั้งรกรากนับล้านคน โดยในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 บราซิลส่งออกกาแฟคิดเป็นสัดส่วน 76% ของโลก
ไม่ใช่เพียงผู้ส่งออกกาแฟรายใหญ่ บราซิลยังส่งออกทั้งยางพารา น้ำตาล และถั่วเหลือง อีกด้วย
อย่างไรก็ตาม ความมั่งคั่งนี้กระจุกอยู่กับชนชั้นนำเจ้าของไร่ ซึ่งล้วนเป็นลูกหลานของคนผิวขาวชาวโปรตุเกส ในขณะที่ประชากรส่วนใหญ่ซึ่งเป็นผู้อพยพล้วนมีฐานะยากจน
ซึ่งความเหลื่อมล้ำนี้ ก็ยังกลายเป็นมรดกตกทอดมาจนถึงยุคปัจจุบัน
แต่สิ่งที่น่ากลัวกว่าความเหลื่อมล้ำ
คือในระหว่างที่ประเทศในยุโรปตะวันตกและสหรัฐอเมริกาเริ่มปฏิวัติอุตสาหกรรม เหล่าชนชั้นนำบราซิลซึ่งมีฐานะร่ำรวยเหล่านี้ กลับเลือกที่จะนำเข้าสินค้าอุตสาหกรรม แทนที่จะนำเงินมาลงทุนสร้างโรงงานเอง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้อุตสาหกรรมในบราซิลพัฒนาช้ากว่าของยุโรป
แล้ววิกฤติครั้งแรกก็เริ่มขึ้น..
หลังจากสินค้าเกษตรอย่างเช่น กาแฟ นำความมั่งคั่งมาให้บราซิลเรื่อยมา
แต่เมื่อถึงช่วงทศวรรษ 1930s ซึ่งเป็นยุคหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
ความต้องการกาแฟในยุโรปก็ลดลงมาก กระทบต่อการส่งออกกาแฟของบราซิลอย่างหนัก
ความวุ่นวายทางเศรษฐกิจ ทำให้ฝ่ายทหารเข้ามายึดอำนาจในปี ค.ศ. 1930
และปกครองประเทศยาวนาน 16 ปี
บราซิลประสบปัญหาขาดแคลนสินค้าอุตสาหกรรมที่ต้องนำเข้าจากยุโรป
จึงเริ่มนโยบายตั้งโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อผลิตทดแทนการนำเข้า
โดยเริ่มจากอุตสาหกรรมอาหารและสิ่งทอ โดยรัฐบาลพยายามลงทุนเองพร้อมกับกระตุ้นการบริโภคอย่างเต็มที่
ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ปี ค.ศ. 1946 บราซิลมีการเลือกตั้งรัฐบาลพลเรือนอีกครั้ง
เศรษฐกิจที่เคยย่ำแย่ เริ่มกลับมาดีขึ้น โดยมีปัจจัยสำคัญ ก็คือ ประเทศยุโรปที่ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มทำให้มีความต้องการสินค้าเกษตรและแร่ธาตุจากบราซิลมากขึ้น
เศรษฐกิจของบราซิลเติบโตอย่างสดใส เมื่อประชาชนมีรายได้มากขึ้น ก็เป็นช่วงเติบโตของวงการลูกหนังบราซิล และเป็นช่วงเวลาแจ้งเกิดของนักฟุตบอลระดับตำนานของบราซิล คือ เปเล่
ที่พาทีมชาติบราซิลครองแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1958
ท่ามกลางความสดใส แต่ปัญหาที่รัฐบาลทิ้งเอาไว้ คือ การอุ้มภาคอุตสาหกรรมที่ทดแทนการนำเข้า
นโยบายเช่นนี้เหมือนจะได้ผลดีในช่วงแรก ๆ แต่การพัฒนาที่ล่าช้าของภาครัฐ
กลับทำให้โรงงานเหล่านี้ไม่สามารถแข่งขันได้ในระยะยาว หลายอุตสาหกรรมล้วนมีเทคโนโลยีที่ล้าหลัง และบุคลากรที่มากเกินความจำเป็น
ท้ายที่สุด การอุ้มภาคอุตสาหกรรมก็ต้องแลกมาด้วยภาระหนี้ก้อนโต
เมื่อรัฐบาลหมดหนทางที่จะหาเงิน สุดท้ายก็หันไปพึ่ง IMF
บราซิลเป็นหนึ่งในประเทศที่กู้ยืมเงินจาก IMF มากที่สุดในโลก
การเป็นหนี้ IMF แลกมาด้วยนโยบายรัดเข็มขัดทางเศรษฐกิจจนทำให้เกิดความวุ่นวาย
แล้วฝ่ายทหารก็เข้ามายึดอำนาจอีกครั้งในช่วงปี ค.ศ. 1964 - ค.ศ. 1985
แล้วก็เหมือนเดิม.. รัฐบาลทหารพยายามลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน กระตุ้นการลงทุนภาคเอกชน
และควบคุมค่าจ้างแรงงาน มาตรการเหล่านี้ทำให้เศรษฐกิจบราซิลขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
แต่แฝงไปด้วยปัญหาเชิงโครงสร้าง อย่างเช่น การกระจายรายได้ย่ำแย่ลง และค่าแรงที่ถูกควบคุมให้คงที่ ในขณะที่ราคาสินค้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
จากจุดเริ่มต้นนับตั้งแต่ก่อตั้งประเทศ ความเหลื่อมล้ำที่สั่งสมมายาวนาน
ทำให้บราซิลกลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของอเมริกาใต้..
โชคร้ายที่บราซิลในช่วงเวลานั้นยังไม่ค้นพบแหล่งน้ำมัน และเป็นผู้นำเข้าน้ำมันรายใหญ่
เมื่อมีการขึ้นราคาน้ำมันครั้งใหญ่ในช่วงทศวรรษ 1970s ประกอบกับผลผลิตกาแฟลดลงจากสภาพอากาศหนาวจัด ทำให้เศรษฐกิจหยุดชะงัก รัฐบาลจึงต้องกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยการจ้างงานเพิ่ม โดยการเพิ่มจำนวนข้าราชการและทหาร
เมื่อรัฐบาลพลเรือนปกครองประเทศอีกครั้ง ในปี ค.ศ. 1985
บราซิลมีกองทัพที่ใหญ่โต มีข้าราชการเกินความจำเป็นเกือบ 2 เท่า
และมีหนี้สินต่างประเทศมากที่สุดในโลก
ภาระค่าใช้จ่ายมหาศาล ทำให้รัฐบาลบราซิลขาดดุลงบประมาณอย่างหนัก และประสบปัญหาขาดสภาพคล่องในการชำระหนี้คืน จึงมีการพิมพ์เงินออกมาเพื่อแก้ปัญหานั้น
สุดท้าย ก็นำมาสู่ภาวะเงินเฟ้ออย่างหนัก หรือ Hyperinflation
ในช่วง ทศวรรษ 1990s โดยเฉพาะในปี ค.ศ. 1994 ที่เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นถึง 1,000%
จนกลายเป็นวิกฤติทางการเงินครั้งใหญ่ของประเทศ เป็นครั้งที่ 2
ภาวะเงินเฟ้อสร้างความกังวลให้กับนักลงทุนต่างชาติ จนเงินทุนไหลออกจากบราซิลอย่างรวดเร็ว สกุลเงิน Real ของบราซิลอ่อนค่าลงอย่างหนักและรวดเร็ว
มาถึงครั้งนี้ หลายคนอาจคิดว่า บราซิลเดินทางมาถึงหายนะแล้ว
แต่เศรษฐกิจบราซิลก็กลับมาได้อีกครั้ง คราวนี้ไม่ใช่เพราะยุโรป แต่เป็น “จีน”
การเติบโตของเศรษฐกิจจีนในช่วงทศวรรษ 1990s - 2000s ทำให้มีความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์มหาศาล เนื่องจากบราซิลเป็นผู้ส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์รายใหญ่ ทั้งแร่ธาตุอย่างเหล็ก ทองแดง ไปจนถึงสินค้าเกษตรอย่าง น้ำตาล ข้าวโพด และกาแฟ
การเติบโตของเศรษฐกิจจีน มาพร้อมกับความต้องการสินค้าจากบราซิลที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก
จนผลักดันให้เศรษฐกิจของบราซิลเติบโตเป็นจรวด
รัฐบาลบราซิลพยายามปฏิรูปการเงิน ปรับเปลี่ยนนโยบายอุตสาหกรรมมุ่งเน้นการส่งออกมากขึ้น จน GDP ของบราซิลเติบโตจนอยู่อันดับ 7 ของโลกในปี 2010
และอยู่ในกลุ่ม 4 ประเทศกำลังพัฒนาที่มีศักยภาพสูง หรือ BRIC
ซึ่งประกอบด้วย บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน
เมื่อผู้คนมีรายได้มากขึ้น วงการฟุตบอลของบราซิลก็กลับมาโดดเด่นอีกครั้ง
บราซิลได้เป็นเจ้าภาพจัดมหกรรมฟุตบอลโลกในปี 2014
และมหกรรมโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งแรกของทวีปอเมริกาใต้ในปี 2016
ทุกอย่างเหมือนจะไปได้ดี แต่เมื่อราคาสินค้าโภคภัณฑ์ลดลงอย่างมากจากความต้องการของจีนเริ่มอิ่มตัวและลดลง บราซิลซึ่งส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์มากกว่า 60% ของสินค้าส่งออกทั้งหมด
และพึ่งพาจีนถึง 1 ใน 3 ของการส่งออก ก็ต้องประสบกับวิกฤติอีกครั้ง
เมื่อรวมกับการคอร์รัปชันซึ่งเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมบราซิลมานาน
และการใช้เงินเกินตัวกับการเป็นเจ้าภาพมหกรรมกีฬา ไปจนถึงการทุจริตของรัฐบาลในรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ รัฐบาลจึงจำเป็นต้องตัดลดงบประมาณสวัสดิการ และทำการปรับขึ้นภาษี
ซึ่งทำให้ประชาชนไม่พอใจจนออกมาประท้วงเป็นจำนวนมาก
ในปี 2020 เศรษฐกิจบราซิลที่เปราะบางอยู่แล้ว ถูกซ้ำเติมด้วยการระบาดของโควิด 19
ความเหลื่อมล้ำที่มีมากในสังคมบราซิล ทำให้คนยากจนจำนวนมากที่ป่วยด้วยโรคนี้
ไม่ได้รับการดูแลรักษาที่ดี บราซิลมีผู้เสียชีวิตจากโควิด 19 เกือบ 280,000 คน
ซึ่งสูงเป็นอันดับ 2 ของโลก
การระบาดซ้ำเติมกิจกรรมทางเศรษฐกิจของบราซิลอย่างหนัก
จนปี 2020 GDP ของบราซิลหดตัวรุนแรงมากที่สุดในรอบ 120 ปี นับตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20
ไม่มีใครรู้ได้ว่า ท้ายที่สุดแล้ว เศรษฐกิจของประเทศที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกาใต้จะเป็นอย่างไร
จะตามรอยเพื่อนบ้านอย่างเวเนซุเอลา และอาร์เจนตินาหรือไม่ ?
เรื่องราวอันยาวนานของเศรษฐกิจบราซิลเป็นบทเรียนที่น่าสนใจ
ตราบใดที่ประเทศยังเน้นการพึ่งพาสินค้าโภคภัณฑ์ จนละเลยการพัฒนาอุตสาหกรรม
มีการคอร์รัปชัน และการใช้เงินเกินตัวของภาครัฐ
ต่อให้ประเทศจะมีพร้อมทุกอย่าง มีทรัพยากรมหาศาลมากแค่ไหน
สุดท้าย ความได้เปรียบเหล่านั้น มันก็อาจไม่ช่วยอะไรเลย..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.PCAP.CD?locations=BR-TH
-https://www.imf.org/en/Publications/WEO/weo-database/2020/October/weo-report
-https://ditp.go.th/contents_attach/81555/81555.pdf
-http://www.econ.puc-rio.br/uploads/adm/trabalhos/files/td492.pdf
-https://www.globaltimes.cn/content/858786.shtml
-http://www.worldstopexports.com/brazils-top-10-exports/
-https://www.worldbank.org/en/country/brazil/overview
imf database 在 君子馬蘭頭 - Ivan Li 李聲揚 Facebook 的最佳貼文
[Excel嘅嘢,十分化學]英國大幅計少確診人數,因為用Excel.聽聞科技人好驚訝,咁大型嘅組織居然只係用Excel做Database—我勸啲科技人就君子遠庖廚,正所謂To retain respect for laws and sausages, one must not watch them in the making。好多你以為好堅嘅大型組織嘢,其實都係好流的。詳情就不講咁多啦。
話說英國計少1.6萬宗確診,十分兒戲(換著香港?)。原因?因為用Excel。(https://bityl.co/3opB)。詳細啲?因為用舊版Excel,而限咗6萬行,食data時冇發現,就會冇晒後面嗰啲
不過,Execl出事呢啲嘢,極之常見。先講一個經典例子,Carmen Reinhart 同 Kenneth Rogoff,極之出名嘅學者,前者仲係IMF首席經濟師,兩個成日寫文。其中一本最出名嘅著作係This Time Is Different: Eight Centuries of Financial Folly(https://amz.run/3dRJ)
佢地其中一篇論文,Growth in a Time of Debt,就出事了。畀個讀緊博士嘅小朋友發現data有問題,仲要係影響成篇論文嘅結論。用New York Magazine(唔係New Yorker)嘅講法,等於the academic equivalent of a D-league basketball player dunking on LeBron James(https://bityl.co/3oqq).原因?又係因為Excel,計total漏左5行。咁化學?係咁上下,亦可能因為作者已經神級—但正係因為太神級,就有啲後來者會想 on 你份嘢再加工做啲嘢,咪會發現你錯
實情,Excel係好易出事的,唔止好化學,仲好生物。特別在基因組(genomics)嘅生物論文,就特別多錯。有個研究(*)發現,2005-2015年Genome Biology期刊嘅論文,有附送supplementary data嘅當中,25%都係 Excel有錯的!四份一喎!科學期刊喎!當然,唔一定好似Carmen Reinhart 同 Kenneth Rogoff嗰份咁搞到要砍掉重練嘅
點解寧舍係genomics嘅論文容易出事?因為…..有隻基因叫做 Septin 2,簡寫係SEPT2.正如有隻叫做membrane associated ring-CH-type finger 1(唔好問我係乜),簡稱係MARCH1—咁你估到問題了,入到去Excel,就會變咗日期……
另外,有啲識別碼(again,唔好問我係乜),例如2310009E13,就會畀Excel當咗係……scientific notation (而家中學有冇教?),2.310009 x 10^13
結果?結果搞到啲基因要改名。之前Personal Page都貼過(https://bityl.co/3osI)(到底我睇埋啲乜嘢文?)。例如MARC1就改名做MARCHF1,SEPT2就叫做SEPTIN2
其實最有趣嘅一個發現係:Genome Biology嘅論文,每年增長大約係3%—但有Excel錯誤嘅呢?就每年增長15%!所以見到係有傳染性,亦可能大家都站在前人肩膊上,一個錯就個個都用嗰個Excel 跟住錯,所以要及早防範。
(*)希望呢個研究本身個Excel冇錯
———————————————————
Ivan Patreon 狼耳街華人,一星期至少三篇港美市場評點,其他免費好文推介,每日一圖,仲有FB Page post summary.一個月一舊水唔使,開張兩個月已 600人訂,仲有兩篇免費試睇:https://bit.ly/31QmYj7
[收費短片第十擊]人民幣升值受惠股,美股二線科技股揭秘
課程資訊:https://homebloggerhk.com/course_detail/?code=CC010
內容:
*軟件股IPO狂潮
*買平台股好過
*人民幣強勢買咩好?
本星期內特惠售價: $80
課程編號:CC010
觀看期限:首次播放後一星期及限每影片4次
客服whatsapp: 63832145
imf database 在 媽媽監督核電廠聯盟 Facebook 的最佳解答
政府短視近利的補貼,造成化石燃料「真便宜」的錯覺!(10/07/2019 The News Lens 關鍵評論)
我們想讓你知道的是
目前至少有40個國家啟動或減少對對化石燃料的補貼,其中甚至包括以販賣石油致富的國家,因為這樣才能引導資金與國家資源走向對的方向,反觀台灣,目前卻未能聽見政府的改革承諾。
文:350台灣
「再生能源不靠政府補貼根本無法和傳統能源競爭!」每當有人倡議提高再生能源使用比例,就有另一派反動的聲音宣稱再生能源有多昂貴,並拿出政府鉅額的補貼證據予以強烈抨擊。但是,事實真是如此嗎?對再生能源的補助自然是指證歷歷,但鮮少有人去探討的是,我們的政府對傳統能源「化石燃料」給予了多少補貼。本篇文章將帶讀者一探政府的分配政策為何限制能源發展,進而製造化石燃料「便宜」的錯覺。
什麼是化石燃料補貼?
在開始進入討論之前,我們得先釐清何謂「補貼」?最簡單的解釋,就是政府透過授予利益干預,使該產品或服務的市場價格更低廉,更容易在市場機制下生存下來。以化石燃料補貼而言,就是政府介入、給予利益,讓化石燃料更便宜。
但具體來說政府如何「干預」、如何「給予利益」呢?根據世界貿易組織(WTO)之定義,補貼是由政府或是政府的資助單位提供財務上的好處,以達到價格支持或維持的效果。簡言之,就是「政府」輸送「利益」給特定的人或團體。「政府」的定義可以很寬泛,從中央政府、地方政府,乃至於國營事業等政府持股或資助團體,均可視為「政府」的一種;另方面「利益」除了直接撥款之外,免除納稅義務、授予特許權利等等,都因為給不同單位帶來收益上的好處,因此均可視為「利益」的一種。舉例來說,授予特定商業單位開發自然資源的權利,其自然資源之市價即可視為政府給予該單位的補貼金額。
基上述而顧名思義,「化石燃料補貼」就是政府透過各種形式,給予化石燃料產業的補貼,此舉將能讓化石燃料業者和使用者都享有好處。舉例來說,當國際油價上漲時,政府祭出緩漲補貼,讓油價下降,就能讓汽車駕駛享有低油價,同時也讓業者獲得足夠利潤反映進口成本。然而看似美事一樁的補貼政策,卻隱藏著嚴重的危機,即政府為了短期民意支持而選擇忽略,罔顧全民利益。
化石燃料補貼,有錢的人拿得最多
首先,我們不能忘記政府所花的每一分錢,都是你、我的納稅錢。無論在補貼過程中你是否受益,你所獲得的好處也來自於你曾在五月的報稅季中曾付出的代價。當然,過去曾有人主張補貼燃料,能讓貧窮人口維繫基本生計。儘管化石燃料補貼政策仍為各國大量的低收入家戶減低了生活開銷,長期而言,化石燃料補貼對整體社會和貧窮家戶卻是慢性毒藥。
早在2015年,IMF就曾指出:收入前20%的家戶平均比最貧窮的20%家戶,多消費了6倍的化石燃料,因此化石燃料補貼多達80%以上的補貼,仍回饋到最有錢的家戶身上。另方面,針對汽油的補貼,也多達83%,為40%最有錢的家戶所享有。簡言之,化石燃料補貼根本上可能加劇了貧富差距,是非常不具經濟效益的補貼方式——更不要提化石燃料燃燒導致的氣候變遷,貧窮家戶更是首當其衝。
資源有限,不應浪費在化石燃料上
其次,政府的資源有限,每年政府相關部會的預算更是如此,而給予化石燃料的補貼形同壓縮了其他項目的可用資源。2015年的另一份IMF研究指出,2015年全球化石燃料公司每年獲得全球5.3兆美元補貼,占全球GDP的6.5%。台灣在同年包含交叉補貼在內,就補貼了1兆203.5億新台幣在化石燃料上,將近當年GDP的14%——相比我國當年GDP約為16兆770億,明顯高於國際平均。
這些補貼嚴重地消耗了國家資源,並加劇了財政赤字。在某些國家,化石燃料補貼佔政府資源的很大比例——有些國家在化石燃料補貼方面的支出,遠高於在健康或教育方面的支出,這不禁讓人好奇,出於什麼邏輯或利益導致了政府採取這種補貼模式?取消補貼不僅能減少貧富差距,也可以大幅改善財政赤字,讓政府投資於衛生、教育或氣候融資等領域。
當然,上述高達1兆的化石燃料補貼,並非完全是政府真正的歲出,其中很大部分是各種無法輕易量化的利益輸送,例如政府允許業者取得市場獨佔地位,來降低某些燃料價格,所幸由IMF在與我國政府合作下調查出了我們究竟給了這些廠商多少好處——這大大地干擾了市場秩序,畢竟究其本質,政府以透過利益輸送,將化石燃料的價格保持在國際價格水平,形同人為地干涉降低了化石燃料產品價格,而對再生能源、節能技術、低碳技術等開發增加更多競爭上的劣勢,更降低了民眾和商家節能減碳的誘因。
沒有白吃的午餐,電價未來得加倍地付
台灣目前火力發電仍占80%以上,更多達97.80%的能源來自進口,面對國際能源價格波動與上漲,我們卻能持續享有低電價,正是因為進口與發電過程中,這些化石燃料的補貼間接促成。但看到這裡,或許有人想問——究竟是什麼政府單位壓低了能源進口成本呢?
長期「低電價」政策下,目前仍由台電承擔虧損。至今,台電公司資產負債表上共有新台幣1.08兆新台幣的借款,其更為台灣目前最大的公司債發行機構。未來,如果透過增資或其他方式填補這個巨大的錢坑,政府仍須舉債,全民仍需埋單,因此每人早已背負至少4萬7千元的負債。而政府不分政黨仍在壓低電價,某些人更試圖營造火力發電相對低價,再生能源顯得昂貴的假象。這些種種都只是變相鼓勵民眾與商家用電,畢竟在目前的規則下,誰的電用得越多,誰能獲得的補貼就越多!
全世界都在撤資,化石燃料補貼終究只是浪費資源
面對這些問題,全球正在過去的十餘年間,形成對化石燃料撤除補貼的共識。2009年的20大經濟體(G20)峰會及亞太經濟合作會議(APEC),首次共同倡議移除無效率的化石燃料補貼,而後的2012年里約永續高峰會(Rio+20),和2015年聯合國制定17項永續發展目標(sustainable development goals)時,化石燃料補貼都屢屢被列為首要國際議題。
目前,至少有40個國家在2015年至2017年期間開始或減少補貼,讓燃料價格回歸市場機制,其中不乏開發中國家,如埃及、印尼、印度、沙烏地阿拉伯、墨西哥等,儘管有些國家甚至是以販賣石油致富的,卻為了引導資金與國家資源走向對的方向,而放棄對化石燃料的縱容。2016年,G7領導人承諾在不遲於2025年消除「低效率化石燃料補貼」,歐盟也逐步取消對無煙煤開採的補貼。
反觀台灣,目前不僅未聽見政府的改革承諾,在2015、2017年陸續被IMF、APEC分別指責在化石燃料投注過多資源,且被指出資源的投注缺乏效益之後,似乎即試圖忽略、掩蓋一切。這些縱容與漠視,導致我國化石燃料的補貼始終沒有斷絕或減少的跡象。這種施政方針,不僅與國際趨勢背道而馳,更是濫用稅金在對社會缺乏效益的補助標地上,阻礙我國永續轉型的機會。
補貼在更好的事物上,才能創造更好的社會
國際永續發展智庫(IISD)的報告指出,目前全球化石燃料產業仍每年接受 3700 億美元的資金補貼,而儘管再生能源蓬勃地在各國發展,每年僅獲得 1000 億美元的投資,若再將10至30%的化石燃料補貼資金,轉投資於再生能源上,將能滿足綠色能源轉型的資金需求;另外,根據IMF針對20個高度補貼化石燃料產業之國家的統計,若將這類補貼金額的30%轉移至潔淨能源,將可減少11~18%的碳排放量;若全面停止化石燃料補貼,更可減少25%的全球碳排放量、將空汙導致的死亡人數減半。對此,聯合國秘書長古特雷斯(António Guterres)表示,資助化石燃料產業,無疑是利用公民繳交的稅金來傷害世界、造成自然災害。
化石燃料補貼的改革,能夠快速促進再生能源發展、守住人類社會的氣候目標,並減少因氣候變遷導致的經濟損失和人民的醫療負擔。不要再把化石燃料視作生活中的理所當然。你所交給政府的稅金,值得用在對你以及下一代更好的事物上。
完整內容請見:
https://www.thenewslens.com/article/125627
參考資料:
IEA fossil fuel subsidies database
https://www.one-tab.com/page/O7uYJJpfTbeyb6GNc-TjJg
《轉給你看》書摘:全球化石燃料補貼改革發展趨勢
https://lowestc.blogspot.com/2018/05/blog-post_18.html
World Energy Outlook
https://www.iea.org/weo/energysubsidies/
Friends of Fossil Fuel Subsidy Reform
http://fffsr.org/reasons-for-reform/
♡