หมายเหตุโพสต์นี้โพสต์บ่น
"วงการอนิเมชั่นไทยไม่มีทางไปถึงระดับโลกได้"
วันนี้ผมจงใจขึ้นหัวข้อด้วยคำพูดหาเรื่อง
ที่จะทำให้มีคนที่ไม่อ่านมาโกรธและด่าผมก่อนนะครับ
และถ้าท่านสนที่จะถกกันต่อหรือจะเถียงผมด้วยเหตุอะไรก็ตาม
ก็ขอความกรุณาช่วยอ่านให้จบกันก่อนด้วยครับ
โดยผมจะขอสรุปสาเหตุก่อนแล้วค่อยอธิบายไปทีละเรื่อง
..........................
...............
.......
....
..
.
................... เพราะ "ตลาดไทย" ไม่ได้ใหญ่พอ
ที่จะมาเลี้ยงวงการให้โตได้ครับ
-------------------------------
เวลาที่เราพูดกันเรื่องการเติบโตของวงการอนิเมชั่น
จะมีอยู่หลายคนที่พูดกันเรื่อง "ญี่ปุ่นใช้วัฒนธรรมของเขา"
แล้วมันแพร่หลายสู่ตลาดโลกได้เป็นตัวอย่าง
ซึ่งตรงนี้นะครับ ผมจะอธิบายว่า
วงการของไทยไม่สามารถจะประสบความสำเร็จได้
**ถ้าเอาญี่ปุ่นเป็นตัวอย่างแล้วทำอย่างเดียวกัน**
อย่างแรก
การที่วงการอะไรก็ตามจะพัฒนาตัวได้นั้น
คุณจะต้องมีรายได้ขั้นต่ำที่สามารถเอามาพยุงให้วงการนั้นอยู่ตัวได้
ซึ่งรายได้ขั้นต่ำนั้น มาจาก"การบริโภคของประชาชน"
ซึ่งธุรกิจบันเทิงนั้นถือเป็นธุรกิจนอกปัจจัยสี่
ที่ต่อให้คุณไม่บริโภคคุณก็ไม่ตาย
สังคมที่ธุรกิจบันเทิงสามารถเติบโตได้นั้น
จึงต้องเป็นสังคมที่ผู้คนมีความเป็นอยู่ที่ดีในระดับหนึ่ง
ถึงจะมีเงินเก็บเหลือเพื่อที่จะเอามาใช้จ่ายกับความบันเทิงได้
........... ซึ่ง .......... ถ้าเราจะให้วงการอนิเมชั่นไทย
เติบโตได้ในระดับเดียวกันกับญี่ปุ่น
ประชาชนไทยจะต้องมี
"ความเป็นอยู่ที่ดี" ในระดับเดียวกันให้ได้ก่อนครับ
----------------------
ต่อมาคือเรื่องของประชากร
ปัจจุบัน ญี่ปุ่นมีประชากรราว 126 ล้านคน
ในขณะที่ไทยมีราว 70 ล้าน
ญี่ปุ่นมีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน 33,822 USD
ในขณะที่ไทยมี 7,029 USD
https://worldpopulationreview.com/country-rankings/median-income-by-country
ในขณะที่ญี่ปุ่นเป็นสังคมที่เปิดกว้างด้านการสร้างสรรค์และเสพสื่อ
มีการเข้าถึงสื่อเสรีได้เกือบทุกที่แม้ในชนบท
ไทยยังถือว่าเป็นสังคมที่ปิดกั้นไม่ให้สื่อนอกรีตเกิดขึ้นมาได้
และการเข้าถึงผลงานได้จะไปกระจุกแต่ในกลุ่มผู้มีฐานะ
เมื่อเราเอา 3 เรื่องนี้มารวมกัน
เราจะเห็นได้ถึงความแตกต่างของ "ขนาดตลาด"
ที่ไทยเทียบชั้นญี่ปุ่นไม่ได้เลยแม้แต่น้อย
-----------------------------------
เท่านั้นไม่พอ
ตลาดไทยนั้นนอกจากจะเล็กแล้ว
"ผลงานไทย" ยังต้องแข่งกันกับผลงานคุณภาพระดับบนจากต่างชาติ
ทำให้แม้แต่ในตลาดประเทศตัวเอง
ก็ยังอยู่ในสภาพเอาตัวกันไม่รอดขึ้นมาด้วย
------------------------------------
------------------------------------
ทีนี้นะครับ
เวลาที่เราพูดกันเรื่อง "คุณภาพของผลงาน" นะ
เรามักจะได้ยินคนพูดกันว่า "คนไทยก็ทำได้"
ซึ่งผมก็ไม่เถียงนะครับ
เพราะมันก็มีคนไทยที่ทำได้จริงๆ
............. แต่ ................
สิ่งที่เราจะต้องมาพูดกันจริงๆก็คือ
............. มีใครเอาเงินมาให้ "คนมีฝีมือ" เหล่านั้นบ้างครับ?
คือถ้าเราจะยกชื่อคนเก่งกันมานะ
มันก็จะมีชื่อคนระดับเซียนมาอย่างน้อยสักประมาณ 100 ชื่อ
แต่เซียนส่วนใหญ่เหล่านั้น
อย่างมากก็ระดับไปเป็นลูกทีมโปรเจ็คชื่อดังของโลกอีกที
มีกี่คนมั่งที่เป็นระดับผู้นำทีม
กำกับผลงานชื่อดังที่เอาไปแข่งระดับโลกได้?
ทำไมพวกเขาทำไม่ได้กันทั้งๆที่มีฝีมือกันขนาดนี้?
............... ก็เขาไม่มีทุนจะให้ไปทำไง
---------------------
ซึ่งพอพูดถึงตรงนี้นะครับ
ก็จะมีคนชอบมาพูดกันอีกเรื่องนายทุนไทยไม่ให้คุณค่าของผลงาน
ไม่ยอมให้ทุนกัน
ผมก็อยากจะบอกว่า ................ มันสมเหตุผลแล้วครับ
***เพราะตลาดไทยมันไม่ใช่ตลาดที่ทำแล้วจะคุ้มทุนกับการเสี่ยง***
อย่างถ้าคุณจะไปขอเงินนักลงทุนอย่างกิจการเถ้าแก่น้อย
ผลงานของคุณจะมีค่ากับเขาในฐานะผลงานโฆษณาสินค้า
แต่มันก็จะเป็นการลงทุนที่คืนทุนให้เขาได้
ถ้าสินค้าของเขามันเป็นสิ่งที่มีจำหน่ายทั่วโลก
หรือถ้าคุณไปขอทุนกิจการที่มีสินค้าจำหน่ายทั่วโลกอย่าง Coca Cola
คุณก็ต้องมีตัวอย่างผลงานไปพิสูจน์ให้เขาได้ว่า
คุณสามารถสร้างผลงานที่ควรค่ากับ Brand Image ของเขาได้
แต่มันก็ลูปกลับไปที่คุณไม่มีผลงานมาพิสูจน์
หรือคุณรับรองว่าจะมีคนมาดูผลงานของคุณไม่ได้
เขาถึงได้ไม่ลงทุนให้คุณ
----------------------------------
และจริงๆแล้ว ............ นายทุนญี่ปุ่นเองเขาก็ไม่ได้ให้ค่ากันนักหรอก
เขาสนกันก่อนว่าฉันลงเงินไปแล้ว
ฉันจะได้กำไรกลับมาไหม
ถ้ายกตัวอย่างพวกสำนักพิมพ์
ผลงานไหนขายไม่ได้เขาก็เลือกที่จะตัดจบ
พอผลงานไหนดังพอที่จะเห็นว่าต่อยอดทำสินค้าขายได้
ถึงได้จะค่อยเอามาทำอนิเม
พวกผลงาน Original Anime ที่อยู่ๆก็เกิดขึ้นมาได้
โดยไม่มีฐานลูกค้ามาก่อนนี่
เกิดขึ้นกันได้น้อยมาก
เพราะการจะสร้างมันก็จำเป็นจะต้องมีการลงทุน
และนักลงทุนก็ต้องแบกรับความเสี่ยงกันด้วยเป็นหลักร้อยล้าน
มันไม่ใช่เรื่องจำพวกว่าเขาลงทุนกันให้
เพราะความรักชาติสนับสนุนผลงานชาติตัวเอง
และที่มันมีผลงาน Netflix Original เกิดขึ้นมาได้
ก็เพราะ Netflix เป็นกิจการทุนหนา
ที่มีรายได้มากพอจะมาอุ้มผู้สร้างผลงานเหล่านี้
-------------------------------------
-------------------------------------
กลับไปที่หัวข้อแรก
ผมพูดว่า
"วงการอนิเมชั่นไทยไม่มีทางไปถึงระดับโลกได้"
........ แต่ผมไม่ได้พูดนะครับว่า คนไทยทำงานระดับโลกไม่ได้
สองอย่างนี้เป็นของคนละอย่างกัน
ซึ่งถ้าจะให้จำกัดความเจาะจง
วงการอนิเมชั่นไทย
คือผลงานที่สร้างกันในไทย โดยคนไทย
และทำผลงานเพื่อป้อน"ตลาดไทย"
........... แต่ถ้าคนไทยเหล่านั้นทำผลงานเพื่อป้อน "ตลาดโลก" แต่แรก
อันนี้เรามาเถียงกันแบบไม่มีข้อสรุปได้ว่า
นั่นเป็น "วงการอนิเมชั่นไทย" ได้หรือไม่
เพราะมันจะต้องมีการผสานงานกับองค์กรต่างชาติเพื่อการเผยแพร่
เราพูดไม่ได้เต็มปากว่า มันเป็น "วงการไทย" อย่างเดียว
ซึ่งถ้าจะให้เจาะจง กรณีหลังนั้นจะเป็น
"ผลงานอนิเมชั่นที่มีคนไทยสร้างเพื่อป้อนตลาดสากล"
ถึงจะตรงกว่า
-------------------------------
ฉนั้นนะครับ
ถ้าคุณอยากอยู่รอดในวงการอนิเมชั่นได้นะ
ผมแนะครับว่า ............... คุณช่างหัวตลาดไทยไปเถอะ
ไปทำงานสากลแทน
เพราะตลาดไทยจริงๆ
มันก็ไม่ได้ปิดกั้นผลงานสากลอยู่แล้ว
ถ้าคุณทำงานสากล
มันจะรวมตลาดไทยส่วนหนึ่งให้โดยอัตโนมัติ
และคุณก็ไม่ต้องมาแบกรับความเสี่ยง
กับการต้องลงทุนมหาศาล
กับตลาดที่ใหญ่แค่เสี้ยวเล็บของตลาดโลกด้วย
---------------------------------------------
หรืออีกวิธีหนึ่งที่ได้ผลแน่นอนกว่า .....................
............................................
............................
.................
..........
......
....
...
..
.
........................... คือการที่คุณไปทำงานอื่น
.......... ที่รายได้ดีกว่าจนรวยก่อน
เสร็จแล้วคุณจะเอาเงินนั้นมาผลิตอะไรก็ตาม
มันก็ไม่มีคนที่จะมาหยุดคุณได้
เพราะมันเป็นเงินของคุณครับ
median income 在 Lee Hsien Loong Facebook 的最讚貼文
Our 2020 national Census findings have been published, one part on Wednesday and the second part today. The Census is conducted every ten years, and this is the sixth since independence.
The infographics tell the story. The last decade saw the slowest growth in our population. More Singaporeans are remaining single, and those married are having fewer babies. Ethnic distribution has been stable, but we now have more seniors, more of whom are living alone.
The population is better educated. English is spoken more frequently at home, and the proportion of non-religious people is growing. Median household income has risen, and home ownership remains high.
We need to be aware of these trends in our society, so that our policies and mindsets can keep up with the changing times, especially against the backdrop of the pandemic.
Thanks to everyone who contributed to the massive effort to produce this census. You can read the full report here: https://www.singstat.gov.sg/census2020/census-resources – LHL
median income 在 多益達人 林立英文 Facebook 的精選貼文
Do Higher Wages Mean Higher Standards of Living?
A recent macroblog post used Atlanta Fed Wage Growth Tracker data to observe that the hourly wage of the lowest-paid workers has rebounded ( ) in recent years after declining for a decade.
The chart below depicts ( ) this finding, showing the median ( ) hourly wage ( ) of the lowest-paid ( ) 25 percent of workers in the Tracker sample relative ( ) to the median for all workers.
Moreover, the post showed that this recovery was not just a story about states and localities ( ) increasing their minimum wages. It also appears that there has been a significant tightening in the labor market for unskilled or low-skilled jobs.
Taken at face value, this is good news for workers employed in low-wage jobs.
But here's the rub ( ): the median wage in the first quartile ( ) is still low—$11.50 in 2019, or 55 percent of the overall median wage.
Moreover, these are hourly wages before taxes and transfers ( ).
They don't represent what is happening to these workers' ability to make ends meet ( ), which depends crucially on income after taxes and transfers.
For households at the bottom of the income distribution, means-tested ( ) transfers can play an especially important role.
The size of the transfers tends to decrease as earnings ( ) increase, and they stop altogether when a worker exceeds income- and asset-eligibility thresholds ( ).
The interaction between changes in earnings and various means-tested public assistance programs is an important public policy issue, and it is one that staff at the Atlanta Fed are studying.
薪資成長代表生活水準提高?
理財網站macroblog最近發布一則公告,使用亞特蘭大聯邦儲備銀行的薪資成長追蹤數據,觀察到每小時最低工資持續幾十年來的下滑,終於在近幾年開始反彈。
以下圖表所顯示的結果,呈現前25%低的時薪中位數樣本,和所有時薪樣本中位數之間的關係。
此外,該公告顯示這波復甦不只是探討最低薪資在各州與地方的成長,更指出低技術或無技術勞動市場明顯地緊縮。
表面的價值觀看來,這對從事低薪行業的勞工來說是個好消息。
但難處在於:前四分之一低的時薪中位數仍處在低處—如2019年為11.5元,同時也是前55%低的時薪中位數。
不只如此,這些薪資還是不包含稅和生活津貼(又稱「轉移收入」)。
他們沒有說的是,這些勞工的工作能力如何導致他們生活在薪資結構的底層,只能拮据地仰賴稅後收入和生活津貼。
對分配在薪資結構底層的家庭來說,透過資格審查才能獲得的生活津貼對他們是非常重要的。
生活津貼的多寡隨著收入提高而降低,當收入和資產達到一定的標準時,他們就不再有生活津貼。
收入的變化和眾多具資格審查的公共補助計畫,相互影響之下成為公共政策中的一大問題,也是亞特蘭大聯邦儲備銀行職員正在進行的研究。
#高雄人 #學習英文 請找 #多益達人林立英文
#高中英文 #成人英文
#多益家教班 #商用英文
#國立大學外國語文學系講師
#新聞英文