- Luyện đọc và tìm kiếm từ mới nào cả nhà!
Đề Cambridge IELTS 14 Test 2 - passage 2:
BACK TO THE FUTURE OF SKYSCRAPER DESIGN
Answers to the problem of excessive electricity use by skyscrapers and large public buildings can be found in ingenious but forgotten architectural designs of the 19th and early-20th centuries
A. The Recovery of Natural Environments in Architecture by Professor Alan Short is the culmination of 30 years of research and award-winning green building design by Short and colleagues in Architecture, Engineering, Applied Maths and Earth Sciences at the University of Cambridge.
'The crisis in building design is already here,' said Short. 'Policy makers think you can solve energy and building problems with gadgets. You can't. As global temperatures continue to rise, we are going to continue to squander more and more energy on keeping our buildings mechanically cool until we have run out of capacity.'
B. Short is calling for a sweeping reinvention of how skyscrapers and major public buildings are designed - to end the reliance on sealed buildings which exist solely via the 'life support' system of vast air conditioning units.
Instead, he shows it is entirely possible to accommodate natural ventilation and cooling in large buildings by looking into the past, before the widespread introduction of air conditioning systems, which were 'relentlessly and aggressively marketed' by their inventors.
C. Short points out that to make most contemporary buildings habitable, they have to be sealed and air conditioned. The energy use and carbon emissions this generates is spectacular and largely unnecessary. Buildings in the West account for 40-50% of electricity usage, generating substantial carbon emissions, and the rest of the world is catching up at a frightening rate. Short regards glass, steel and air-conditioned skyscrapers as symbols of status, rather than practical ways of meeting our requirements.
D. Short's book highlights a developing and sophisticated art and science of ventilating buildings through the 19th and earlier-20th centuries, including the design of ingeniously ventilated hospitals. Of particular interest were those built to the designs of John Shaw Billings, including the first Johns Hopkins Hospital in the US city of Baltimore (1873-1889).
'We spent three years digitally modelling Billings' final designs,' says Short. 'We put pathogens• in the airstreams, modelled for someone with tuberculosis (TB) coughing in the wards and we found the ventilation systems in the room would have kept other patients safe from harm.
E. 'We discovered that 19th-century hospital wards could generate up to 24 air changes an hour-that's similar to the performance of a modern-day, computer-controlled operating theatre. We believe you could build wards based on these principles now.
Single rooms are not appropriate for all patients. Communal wards appropriate for certain patients - older people with dementia, for example - would work just as well in today's hospitals, at a fraction of the energy cost.'
Professor Short contends the mindset and skill-sets behind these designs have been completely lost, lamenting the disappearance of expertly designed theatres, opera houses, and other buildings where up to half the volume of the building was given over to ensuring everyone got fresh air.
F. Much of the ingenuity present in 19th-century hospital and building design was driven by a panicked public clamouring for buildings that could protect against what was thought to be the lethal threat of miasmas - toxic air that spread disease. Miasmas were feared as the principal agents of disease and epidemics for centuries, and were used to explain the spread of infection from the Middle Ages right through to the cholera outbreaks in London and Paris during the 1850s. Foul air, rather than germs, was believed to be the main driver of 'hospital fever', leading to disease and frequent death. The prosperous steered clear of hospitals.
While miasma theory has been long since disproved, Short has for the last 30 years advocated a return to some of the building design principles produced in its wake.
G. Today, huge amounts of a building's space and construction cost are given over to air conditioning. 'But I have designed and built a series of buildings over the past three decades which have tried to reinvent some of these ideas and then measure what happens. 'To go forward into our new low-energy, low-carbon future, we would be well advised to look back at design before our high-energy, high-carbon present appeared. What is surprising is what a rich legacy we have abandoned.'
H. Successful examples of Short's approach include the Queen's Building at De Montfort University in Leicester. Containing as many as 2,000 staff and students, the entire building is naturally ventilated, passively cooled and naturally lit, including the two largest auditoria, each seating more than 150 people. The award-winning building uses a fraction of the electricity of comparable buildings in the UK.
Short contends that glass skyscrapers in London and around the world will become a liability over the next 20 or 30 years if climate modelling predictions and energy price rises come to pass as expected.
I. He is convinced that sufficiently cooled skyscrapers using the natural environment can be produced in almost any climate. He and his team have worked on hybrid buildings in the harsh climates of Beijing and Chicago - built with natural ventilation assisted by back-up air conditioning - which, surprisingly perhaps, can be switched off more than half the time on milder days and during the spring and autumn.
“My book is a recipe book which looks at the past, how we got to where we are now, and how we might reimagine the cities, offices and homes of the future. There are compelling reasons to do this. The Department of Health says new hospitals should be naturally ventilated, but they are not. Maybe it’s time we changed our outlook.”
TỪ VỰNG CHÚ Ý:
Excessive (adj)/ɪkˈsesɪv/: quá mức
Skyscraper (n)/ˈskaɪskreɪpə(r)/: nhà trọc trời
Ingenious (adj)/ɪnˈdʒiːniəs/: khéo léo
Culmination (n) /ˌkʌlmɪˈneɪʃn/: điểm cao nhất
Crisis (n)/ˈkraɪsɪs/: khủng hoảng
Gadget (n)/ˈɡædʒɪt/: công cụ
Squander (v)/ˈskwɒndə(r)/: lãng phí
Reliance (n)/rɪˈlaɪəns/: sự tín nhiệm
Vast (adj)/vɑːst/: rộng lớn
Accommodate (v)/əˈkɒmədeɪt/: cung cấp
Ventilation (n)/ˌventɪˈleɪʃn/: sự thông gió
Habitable (adj)/ˈhæbɪtəbl/: có thể ở được
Spectacular (adj)/spekˈtækjələ(r)/: ngoạn mục, đẹp mắt
Account for /əˈkaʊnt//fə(r)/ : chiếm
Substantial (adj)/səbˈstænʃl/: đáng kể
Frightening (adj)/ˈfraɪtnɪŋ/: kinh khủng
Sophisticated (adj)/səˈfɪstɪkeɪtɪd/: phức tạp
Pathogen (n)/ˈpæθədʒən/: mầm bệnh
Tuberculosis (n)/tjuːˌbɜːkjuˈləʊsɪs/: bệnh lao
Communal (adj)/kəˈmjuːnl/: công cộng
Dementia (n)/dɪˈmenʃə/: chứng mất trí
Fraction (n)/ˈfrækʃn/: phần nhỏ
Lament (v)/ləˈment/: xót xa
Panicked (adj): hoảng loạn
Lethal (adj)/ˈliːθl/: gây chết người
Threat (n)/θret/: mối nguy
Miasmas (n)/miˈæzmə/: khí độc
Infection (n) /ɪnˈfekt/: sự nhiễm trùng
Cholera (n)/ˈkɒl.ər.ə/: dịch tả
Outbreak (n)/ˈaʊt.breɪk/: sự bùng nổ
Disprove (v)/dɪˈspruːv/: bác bỏ
Advocate (v)/ˈæd.və.keɪt/: ủng hộ
Auditoria (n)/ˌɔːdɪˈtɔːriə/ : thính phòng
Comparable (adj)/ˈkɒm.pər.ə.bəl/: có thể so sánh được
Contend (v) /kənˈtend/: cho rằng
Liability (n)/ˌlaɪ.əˈbɪl.ə.ti/: nghĩa vụ pháp lý
Convince (v) /kənˈvɪns/: Thuyết phục
Assist (v) /əˈsɪst/: để giúp đỡ
Các bạn cùng tham khảo nhé!
miasma theory 在 民報 Facebook 的精選貼文
【專文】循證醫學和想當然醫學
文/謝安民(退休心臟科醫師,曾任芝加哥榮民醫院的心臓加䕶病房主任,心肺復甦委員會主席)
十八世紀「法國臨床學校」設立之後,醫學才開始有客觀的計量和數學方法的利用。疾病是組織和器官的病變所引起的觀念也逐漸形成。十九世紀,德國的雅各.亨利(Jacob Henle,1809〜1855)和法國的路易.巴士德(Louis Pastuer,1822〜1895),推動細菌原理(Germ theory), 人類才開始了解傳染病是病菌引起,而不是吸入瘴氣(miasma)所致。1992年在加拿大McMaster大學的醫師提倡下,循證醫學(Evidence-Based medicine)的觀念,使科學化的醫學更上一層樓,很快被各界接受。現在保險公司對科學證據顯示無效的治療,往往會拒絕付費。
#科學化醫學 #循證醫學 #想當然醫學 #華盛頓死因
miasma theory 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最讚貼文
"หน้ากากอนามัย" ในยุคกลาง
ในช่วงยุคกลาง มนุษย์เราได้พบกับโรคระบาดที่ร้ายแรงที่สุดเท่าที่เราเคยพบมาจนถึงทุกวันนี้ นั่นก็คือ กาฬโรค (Plague) หรือที่รู้จักกันในนาม Black Death
โรคนี้คร่าชีวิตชาวยุโรปในยุคกลางไปราว 75 ถึง 200 ล้านคน และลดประชากรโลกจาก 475 ล้าน เหลือเพียง 350–375 ล้านคนในศตวรรษที่ 14 ยูโรปต้องใช้เวลาอีกกว่า 200 ปีกว่าที่จำนวนประชากรจะกลับมายังยุคก่อน black death โรคระบาดนี้ทำให้การพัฒนาแทบทุกอย่างในยุโรปต้องหยุดชะงัก
ในยุคนั้น เรายังไม่มีความเข้าใจเรื่องโรคระบาดและต้นเหตุของการทำให้เกิดโรคติดต่อเท่าไหร่ ทฤษฎีโรคระบาดที่แพร่หลายที่สุดในยุคนั้น ก็คือ Miasma Theory ที่กล่าวว่าตัวการของโรค (โรคใดๆ ก็ตาม) คือกลิ่นเหม็นเน่าที่ลอยออกมาจากซากศพ
ด้วยเหตุนี้ Plague Doctor ในยุคศตวรษที่ 17 จึงใส่ "เครื่องแบบ" (เปรียบได้กับ PPE (Personal Protective Equipment) ในยุคปัจจุบัน) ที่ทำจากหน้ากากมีจงอยปาก เพื่อใส่เครื่องหอมลงไปจนเต็มเพื่อกลบกลิ่นเหม็นเน่าจากซากศพที่กองเต็มท้องถนน (เพื่อพยายามจะกลบ miasma นั่นเอง) และเสื้อโค้ทที่ยาวคลุมถึงข้อเท้า กับหมวก
Plague Doctor นั้นจะได้รับการว่าจ้างจากเมืองที่มีการพบโรคระบาด และจะถูกผูกมัดโดยสัญญาว่าจ้างที่จะต้องรักษาผู้ติดกาฬโรคทุกคน ไม่ว่าจะเป็นคนรวยหรือคนจน แต่จะไม่รักษาอาการเจ็บป่วยอย่างอื่น Plague Doctor จึงถูกเรียกไปในเมืองที่มีการระบาด สภาพเครื่องแบบที่เห็นนี้ จึงเป็นสัญญาณแห่งความตาย และสร้างความสะพรึงกลัวให้กับชาวเมืองในศตวรรษที่ 17 ที่พบเห็นเป็นอย่างมาก
อย่างไรก็ตาม วิธีการ "รักษา" ของ Plague Doctor นั้นก็ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพเท่าไหร่ ด้วยความเข้าใจทางการแพทย์อันล้าหลังในยุคนั้น วิธีการรักษานั้นอาจจะใช้การกรีดให้เลือดออกเพื่อระบายโรคร้าย (bloodletting) หรือการเอากบหรือปลิงไปวางบนตุ่มหนองเพื่อ "รักษาสมดุลของร่างกาย" นอกไปจากนี้คนที่มาทำงานเป็น Plague Doctor ส่วนมากนั้นก็ไม่ได้เป็นผู้ที่ความความรู้ทางการแพทย์ (ในยุคนั้น) จริงๆ บางคนก็อาจจะเป็นเพียงพ่อค้าที่ไม่เคยมีประสบการณ์การรักษาคนมาก่อน ที่เพียงแค่มาหางานอย่างอื่นทำ
จนกระทั่งในปี 1880 ทฤษฎีการติดโรคแบบ miasma theory จึงไม่เป็นที่ยอมรับอีกต่อไป และถูกแทนที่ด้วย germ theory of disease ที่เราใช้กันในปัจจุบัน ทฤษฎีนี้ระบุว่าเชื้อของโรคหนึ่งๆ จะเป็นตัวการที่ทำให้เกิดโรคนั้นๆ และเราจึงมุ่งเน้นไปที่การกำจัดและกีดกันเชื้อโรค อย่างที่เราใช้ยาฆ่าเชื้อ ล้างมือ ใส่หน้ากาก และชุด PPE ที่ทำจากพลาสติกกันน้ำเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค อย่างที่เราทำกันทุกวันนี้
ทุกวันนี้ เราทราบว่ากาฬโรคนั้นเกิดขึ้นจากเชื้อแบคทีเรีย Yersinia pestis และถูกแพร่เชื้อผ่านทางหมัดที่เกาะอยู่บนหนู เมื่อหมัดที่มีเชื้อแบคทีเรียนี้กัดผิวหนังของมนุษย์ เชื้อนี้จะแพร่กระจายเข้าไปในระบบทางเดินน้ำเหลือง ทำให้เกิดเป็น bubonic plague และมีอาการไข้ขึ้น ไข้จับสั่น เกิดตุ่มบวมขึ้นตามท่อน้ำเหลือง จนในที่สุดจะเกิดเนื้อตาย (necrosis) เนื้อเยื่อเปลี่ยนเป็นสีดำ และเสียชีวิตในที่สุด นอกจากนี้หากเชื้อกาฬโรคเข้าไปในกระแสเลือดจะกลายเป็น Septicemic plague เกิดสารพิษกระจายไปทั่วร่าง เกิดเลือดไหลภายในผิวหนังและอวัยวะภายในจนผิวเปลี่ยนเป็นสีม่วง ไอและอาเจียนออกมาเป็นเลือด และหากเชื้อเข้าไปในปอด จะกลายเป็น Pneumonic plague ที่จะทำให้เกิดอาการจามและไอที่สามารถแพร่กระจายเชื้อแบคทีเรียฟุ้งไปในอากาศได้ ซึ่งสำหรับกรณีสองกรณีหลังนี้ หากไม่ได้รับการรักษา มักจะมีอัตราการเสียชีวิตเกือบ 100% ในขณะที่ bubonic plague นั้นมีอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ประมาณ 30-90% แต่การค้นพบยาปฏิชีวนะทำให้อัตราการเสียชีวิตนั้นตกลงมาเหลือเพียงแค่ 10%
ความร้ายแรงของกาฬโรคนี้ ทำให้กาฬโรคเป็นอาวุธชีวภาพแรกๆ ที่มนุษย์นำมาใช้ในการสงคราม ชาวจีนและยุโรปโบราณเอาซากสัตว์ที่ตายไปเจือปนในแหล่งน้ำที่ข้าศึกใช้ดื่มกิน ศพผู้เสียชีวิตจากกาฬโรคได้ถูกเหวี่ยงเข้าไปในกำแพงเมืองระหว่างที่ทำการปิดล้อมเมือง แม้กระทั่งในยุคสงครามโลกครั้งที่สอง หน่วยวิจัยของกองทัพญี่ปุ่นก็ได้ทำการทดลองอาวุธชีวภาพกับนักโทษและพลเรือนชาวจีนและเกาหลี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองทั้งสหรัฐและสหภาพโซเวียตก็ยังมีการทดลองเพื่อหาแนวทางการการลำเลียง pneumonic plague ไปยังทหารของข้าศึก รวมไปถึงการทดลองการตัดต่อพันธุกรรมของโรคเพื่อการทหาร
แม้กระทั่งในทุกวันนี้ กาฬโรคก็ยังไม่ได้หมดไป เราก็ยังพบการติดเชื้อกาฬโรคอยู่ปีละประมาณ 600 รายทั่วโลก อย่างไรก็ตาม กาฬโรคเป็นโรคที่สามารถรักษาได้ง่ายโดยใช้ยาปฏิชีวนะ (ต่างจากไวรัสซึ่งไม่สามารถใช้ยาปฏิชีวนะได้)
จะเห็นได้ว่าเรื่องของโรคระบาดนั้นสัมพันธ์กันอย่างเหนียวแน่นกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความเข้าใจของมนุษย์ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้เรามีวิธีการจัดการที่ดีขึ้น แม้กระทั่งในระหว่างวิกฤตโคโรน่าไวรัสนี้ เทคโนโลยีก็ทำให้เราสามารถตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสในระดับที่เราไม่สามารถทำได้มาก่อนเพียงแค่ในรุ่นพ่อแม่ของเรา นอกไปจากนี้เรายังสามารถพัฒนาวัคซีนได้รวดเร็วขึ้น เรามีความเข้าใจในเรื่องของสุขอนามัยที่ดีกว่าเดิม และเราล้างมือกันเป็นประจำ เรามีหน้ากากป้องกันที่ได้ผลกว่าหน้ากากจงอยปากอีกาอย่างที่ plague doctor ใช้ในยุคกลาง การแพทย์เรามีมาตรฐานที่สูงกว่าในอดีตเป็นอย่างมาก และเครื่องช่วยหายใจก็ทำให้ผู้ที่อาการหนักหลายๆ รายยังคงมีออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงร่างกายได้ ที่สามารถพยุงอาการเอาไว้จนกว่าร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมา
แม้กระนั้นก็ตาม การค้นคว้าวิจัยเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดนั้นไม่ได้หยุดอยู่นิ่ง และวิทยาศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ต้องมีการอัพเดตเสมอ แม้กระทั่งระหว่างวิกฤตโคโรน่าไวรัสนี้ เราก็ยังค้นพบอะไรใหม่ๆ เรื่อย ทั้งเกี่ยวกับเรื่องของไวรัสโคโรน่า และเกี่ยวกับการจัดการกับโรคระบาดเอง แนวทางการจัดการโรคระบาดของแต่ละประเทศนั้นเป็นอะไรที่น่าสนใจ และเมื่อใดก็ตามที่เราพ้นจากวิกฤตนี้ไปแล้ว เป็นที่แน่ชัดว่าเราจะต้องมีความเข้าใจในการจัดการกับโรคระบาดได้ดีขึ้นเป็นอย่างแน่นอน
ภาพ: Paul Fürst, engraving, c. 1721
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://en.wikipedia.org/wiki/Plague_(disease)
[2] https://en.wikipedia.org/wiki/Black_Death
[3] https://en.wikipedia.org/wiki/Plague_doctor