課程簡介
網頁前端設計在現代越來越重要,是許多程式設計師的第一門課程、青壯年轉換職業跑道的門路、平面設計師的必修。此課程會一步一步帶者你走,讓你能夠從頭開始架設屬於你自己的網頁!你不需要有任何的程式設計經驗,也不需要有相關的背景知識。開始學習網頁前端技術,讓你學會一技之長,能夠開啟網頁技術的大門。
在這堂課程結束之後,你將能夠使用:
1 前端網頁技術開發
2 VS Code 操作技巧以及實用熱門Extension
3 HTML5 – HTML5 – 超文件標記語言
4 CSS3 – CSS3 – 階層式樣式表
5 JavaScript – 網頁前端後端程式語言
6 了解DOM, Hoisting, Scope, Closure, Prototype Inheritance, execution context, callbacks, this keyword, bind call apply functions等進階JS觀念與運用
7 Bootstrap
8 Git and GitHub, Source Tree 版本控制
9 Figma – UI/UX設計工具
10 打造有形網站,架構出自己的現代風格網頁
11 將網站架構到雲端主機,讓大家看到你的作品
12 Flexbox開發技術,讓你做RWD事半功倍
13 學習進階前端開發技術,解決你對前端網頁排版的諸多疑惑
https://softnshare.com/html5-css3-z/
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「javascript closure」的推薦目錄:
- 關於javascript closure 在 軟體開發學習資訊分享 Facebook 的最佳解答
- 關於javascript closure 在 BorntoDev Facebook 的精選貼文
- 關於javascript closure 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳貼文
- 關於javascript closure 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
- 關於javascript closure 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於javascript closure 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於javascript closure 在 你懂JavaScript 嗎?#15 閉包(Closure) | Summer。桑莫。夏天 的評價
- 關於javascript closure 在 What is a JavaScript Closure? Learn the how ... - YouTube 的評價
- 關於javascript closure 在 The Beginner's Guide to JavaScript Closure and Its Usages 的評價
- 關於javascript closure 在 How do JavaScript closures work? - Stack Overflow 的評價
- 關於javascript closure 在 google/closure-library - GitHub 的評價
javascript closure 在 BorntoDev Facebook 的精選貼文
🔥 ใครมาสาย JavaScript แล้วยังเลือก Framework / Libs ไม่ได้ซักกะที มาโพสต์นี้ได้เลยย !!
.
กับ 5 Javascript Framework / Libs ที่ฮิตที่สุดในปี 2020 - 2021 ที่ทุกคนห้ามพลาดด <3
.
✅ Angular
.
Angular สร้างและพัฒนาโดย Google เป็น JavaScript framework สำหรับการพัฒนา Front-end ที่เป็นที่นิยมมากเป็นอันดับต้นๆ ด้วยการทำงานแบบ component ทำให้โค้ดที่เขียนออกมาสามารถ reuse ได้ง่ายและเหมาะสมในการทำ SPA ที่สำคัญยังเป็น open-source ด้วยนะ
.
อ่านเพิ่มเติม หรือ เริ่มใช้งานได้ที่นี่ : https://angular.io/
.
✅ React
.
React เป็น open-source JavaScript Library สำหรับการเขียน Front-end ที่เกินขีดความเป็น Library ไปแล้ว React พัฒนาโดย Facebook เหมาะสมในการทำ SPA(single page application) เป็นอย่างยิ่งด้วยการเขียนแบบ Component ที่มีการเก็บแคชในตัวทำให้มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว
.
อ่านเพิ่มเติม หรือ เริ่มใช้งานได้ที่นี่ : https://reactjs.org/
.
✅ Vue.js
.
Vue (อ่านว่า วิว) เป็นอีกหนึ่ง open-source Library สำหรับสาย Front-end ที่เน้นไปที่การพัฒนา View layer ในโมเดล MVC มีน้ำหนักที่เบา แต่ในด้านความสามารถนั้นนับได้ว่าไม่เบาเลย สามารถใช้ทำ SPA ได้ และที่สำคัญใช้งานง่ายบอกเลยว่าลองใช้แล้วจะติดใจ
.
อ่านเพิ่มเติม หรือ เริ่มใช้งานได้ที่นี่ : https://vuejs.org/
.
✅ Google Closure Library
.
Library ที่เกิดขึ้นมาจากเวลาว่างของพนักงาน Google แต่ความเจ๋งของมันนั้นบอกเลยว่ายอดเยี่ยม Library ตัวนี้ได้รวบรวม UI ต่างๆ และความสามารถอีกเพียบ ถ้าอยากรู้ว่าใครใช้ Library นี้บ้าง? ก็คือแอพของ Google นั่นเอง Maps, Docs และ Search ที่เราใช้กันอยู่บ่อยๆ ก็สร้างโดย Library ที่เป็นพื้นฐานของ Library ตัวนี้
.
อ่านเพิ่มเติม หรือ เริ่มใช้งานได้ที่นี่ : https://developers.google.com/closure/library
.
✅ VanillaJS
.
ชื่อของมันอาจจะดูน่ากิน แต่ที่จริงมันไม่ใช่ Framework หรอกนะ VanillaJS หมายถึงการใช้ JavaScript เพียวๆ ในการเขียน บางครั้งเวลาเราเจอปัญหาเราอาจไม่ต้องใช้ Framework อะไรในการแก้ปัญหา หรือบางทีการเชี่ยวชาญในพื้นฐานก็ทำให้เราสามารถใช้ Framework ได้ดีขึ้นด้วยนะ
.
อ่านเพิ่มเติม หรือ เริ่มใช้งานได้ที่นี่ : http://vanilla-js.com/✅
.
"เป็นยังไงกันบ้าง ? ใครใช้ตัวไหน อยู่ทีมไหน มาแสดงตัวกันใต้โพสต์หน่อยเร็วว ^_^"
.
#borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
javascript closure 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳貼文
Functional programming ชื่อไทยคือ “การโปรแกรมเชิงฟังก์ชั่น” ชื่อย่อ FP เป็นแนวคิดหนึ่งของการเขียนโปรแกรม (programming paradigm) ชื่อขึ้นต้นด้วย functional แต่ไม่ได้มีดีแค่ประกาศ function ปุ๊บเสร็จ แล้วเรียกใช้ มันมีเบื้องลึกมากกว่านั้นแน่ๆ
🤔 มันจะต่างจากการเขียนโปรแกรมทีละสเตป ตามลำดับก่อนหลัง มีการวนลูป ที่เน้นแก้ state ของโปรแกรมเป็นหลัก
แต่แนวทาง functional programming จะไม่แก้ state ของโปรแกรมเลย ไม่มีการวนลูบ (ใช้ recursion แทน)
ซึ่งแนวคิดก็ต้องเน้นสร้างฟังก์ชั่นนั่นแหละ แต่หลักสำคัญต้องออกแบบให้หลีกเลี่ยง side-effect (ผลข้างเคียง) ที่จะเกิดต่อ function ตัวเอง และตัวอื่น โดยมีหลักยึด 2 อย่างใหญ่คือ
👉 1) function ที่สร้างขึ้นมา เมื่อมีอินพุตค่าเดิมส่งไปหา (เป็นค่าอากิวเมนต์) ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม function จะรีเทิร์นค่าออกมาเหมือนเดิมทุกครั้ง ...(ไอเดียมาจากฟังก์ชั่นในทางคณิตศาสตร์เลยครับ)
เช่น
func(1); // เรียกครั้งที่ 1 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30
func(1); // เรียกครั้งที่ 2 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
func(1); // เรียกครั้งที่ 3 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
👉 2) function ต้องไม่ไปเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรจำพวก global variable หรือ static variable หรือตัวแปรที่อยู่ข้างนอก function ...เพื่อไม่ให้ function อื่นได้รับผลกระทบ
ถ้า function ที่เราประกาศไว้ มีคุณสมบัติ 2 อย่างที่ว่านี้ ก็จะเรียกว่า pure function (ฟังก์ชั่นบริสุทธ์แท้ๆ) 👌
สำหรับอีกคุณลักษณะหนึ่งที่จะไม่กล่าวถึงไม่ได้เลยก็คือ
👉 3) First-class function และ Higher-order function
คำว่า first-class function มาจาก "first class citizen" ที่หมายถึง "พลเมืองชั้นหนึ่ง" ดังนั้น first-class function จะหมายถึง ฟังก์ชั่นเป็นพลเมืองชั้นหนึ่งจริงๆ เลยนะ
คุณสมบัตินี้ function จะถูกมองเป็นข้อมูลประเภทหนึ่ง ไม่ต่างจากข้อมูลตัวเลข สตริง บูลีน ด้วยเหตุนี้จึงสามารถนำ function ไปกำหนดค่าให้กับตัวแปรยังได้เลย เช่น
x = function(){ .....}
ส่วนคุณสมบัติ Higher-order function:
คุณสมบัตินี้หมายถึง เราสามารถใช้ function ส่งไปเป็นค่าอากิวเมนต์แก่ function ตัวอื่น หรือ function จะรีเทิร์นออกมาจาก function ตัวอื่นออกมาก็ได้ด้วย เช่น
- ส่ง function_A เป็นค่าอากิวเมนต์ไปให้ function_X(function_A);
- จากนั้น function_X() ก็จะสร้าง function_Y แล้วรีเทิร์นมันออกมาได้
😜 ===ประโยชน์ functional programming===
🔥 เอาไปเขียนโปรแกรมโดยไม่มีการวนลูป เช่น ไม่ต้องมานั่งเขียน for … หรือ while… วนลูป เพื่อเข้าถึงข้อมูลโครงสร้างพวก array , list ฯลฯ เป็นต้น
🔥 การทำ currying หมายถึงทำให้ฟังก์ชั่น จากเดิมที่มี parameter หลายตัวให้เหลือแค่ตัวเดียว ด้วยการส่งผลลัพธ์เป็น function ที่รับ Parameter ที่เหลือ ...ใช้เทคนิค closure
🔥 หรือจะทำ function Composition (เอาฟังก์ชั่นมาประกอบกัน)
🔥 หรือจะเอาไปใช้เขียนโปรแกรมแบบ parallel computing (โปรแกรมคู่ขนาน)
🔥 หรือจะเขียนโปรแกรมแบบ asynchronous โดยที่โค้ดหลักไม่ต้องรอการประมวลผลฝั่ง I/O ให้แล้วเสร็จ โค้ดหลักสามารถข้ามไปยังบรรทัดถัดไปก่อนได้เลย
🔥 Testability — ผลพลอยได้ก็คือ เอาแนวคิดนี้ไปใช้ทำ test function ได้ง่าย โดยแต่ละการ test จะเป็นอิสระต่อกัน เมื่อใช้วิธีการเดิมในการทดสอบ 10 ครั้ง ก็ควรได้ผลเหมือนเดิม 10 ครั้ง เป็นต้น
++++ 🤔 ++++++
เมื่อเปรียบเทียบกับแนวคิด OOP (โปรแกรมเชิงวัตถุ object-oriented programming)
ถ้าโจทย์ปัญหาเป็น parallel computing หรือ asynchronous การใช้แนวคิด functional programming ดูแล้วคล่องแคล่วปราดเปรียวไม่ยุ่งยาก
เนื่องจากแนวคิด functional programming ไม่มีอะไรซับซ้อนมากนัก เขียนโปรแกรมก็จะกระชับ ง่าย...ง๊าย เมื่อเทียบกับ OOP ที่โค้ดจะเยอะกว่า เพราะมี class มากมาย ยิ่งถ้า inheritance โดยให้มีการสืบทอดสมาชิกหลายชั้น ก็จะสับสนตาลาย มึนงงได้ คงต้องพึ่ง IDE ให้เป็นพี่เลี้ยงช่วยแนะนำว่ามีสมาชิกอะไรที่สืบทอดมา
แต่จุดเด่นเรื่อง OOP จะมีความเป็น Modularity ที่สูง โค้ดที่เขียนเป็นอ็อบเจ็กต์แต่ละตัวจะเป็นอิสระต่อกัน เนื่องจากข้อมูลหรือ state ซึ่งอยู่ภายในตัวอ็อบเจ็กต์เอง จะมีเป็นของใครของมัน ขณะเดียวกันแต่ละอ็อบเจ็กต์จะปฏิสัมพันธ์กันได้ สามารถเอาอ็อบเจ็กต์ที่มีอยู่แล้วมา reuse ใช้ได้ง่าย รวมทั้งถอดเข้าถอดออกขณะโปรแกรม run time
แล้วแต่สถานการณ์ว่าจะใช้แนวทางเขียนโปรแกรมแบบไหน
แต่ก็ยอมรับว่าบางทีเขียนแบบ functional programming ก็ยากต่อการทำความเข้าใจ เพราะโค้ดมันสั้นกระชับเกิ๊น
ยิ่งหลายภาษาโปรแกรมมิ่งสมัยใหม่ในปัจจุบันนี้ มีการแทรกแนวคิด functional programming เข้ามา นอกเหนือจากแนวคิด OOP เช่น JavaScript, Python, Java, C#, Swift, Kotlin แต่ก็อาจประยุกต์แนวคิดนี้ได้ไม่ 100% มากนัก
จะไม่เหมือนบ้างภาษาเช่น Haskell ที่มาพร้อมกับ immutable data structure หมายถึงข้อมูลที่ไม่สามารถแก้ไขค่าได้เลย จึงทำให้ function กลายเป็น functional programming แท้ๆ (pure function)
✍ สรุป แนวคิดนี้ไม่ได้เรื่องใหม่มีมานานก่อนบางคน ...อุ้แว ...อุ้แวเกิดเสียอีก แต่ตอนโน่นแนวคิดนี้ยังไม่ดังเปรี้ยงเหมือน OOP คนที่เขียนภาษา JavaScript รวมไปถึง Node.js ย่อมใช้หลักการนี้อย่างไม่รู้ตัว ยิ่งภาษาสมัยใหม่หลายตัวก็ยอมรับแนวคิด functional programming เข้ามาในภาษาเรียบร้อยแล้ว ไม่มีนี้ถือว่าแปลกมาก
--------
เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
javascript closure 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
javascript closure 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
javascript closure 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
javascript closure 在 The Beginner's Guide to JavaScript Closure and Its Usages 的推薦與評價
In JavaScript, a closure is a function that references variables in the outer scope from its inner scope. The closure preserves the outer scope inside its ... ... <看更多>
javascript closure 在 你懂JavaScript 嗎?#15 閉包(Closure) | Summer。桑莫。夏天 的推薦與評價
閉包(Closure) · 函式能夠存取的範疇即是其被內嵌後往外推的範圍,例如bar 被內嵌於foo 之內,因此bar 內變數可存取的範圍就是foo 和全域範疇。 ... <看更多>