❝ What Did Hubble See on Your Birthday? ❞
🤩💫🔍
2o16年自己生日那天,
哈勃太空望遠鏡所拍下的某一片宇宙。
意外看見的是這樣平和靜謐卻又感受到變化引力的景象,原來彗星的解體過程是在這樣相當平靜的狀態下發生的。
On January 26 in 2016
Comet 332P/Ikeya-Murakami
This image reveals the ancient comet 332P/Ikeya-Murakami disintegrating as it approaches the Sun.
It is one of the sharpest views ever captured of an icy comet breaking apart.
畫面裡的圖像顯示了
古代彗星332P / Ikeya-Murakami在接近太陽時會分解,這是哈勃望遠鏡有史以來捕捉到最清晰的彗星解體的天文景象畫面。
---
後來再去查詢了一下,
才知道下方的這些相關資訊:
彗星碎片綿延成一條4,800公里的彗尾,彗星分成25大塊結構,每塊結構為建築物大小,各自以人類步行的速度分離,25個大塊結構的周圍,也分布著崩解後的冰塵埃碎片。
/
332P/Ikeya-Murakami(池谷–村上彗星)也簡稱為「彗星332P」,估計年齡45億歲,距離地球1億公里以上。
/
後面幾張的圖像也顯示
彗星碎片在太陽光下進出,一會明一會暗,
在脫離過程中它們的形狀似乎也在變化。
研究人員在《Astrophysical Journal Letters》雜誌上撰文稱,3天裡該彗星似乎損失了4%的質量。
科學家推測,彗星在飛向太陽的軌道上,將分裂為更多碎片,直到某日它完全消失。該研究報告已發表於9月15日的《天體物理雜誌通訊》(Astrophysical Journal Letters)
---
這是 [NASA慶哈勃太空望遠鏡30周年的紀念活動]
可以尋找在自己生日當天,
哈勃太空望遠鏡拍下了什麼宇宙美景?
滿有趣的~
雖然不是自己出生的那天就是了(大笑)
有興趣的大家也可以去看看自己的生日那天
拍到了什麼景象
也好好奇想看大家的分享😆🤤☺️
傳送門在這裡 >>>
www.nasa.gov/content/goddard/what-did-hubble-see-on-your-birthday
#Hubble30 #NASA #Hubble #332P
nasa sun image 在 Dawn Yeoh 姚懿珊 Facebook 的最佳貼文
The day I’ve been waiting for has finally come! My first ever desert experience with the @bedouinexperience at Al Marmoom Desert Conservation Reserve was immersive and awe-so-beautiful, under the whole night sky of stars (nope couldn’t capture on my phone) after the sun sets and the only NASA-approved image I could share through the telescope of the astronomer ..... 🏜🐫🔭🌌🌘 it is a transcendent experience :) my heart is full 🙏🏻 #dubaiculture #almarmoom #bedouinexperience #visitdubai @visit.dubai @ Al Marmoom Desert Conservation Reserve
nasa sun image 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最讚貼文
ภาพที่ละเอียดที่สุดของพื้นผิวดวงอาทิตย์
ภาพแรกสุดจากกล้องโทรทรรศน์ Daniel K. Inouye Solar Telescope (DKIST) เปิดเผยให้เห็นถึงรายละเอียดของพื้นผิวดวงอาทิตย์ในระดับที่ไม่เคยมีใครเห็นมาก่อน
กล้องโทรทรรศน์ Inouye Solar Telescope นั้นเป็นกล้องโทรทรรศน์ที่ทำการสังเกตดวงอาทิตย์ที่ใหญ่ที่สุดบนโลก โดยมีขนาดถึง 4 เมตร ตั้งอยู่บนยอดเขา Haleakala บนเกาะ Maui ของหมู่เกาะฮาวาย โดยชื่อของเขา Haleakala นั้นมาจากภาษาฮาวายที่แปลว่า "ที่พำนักของดวงอาทิตย์" โดยตำแหน่งทีอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลทำให้หอสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์นี้สามารถหลีกหนีจากชั้นบรรยากาศบางส่วนไปได้ และยังได้อยู่เหนือมาจากเส้นขอบฟ้า ทำให้เห็นแสงอาทิตย์นานกว่าที่ระดับน้ำทะเลถึงวันละ 15 นาที
สิ่งที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวของดวงอาทิตย์นั้นจะปลดปล่อยสนามแม่เหล็กและอนุภาคพลังงานสูงเข้าสู่อวกาศและมายังโลกของเรา เรียกว่า "สภาพอวกาศ" (space weather) สภาพอวกาศที่แปรปรวนนี้อาจจะทำให้เกิดสัญญาณรบกวนเครื่องมือสื่อสาร ดาวเทียม ไปจนถึงระบบไฟฟ้าบนโลกของเราได้ การศึกษาดวงอาทิตย์ในระดับใกล้ชิดนี้จึงช่วยให้เราสามารถ "พยากรณ์" สภาพอวกาศล่วงหน้าได้ด้วยความแม่นยำที่สูงขึ้น
ภาพแรกของ Inouye Solar Telescope นี้เผยให้เห็นถึงรายละเอียดพื้นผิวของดวงอาทิตย์ในระดับที่ไม่มีใครเคยเห็นมาก่อน พื้นผิวของดวงอาทิตย์นั้นประกอบไปด้วยพลาสมาร้อนที่เดือดอยู่ตลอดเวลา แต่ละเซลล์ที่เห็นนี้ มีขนาดใหญ่พอๆ กับรัฐเท็กซัสในประเทศสหรัฐอเมริกา และเกิดขึ้นจากพลาสมาที่หมุนวนพยายามเอาความร้อนจากภายในดวงอาทิตย์ขึ้นมาสู่พื้นผิว และเมื่อนำมาสู่พื้นผิวแล้วจึงเย็นตัวลง และตกกลับลงไปยังเบื้องล่างอีกครั้ง ผ่านกระบวนการที่เรียกว่าการพาความร้อน (convection) ในลักษณะเดียวกับหม้อซุปที่กำลังเดือดอยู่
การรวมพลังงานกว่า 13 กิโลวัตต์จากดวงอาทิตย์นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย และก่อให้เกิดความร้อนที่สูง กล้องโทรทรรศน์จึงจำเป็นต้องมีระบบการระบายความร้อนที่มีประสิทธิภาพเพื่อปกป้องกล้องโทรทรรศน์และอุปกรณ์ ระบบท่อยาวกว่า 7 ไมล์ช่วยกระจายสารหล่อเย็นไปทั่วหอสังเกตการณ์ และใช้น้ำแข็งช่วยในการระบายความร้อน นอกจากนี้ ยังมีระบบ adaptive optics ที่ขยับกระจกเพื่อชดเชยการแปรปรวนที่เกิดขึ้นจากชั้นบรรยากาศของโลก ผลที่ได้ก็คือความละเอียดของพื้นผิวดวงอาทิตย์ที่ไม่มีกล้องใดเทียบเคียงได้ โดยรายละเอียดที่เล็กที่สุดที่กล้องสามารถบันทึกได้ มีขนาดเพียงแค่ขนาดเกาะแมนฮัตตันในมหานครนิวยอร์ก
อย่างไรก็ตาม นี่เป็นเพียงภาพแรกของอุปกรณ์เพียงอุปกรณ์เดียวเพียงเท่านั้น หอสังเกตการณ์ DKIST นี้มีแผนจะปฏิบัติการไปอีกอย่างน้อย 44 ปี เพื่อที่จะได้บันทึกวัฏจักร 11 ปีของดวงอาทิตย์ถึงสี่รอบ และอุปกรณ์อื่นๆ จะค่อยๆ ทยอยติดตั้งตามมาทีหลัง ข้อมูลที่ได้จาก DKIST รวมกับ Parker Solar Probe ขององค์การอวกาศ NASA และ Solar Orbiter ขององค์การอวกาศ NASA ร่วมกับ ESA จะช่วยทำให้เราสามารถไขความลับอีกมากเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ และต้นกำเนิดของลมสุริยะที่มีผลต่อโลกของเรา
ภาพ: NSO/NSF/AURA
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://www.nso.edu/inouye-solar-telescope-first-light/
[2] https://www.space.com/first-sun-image-from-massive-solar-te…
[3] https://phys.org/…/2020-01-nsf-solar-telescope-images-sun.h…