วิวัฒนาการ NBA จากลีกบาสเกตบอลไม่มีคนดู สู่ธุรกิจ 2 ล้านล้าน /โดย ลงทุนแมน
หากพูดถึงลีกการแข่งขันบาสเกตบอลที่ใหญ่ที่สุดในโลก
คงหนีไม่พ้น “NBA” ลีกบาสเกตบอลของสหรัฐอเมริกา
ที่ก่อตั้งมายาวนานกว่า 72 ปี
รู้หรือไม่ว่าฤดูกาลแข่งขันปี 2019/2020 NBA มีรายได้ 2.4 แสนล้านบาท
เพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว เมื่อเทียบกับเมื่อ 9 ปีที่แล้ว แสดงให้เห็นถึงการเติบโตอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ Forbes ยังได้ประเมินว่าทีมบาสเกตบอล
ที่อยู่ในการแข่งขัน NBA ทั้ง 30 ทีม มีมูลค่าตลาดรวมกันเกือบ 2 ล้านล้านบาท
แล้ว NBA มีกลยุทธ์อย่างไร
และปัจจัยใดที่ทำให้ความนิยมของ NBA
เพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
NBA ย่อมาจาก National Basketball Association ก่อตั้งขึ้นในปี 1949
โดยเป็นการรวมตัวกัน ระหว่างลีกบาสเกตบอลของสหรัฐอเมริกา 2 ลีก
คือ Basketball Association of America (BAA) ก่อตั้งในปี 1946
และ National Basketball League (NBL) ก่อตั้งในปี 1937
แม้ในปัจจุบัน NBA จะมีทีมบาสเกตบอลถึง 30 ทีม
แต่ในช่วงเริ่มแรกนั้น NBA มีทีมบาสเกตบอลทั้งหมดเพียง 17 ทีม
แถมในช่วงเริ่มต้น NBA ก็ไม่ได้รับความนิยมมากนัก
เพราะในปี 1955 มีทีมบาสเกตบอลแข่งขันกันเพียง 8 ทีมเท่านั้น
แต่สิ่งที่ทำให้ NBA กลับมาเป็นที่นิยม และกลับมาเติบโตได้
มาจากการปรับโครงสร้างการแข่งขันขึ้นใหม่
เริ่มต้นจากการเปลี่ยนแปลงกฎกติกาการแข่งขัน
ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มเขตทำคะแนน 3 แต้ม
จากเดิมที่มีการทำคะแนนได้เพียง 2 แต้มต่อการชูตลง 1 ลูกเท่านั้น
ซึ่งลูก 3 แต้มนี้ทำให้เกิดความหลากหลายและรูปแบบการเล่นใหม่เข้ามาในเกม
หรืออีกกฎที่เพิ่มเข้ามาคือ การเพิ่มระบบ “Shot Clock”
ที่กำหนดเวลาในการครอบครองบอลของแต่ละฝั่ง
ทำให้แต่ละทีมต้องรีบทำคะแนนภายในเวลาที่กำหนด
การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ทำให้เกมการแข่งขันมีความรวดเร็ว
มีรูปแบบที่กระตุ้นให้นักกีฬาต้องแข่งกันทำแต้มตลอดเวลา
ส่งผลให้เกมดูสนุกและตื่นเต้นมากขึ้น และผู้ชมก็เริ่มให้ความสนใจเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
นอกจากนี้ อีกหนึ่งในโครงสร้างของ NBA ที่แตกต่างจากลีกกีฬาอื่น
คือรูปแบบโมเดลธุรกิจของ NBA ที่สร้างความมั่นคงให้กับทุกทีมที่มีส่วนร่วม
และลดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบระหว่างกัน
เช่น การเลือกตัวนักกีฬาหน้าใหม่เข้าทีมหรือการดราฟต์
ด้วยระบบที่เน้นให้โอกาสกับทีมที่ทำผลงานได้ไม่ดี
มีโอกาสในการคว้าตัวนักกีฬาอันดับต้น ๆ ในระบบดราฟต์ มากกว่าทีมที่มีผลงานดี
โดยปัจจุบัน 3 ทีมที่มีผลงานแย่สุด จะมีโอกาสเท่ากันที่ 14% ที่จะคว้าสิทธิ์ดราฟต์อันดับ 1
ซึ่งสิทธิ์ดราฟต์ที่แต่ละทีมได้มา สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการเจรจาแลกเปลี่ยน
ตัวนักกีฬาระหว่างทีมได้อีกด้วย
นอกจากการรักษาสมดุลระหว่างผู้เล่นในแต่ละทีม
NBA ก็ยังได้กำหนดเพดานค่าจ้างนักกีฬาของแต่ละทีม
โดยมีระบบการคำนวณมาจากรายได้รวมของลีก
ทำให้แต่ละทีมมีเพดานสำหรับการจ่ายค่าจ้างเท่ากัน และหากทีมใดจ้างนักกีฬาเกินเพดานที่กำหนด
จะต้องเสียภาษีเพดานค่าจ้างในอัตราที่สูงมาก ระบบนี้จึงกลายมาเป็นการป้องกันการซื้อตัวนักกีฬาดังไม่ให้ไปอยู่รวมกันภายในทีมเดียวมากเกินไป
อีกระบบที่สำคัญไม่แพ้กันคือ ระบบการคำนวณรายได้มวลรวมของลีก
เป็นระบบที่ช่วยการกระจายรายได้ของแต่ละทีม
โดยทุกทีมจะต้องนำรายได้ส่วนหนึ่งมารวมกันและเฉลี่ยไปยังทีมอื่นเท่า ๆ กัน
เพื่อเป็นการปรับช่องว่างรายได้ ระหว่างทีมที่อยู่ในตลาดขนาดเล็กและใหญ่
เช่น LA Lakers ที่อยู่ในเมืองลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งมีประชากรเกือบ 4.0 ล้านคน
กับทีม Phoenix Suns ที่อยู่ในเมืองฟีนิกซ์ รัฐแอริโซนา ซึ่งมีประชากรเพียง 1.6 ล้านคน
จะเห็นได้ว่าทั้ง 2 ทีม อยู่ในเมืองที่มีฐานประชากรห่างกันมาก และส่งผลต่อรายได้ของทีม
แต่ระบบของ NBA จะทำให้ทีมที่มีรายได้น้อยกว่าเกณฑ์ ได้รับเงินอุดหนุนจำนวนหนึ่ง
จากทีมที่มีรายได้มากกว่าเกณฑ์
ทั้งนี้ทีมขนาดเล็กก็ต้องมีรายได้ไม่ต่ำกว่า 70% ของรายได้เฉลี่ยที่แบ่งกันในแต่ละทีม จึงจะสามารถรับส่วนแบ่งได้เต็มอัตรา เพื่อเป็นการจูงใจและผลักดันให้ทีมขนาดเล็กปรับปรุงและพัฒนาทีมอยู่ตลอดเวลา
เมื่อองค์ประกอบทุกอย่างถูกสร้างสรรค์และออกแบบมาอย่างดีแล้ว
ก็ส่งผลให้ความนิยมและรายได้ของ NBA เพิ่มขึ้นตลอดหลายปีที่ผ่านมา
ทีนี้เรามาดูกันว่าการหารายได้ของ NBA เป็นอย่างไร ?
NBA เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องของความหลากหลายของช่องทางการหารายได้
ซึ่งก็คือการกระจายความเสี่ยงจากการพึ่งพารายได้เพียงไม่กี่ช่องทาง
โดยรายได้หลักของ NBA มาจาก 4 ช่องทางด้วยกันคือ
1. ค่าลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสด
รายได้ส่วนนี้ ถือเป็นรายได้หลักของ NBA ซึ่งในปี 2016 NBA ได้มีการเซ็นสัญญากับสื่อกีฬายักษ์ใหญ่ของสหรัฐอเมริกาอย่าง ESPN และ Turner Sports ด้วยสัญญา 9 ปี มูลค่าราว 720,000 ล้านบาท
หรือเฉลี่ยปีละ 80,000 ล้านบาท สำหรับการถ่ายทอดสดการแข่งขันของ NBA
โดยสัญญานี้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 180% จากสัญญาเดิมที่ได้ 29,000 ล้านบาทต่อปี
และแต่ละทีมสามารถเซ็นสัญญาถ่ายทอดสดกับสื่อท้องถิ่นได้อีกด้วย
นอกจากนี้ NBA ยังมีระบบสตรีมมิง ชื่อว่า NBA League Pass ที่ให้ผู้ชมสามารถเลือกซื้อได้ทั้งแบบ รายสัปดาห์ รายเดือน และรายปี ทำให้ผู้ชมทั่วโลกสามารถรับชมการแข่งขันได้แบบถูกลิขสิทธิ์
2. ลิขสิทธิ์ทางด้านสินค้าและการสนับสนุนจากสปอนเซอร์
ถึงแม้จะไม่ใช่รายได้ที่มีสัดส่วนที่มาก แต่ก็มีสินค้าหลากหลายแบรนด์ที่พร้อมจะร่วมสนับสนุนกับ NBA
อย่างเช่น การซื้อป้ายโฆษณาบนเสื้อนักกีฬา ซึ่งป้ายดังกล่าวมีขนาดประมาณบัตรประชาชนเท่านั้น แต่กลับมีมูลค่าที่สูงมาก
ในปี 2019 ป้ายแบรนด์เหล่านี้ทำรายได้ให้กับ NBA กว่า 4,500 ล้านบาท
อย่างเช่น Rakuten แบรนด์ E-commerce จากญี่ปุ่น ที่ยอมจ่ายถึง 600 ล้านบาทต่อปี
ให้กับทีม Golden State Warriors เพื่อซื้อโฆษณาบนเสื้อดังกล่าว
หรือจะเป็นสัญญากับ Nike แบรนด์เสื้อผ้ากีฬาอันดับหนึ่งของโลก
ที่ยอมจ่าย 30,000 ล้านบาทให้กับ NBA เพื่อแลกกับสิทธิ์ในการผลิตและจัดจำหน่ายชุดบาสเกตบอลของ NBA ทั้ง 30 ทีมเป็นระยะเวลา 8 ปี ซึ่งมีมูลค่าเพิ่มขึ้น 2.5 เท่าของสัญญาเดิมที่เคยทำร่วมกับ Adidas
และ Nike จะต้องจ่ายค่าเครื่องแต่งกายของนักกีฬาใน NBA เป็นมูลค่ากว่า 3,750 ล้านบาทต่อปี ซึ่งคาดว่ามากกว่าที่ Adidas เคยจ่ายให้ถึงเท่าตัว เช่นกัน
3. รายได้จากการจำหน่ายตั๋วเข้าชมในสนาม
น่าแปลกใจที่รายได้ส่วนนี้กลับไม่ใช่รายได้หลักของแต่ละทีม เนื่องจากปัจจุบัน ผู้ชมสามารถรับชมผ่าน ระบบออนไลน์ได้ทุกที่ แต่มีรายงานว่าในฤดูกาล 2019/2020 ค่าใช้จ่ายในการเข้าชมการแข่งขัน 1 เกมสำหรับครอบครัว 4 คน ซึ่งรวมค่าใช้จ่ายหลัก ๆ เช่น ค่าตั๋ว ค่าที่จอดรถ และบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตกเฉลี่ยเกมละ 13,000 บาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 2.5% จากฤดูกาลก่อนหน้า
4. รายได้จากต่างประเทศ
NBA ได้มีการขยายตลาดไปยังต่างประเทศมาหลายปีแล้ว และได้กลายมาเป็นรายได้สำคัญของลีก โดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งมีการประเมินว่า NBA มีรายได้จากประเทศจีนปีละกว่า 15,000 ล้านบาท ตัวเลขนี้รวมถึงดีลระหว่าง NBA กับ Tencent บริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของจีนด้วยสัญญา 5 ปี 45,000 ล้านบาท
ในการเป็นพาร์ตเนอร์ที่ได้รับสิทธิ์ในการถ่ายทอดสดการแข่งขันจาก NBA เพียงรายเดียวในจีน
และกลยุทธ์สำคัญที่ผลักดันให้ NBA สามารถขยายไปยังต่างประเทศได้
ก็คือการเปิดรับนักกีฬาต่างชาติเข้ามาในลีกมากขึ้น โดยในฤดูกาล 2019/2020 มีจำนวนนักกีฬาที่ไม่ได้ถือสัญชาติอเมริกันกว่า 108 คน จาก 38 ประเทศ ซึ่งคิดเป็น 4 เท่าของฤดูกาล 1994/1995
กลยุทธ์นี้ได้ช่วยเพิ่มฐานคนดูของ NBA ในต่างแดน เพราะสำหรับบางประเทศที่กีฬาบาสเกตบอลยังไม่เป็นที่นิยม และไม่มีทีมที่คุ้นเคยไว้ตามเชียร์ คนดูก็สามารถเริ่มต้นได้ด้วยการเชียร์นักกีฬาของประเทศตัวเอง
ถึงตรงนี้ก็คงบอกได้ว่า NBA คือองค์กรที่มีโมเดลธุรกิจที่หลากหลาย
เป็นตัวอย่างขององค์กรที่พร้อมเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งที่ดีกว่า
และกระตุ้นให้มีการแข่งขันกันเองภายในลีกอยู่ตลอดเวลา
นำมาซึ่งผลงานที่น่าประทับใจแก่คนดูและเจ้าของทีมเอง
ก็เป็นที่น่าติดตาม ว่าถ้าหาก NBA เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
จะมีมูลค่าเท่าไร และในอนาคตจะมีอะไรใหม่ ๆ มาให้เราได้ศึกษา
แต่ดูเหมือนว่าทุกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
นอกจากจะทำให้ผู้ชื่นชอบบาสเกตบอลสนุกขึ้นแล้ว
มันก็ยังได้กลายมาเป็นโครงสร้างที่แข็งแกร่ง จน NBA สามารถเติบโต
จากวันที่เหลือเพียง 8 ทีมในปี 1955 จนกลายมาเป็นธุรกิจ
ที่มีมูลค่าตลาด 2 ล้านล้านบาทไปแล้ว นั่นเอง..
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
Joseph Tsai ผู้ร่วมก่อตั้งและรองประธานบริหารของ Alibaba Group
ได้เข้าซื้อทีม Brooklyn Nets ในปี 2019 ด้วยจำนวนเงิน 70,500 ล้านบาท
ซึ่งถือว่าเป็นมูลค่าที่มากที่สุดในประวัติศาสตร์การซื้อทีมกีฬาของสหรัฐอเมริกา..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.investopedia.com/articles/investing/070715/nbas-business-model.asp
-https://www.investopedia.com/articles/personal-finance/071415/how-nba-makes-money.asp#citation-9
-https://www.forbes.com/sites/kurtbadenhausen/2021/02/10/nba-team-values-2021-knicks-keep-top-spot-at-5-billion-warriors-bump-lakers-for-second-place/?sh=2ea4a89645b7
-https://www.statista.com/statistics/193467/total-league-revenue-of-the-nba-since-2005/
-https://www.nba.com/news/nba-rosters-feature-108-international-players-2019-20
-https://bleacherreport.com/articles/1039092-nba-revenue-sharing-small-market-teams-to-benefit-from-new-sharing-structure
-https://nba.nbcsports.com/2015/06/10/nike-to-replace-adidas-as-official-maker-of-nba-uniforms-apparel/related/
-https://www.netsdaily.com/2019/8/15/20806783/with-joe-tsai-purchase-confirmed-nets-incredible-summer-continues
-https://www.history.com/this-day-in-history/nba-is-born
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過15萬的網紅pennyccw,也在其Youtube影片中提到,-- Kurt Thomas was so happy to be staying with the New York Knicks, he almost couldn't miss. Thomas celebrated the passing of another uneventful trad...
「nba international players」的推薦目錄:
nba international players 在 Facebook 的最讚貼文
‘A Note to Harmonica Folks’
What’s next?
Since the day I was born, I have known the most prestigious harmonica competition in the world, The World Harmonica Festival (WHF). Every harmonicist around me see this as the olympics of harmonica, especially when they are both held once every four years.
My father’s ensemble King’s Harmonica Quintet was one of the very first few Asians harmonicist that appeared in the competition in Germany after the format of the competition turned from taped recording to live performance. In 1997, 3 years after I was born, they won their ‘World Championship’ in the WHF. I witnessed it.
It was a historical moment not only because was it a massive honour to be crowned in such reputable competition, it was the period when Asian harmonicists were approved by the Western.
Since then, the global harmonica community started to merge and interact. While harmonicists from the West continue to develop their artistry and career under a relatively strong cultural foundation for instrumental music, harmonica music to be exact, by virtue of the legends such as Tommy Reilly, Larry Adler, Toots Thielemans, Asians harmonicists struggle to further their artistry without the corresponding cultural foundation. A market for harmonica music in Asia simply do not exist.
Nevertheless, Asian culture values diligence and discipline. With the competition as the highest possible way to be rewarded as we develop our artistry, countless players began working day and night towards this very, if not only, visible goal.
Up till this day, you’d be surprised if there aren’t any Asian standing on the prizing podium in the international harmonica festivals. According to a Facebook post of the renowned Taiwanese Harmonicist in 2013, Lee Hsiao-ming, ‘If you show up at a harmonica festival, you can easily be surrounded by a group of ‘World Champion’s all queuing up for that plate at the buffet.’ Be him a chord harmonica player from an ensemble, a soloist at the open category or a 10 year old kid from the youth category… all claiming to be the ‘World Champion’.
Now the question is, Is the ‘World Champion’ in 1997 still the same ‘World Champion’ now? Or are we unconsciously abusing the only system we can count on to gain qualification to ourselves?
As Gerhard, the president of the World Harmonica Festival, has also repeatedly emphasized before, champion of any event of the WHF competition should NOT claim himself / herself as the World Champion. It should properly be addressed as Champion of the " XXX event" of the World Harmonica Festival.
While varies important figures in the global harmonica community started participating in this fierce debate, I was curious about the root of this controversy.
Would anyone accused Usian Bolt of abusing his Olympic gold medals to pursue further in his career? Would anyone question Danill Trifonov’s artistry if he claim himself the winner of Chopin Piano Competition? Could Michael Jordon ever obtain a ‘fake’ NBA championship?
Obviously, there is nothing wrong about winning and taking pride off an award. The real issue instead lies in the opposite side of the question. Is the existing harmonica competition rigorous enough to qualify the winner a ‘World Champion’? Or, should a ‘World Champion’ even exist in a musical setting?
In order to understand what a truly rigorous musical competition is, we began digging into the competitions of all instruments at the highest calibre. For instance, when studying the difference of the format of the International Tchaikovsky Competition with the World Harmonica Festival, we have realised how far behind the harmonica competition is constructed. I won the Solo Championship in the World Harmonica Festival 2013 only by playing a total of 10 minute of music. While a contestant at the qualifying round at the Tchaikovsky Competition would already have to prepare up to 30 minute of music. Meanwhile, not a single competition in the classical world would claim themselves the competition of the best. It seems like the title ‘World Champion’ could only be justified when it’s within sports, where the result can be calculated and compared. We can’t calculate art.
We have came a long way since the harmonica was invented 150 years ago. And I’m extremely excited to see new generation of player arising from all around the world. Nevertheless, while festivals are taking a pause during covid, we should make the best use of this period of time and rethink about how we could contribute to the culture and further bring our instrument to the next level.
So, what’s next? 🤔
nba international players 在 美國在台協會 AIT Facebook 的最讚貼文
你知道有不少前NBA球員加入台灣的男子職業籃球聯盟P. LEAGUE+嗎?今天要介紹三位新竹街口攻城獅隊的球員:狠投、塔壁與大勝(下圖由左至右)。塔壁與大勝曾在NBA打球,而狠投則曾效力於NBA G聯盟。體育交流是建立美台友好人民關係的重要一環,國際交流也為體育界注入多元活力、帶來嶄新視野。持續關注AIT,期待我們近期推出的體育交流活動喔!
Did you know there are quite a few former NBA players in Taiwan’s professional basketball league (P. LEAGUE+)? Today we are introducing three players from the Hsinchu JKO Lioneers: LaDontae Henton, Hasheem Thabeet, and Branden James Dawson. Hasheem and Branden used to play in the NBA, and Ladontae played in the NBA G League. Sports exchanges are an important way the U.S. and Taiwan built the strong people-to-people ties we enjoy today. International exchange also brings diversity and new perspectives to our athletic institutions. Stay tuned for more exciting news about AIT’s sports diplomacy programs!
nba international players 在 pennyccw Youtube 的最讚貼文
-- Kurt Thomas was so happy to be staying with the New York Knicks, he almost couldn't miss.
Thomas celebrated the passing of another uneventful trading deadline -- at least for him -- by scoring 21 points on 10-for-11 shooting to lead the New York Knicks past the Philadelphia 76ers 113-101 Thursday night.
"I haven't been moved yet, so I might end up finishing my career here," said Thomas, whose name was mentioned most frequently in pre-deadline trade speculation.
Thomas also grabbed 12 rebounds, and Tim Thomas shot 10-for-14 and scored 27 points for New York.
Philadelphia, which had only eight players in uniform -- none of them named Chris Webber -- was led by Allen Iverson's 29 points. Webber, acquired late Wednesday night from Sacramento, will make his Philadelphia debut Saturday against his old team, the Kings. He did not travel with the Sixers.
Stephon Marbury had 17 points and 12 assists, and Jamal Crawford added 16 points and nine assists for New York, which also was short-handed after trading Nazr Mohammed, Moochie Norris, Vin Baker and Jamison Brewer earlier in the day.
The Knicks outscored Philadelphia 32-22 in the fourth quarter to secure the win. Tim Thomas had 14 points in the final period, going 3-for-3 on 3-pointers, while Kurt Thomas had 12 on 6-for-6 shooting.
"If we play (power forward and center), it's going to be hell on people because we're such good shooters," Tim Thomas said. "It's going to force guys that aren't used to coming out of the paint to have to come out and try and contain us."
Philadelphia, which needed to have eight players in uniform, brought journeyman Jason Lawson to New York in case an extra body was necessary. But Rodney Rogers -- acquired from New Orleans earlier in the day in a three-player trade -- flew to New York aboard Hornets owner George Shinn's private jet and arrived at the arena less than an hour before tipoff, prompting the Sixers to send Lawson home.
Rogers scored just six points in 20 minutes, and he missed a 3-pointer and a layup on Philadelphia's first two possessions of the fourth quarter as the Knicks opened the period with an 8-0 run to take an 89-79 lead.
Philadelphia closed within five before Kurt Thomas hit a pair of corner jumpers, making him 9-for-10 from the field and giving the Knicks a nine-point lead with 6:30 left. Tim Thomas added three 3-pointers over the final 4:20.
"I don't care who is on our basketball team," 76ers coach Jim O'Brien said. "Our team has to make a decision, at some point and time, that we are going to pay the price and be a good defensive basketball team.
"You defend, you win. If you don't, you lose," O'Brien said.
Kurt Thomas started at center and is expected to man that position for the remainder of the regular season.
He spoke with Isiah Thomas on the telephone after the 3 p.m. trade deadline passed, and the Knicks' president reminded him he kept his word by not dealing him away.
"I hear (trade rumors) every year," Kurt Thomas said. "Wouldn't you be interested in what I do out there?"
Game notes
Five members of the International Olympic Committee's selection delegation, who finished a four-day inspection visit to New York earlier in the day, sat front and center on celebrity row -- the best seats in the house. One of the delegates held his hands out when the Knicks' dancers were throwing T-shirts into the stands during the fourth quarter, but he didn't get the freebie. ... Despite their shortage of big men and bodies, the Knicks did not use 7-foot-2 center Bruno Sundov.
nba international players 在 Stopkiddinstudio Youtube 的最佳貼文
不要鬧粉絲團: https://goo.gl/YGbHmr
請訂閱不要鬧: https://goo.gl/5Yx5cE
訂閱第二頻道: https://goo.gl/KZ1QU1
波蘭妙雅: https://goo.gl/MzLhEh
法國宇潔: https://goo.gl/m06Xno
德國紅豆餅妹雪兒: https://goo.gl/xWQDOj
空拍+協拍團隊: 相信印象 https://www.facebook.com/chadlens.tw
法國音樂家狄文斯: https://www.facebook.com/divyns
音樂: https://soundcloud.com/divyns (Mal-à-la-tête)
贊助商: 微克詩國際事業有限公司