#20210522下午兩點有再更新
#唯恐天下不亂
#沒有狗貓回傳人的正式結果
#這個報導講的不是現在的COVID19
#冠狀病毒是大家族
#從曾祖父到表姑媽都分布在各種生物上
#人類自己造的孽不要一直回推到狗貓身上好嗎
#講到我都累了
#如果覺得自己不舒服就不要一直去蹭你家貓狗
#你也想一下牠們有沒有想要你蹭牠嘛
#保持距離顧好自己並不難
#目前有蘋果中天TVBS下標恐慌製造中嗎
繼某個不查論文不讀書,不知所云的人,在自己投資者下的平面媒體寫了篇業配文後,急忙忙刪了原始文章,發了個給我的文,我也懶的看,又臭又長,都不肯回答哪來的reference,看來是亂講話~🙄
現在又有新的唯恐天下不亂報導,這次換狗了,說是杜克大學在馬來西亞的兒童醫院,從在治療肺炎的病患身上,發現新興的冠狀病毒,疑似是狗狗的冠狀病毒。
欸⋯不過齁,那是2017、2018的案例,而且當時的人類病患都是從肺炎復原後就回家了。
再畫重點:
They used this tool on nasal swab tests taken from pneumonia patients from the hospital in Sarawak, Malaysia, and found that eight of 301 samples appeared to have a canine virus.
「他們在馬來西亞沙撈越州醫院的肺炎患者的鼻拭子測試中使用了該工具,結果發現301個樣本中有8個似乎含有犬病毒。」
喂!只有「8個」有分離到啊啊啊啊啊啊啊啊啊!
附上原始的英文連結,煩請新聞從業人員在報導時,多請教獸醫學院專業教授們,若找了不讀書又不查論文的,就請自行負責採用不專業人士的言論的後果,以免賠上300萬跟得到滿滿的負評。
“From that, they determined that the virus, which they called CCoV-HuPn-2018.”
原文如下:
https://www.straitstimes.com/world/united-states/canine-coronavirus-detected-in-malaysian-patients-study
—
網友補充的科普內容:
冠狀病毒是很大的家族,犬貓本來就會感染普通的冠狀病毒
而且新型冠状病毒(2019-nCoV)為β屬,寵物猫狗,犬冠狀病毒(CCoV)和猫冠狀病毒(FCoV)為α属。不會交叉感染。
網友接力再更新:
在貓也有ACE2接受體。(難怪貓會被人陷害到~別再吸貓啦!)
The expression of the ACE2 receptor in enteric neurons may support the potential neurotropic properties of SARS-CoV-2. Although the evidence of ACE2-IR in the feline GIT does not necessarily indicate the possibility of viral replication and SARS-CoV-2 spread with stool, the findings in the present study could serve as an anatomical basis for additional studies considering the risk of the SARS-CoV-2 fecal-oral transmission between cats/felids, and between cats/felids and humans.
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「receptor potential」的推薦目錄:
- 關於receptor potential 在 關心羚 獸醫師 Facebook 的最佳解答
- 關於receptor potential 在 打臉名嘴 Facebook 的最讚貼文
- 關於receptor potential 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
- 關於receptor potential 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於receptor potential 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
- 關於receptor potential 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
receptor potential 在 打臉名嘴 Facebook 的最讚貼文
如果武漢肺炎是人造病毒,那我覺得造出這病毒的目的一定是讓人類絕種。
———————————————
Trending Clinical Topic: Fertility
(right)最近,一些小型屍檢研究已經探索了SARS-CoV-2對男性生育力的影響。
(right)來自佛羅里達的研究人員比較了死於COVID-19的六名和死於其他原因的三名男性的睾丸組織。 他們發現COVID-19世代研究的三名成員受到傷害,損害了精子的產生。
(right)他們注意到ACE2 receptor水平與產生精之間呈負相關。這些發現與今年早些時候來自中國的一份報告類似。 該研究發現,在因COVID-19死亡的12名男性中,睾丸的基本細胞遭到了“嚴重破壞”。
(right)挪威研究人員目前正在進一步研究新型冠狀病毒對精子的作用。 該團隊正在研究messenger RNA,以尋找有關感染引起的基因改變,如何改變免疫系統中涉及的蛋白質生產以及對生育能力和未來後代的潛在影響的線索。 希望這些發現可以指導那些患有COVID-19的人,在想生孩子之前應等待多長時間。
https://reference.medscape.com/viewarticle/942105 (Dec. 11, 2020)
receptor potential 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
"เจ็บคอ ตกลงควรกินของเย็นหรือของร้อน ดีกว่ากัน ? "
เวลาไม่สบาย ถ้าแค่เป็นหวัด คัดจมูก น้ำมูกไหล ก็ยังพอสู้ไหว กินยาลดน้ำมูก แป้บเดียวก็ดีขึ้น แต่ที่ทรมานกว่านั้นคือ ถ้ามีอาการ "เจ็บคอ" ด้วย จะลำบากกับชีวิตของคนที่มีอาชีพต้องใช้เสียงพูดอยู่ทุกวัน ... ปัญหาคือ เวลาเจ็บคอ เริ่มสับสนในคำแนะนำสมัยนี้ ทั้งมีทั้งคนสั่งห้ามกินน้ำเย็น-ให้กินแต่น้ำอุ่น ไปจนถึงให้กินน้ำเย็นได้ หรือกินไอศกรีมยิ่งดี ... ตกลงว่าอย่างไหนดีกว่ากัน กันแน่ ?
คำตอบคือ ให้ดูก่อนว่าเจ็บคอด้วยสาเหตุอะไร แล้วค่อยหาทางลดอาการเจ็บคอนั้น ให้เหมาะสมกับสาเหตุ
คุณหมอ ธเนศ แก่นสาร จากภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้อธิบายไว้ในรายการ RAMA CHANNEL (https://youtu.be/6_QQTNUHSKM) ว่า
กรณีแรก ถ้าเจ็บคอเพราะเป็นหวัด ต้องดูก่อนว่าเป็นหวัดตามฤดูกาล ธรรมดาๆ ที่เกิดจากเชื้อไวรัส หรือว่าเป็นหวัดแล้วมีการติดเชื้อแบคทีเรียด้วย
ถ้าเป็นหวัดเนื่องจากเชื้อไวรัส ทำให้มีน้ำมูกไหล ไอจาม เสมหะเยอะ แบบนี้ควรเลือกจิบน้ำอุ่นจะดีกว่า เพราะน้ำอุ่นช่วยละลายเสมหะได้ การดื่มน้ำมากๆ ยังช่วยลดการระคายเคืองของคอ และบรรเทาอาการไอได้ .. โดยไม่ต้องกินยาปฏิชีวนะ ยาฆ่าเชื้อโรคอะไร เพราะยาไม่สามารถจะไปฆ่าเชื้อไวรัสได้
แต่ถ้าเป็นหวัดเนื่องจากเชื้อแบคทีเรีย ทำให้อาการเจ็บคอเพราะคออักเสบ (สังเกตว่ามีน้ำมูก มีเสมหะสีเขียว) ก็ควรจะไปพบแพทย์ และกินยาฆ่าเชื้อตามที่หมอสั่ง กินยาให้ตรงเวลาและให้กินจนหมด แม้ว่าจะอาการดีขึ้นแล้ว เพื่อลดความเสี่ยงของการดื้อยา
กรณีที่สอง ถ้าการเจ็บคอนั้น เกิดจากการ "ทอนซิลอักเสบ (tonsillitis)" ซึ่งต่อมทอนซิลในคอ มีการติดเชื้อโรค จนทำให้อักเสบ บวมแดง หรือเป็นหนอง นอกจากจะต้องกินยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อตามที่หมอสั่งให้แล้ว ควรดื่มน้ำเย็น หรือกินไอศกรีม เพื่อรีบลดอาการบวม อักเสบของต่อมทอนซิลที่เกิดขึ้น
นอกจากนี้ ไม่ว่าจะกรณีใดก็ตาม เราควรจะงดกินของมันและของทอดเมื่อมีอาการเจ็บคออีกด้วย เพราะอาหารที่มันและอาหารทอด อาจทำให้อาการบวมอักเสบนั้น แย่ลงได้
แล้วงานวิจัยในปัจจุบันนี้ พอจะตอบได้มั้ยว่า กินของเย็นหรือกินของร้อน อย่างไหนจะช่วยลดการเจ็บคอได้ดีกว่ากัน ? .. เพื่อตอบคำถามนี้ เราควรเริ่มด้วยการดูกลไกของการเจ็บคอก่อน ว่าเกิดขึ้นอย่างไร
เวลาที่เราเป็นไม่สบาย ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายเราจะตอบสนองต่อเชื้อโรคที่เข้ามา โดยแมคโครฟาจ (Macrophage) ซึ่งเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดที่คอยลาดตระเวนตรวจจับสิ่งแปลกปลอมอย่างเชื้อไวรัสและเชื้อแบคทีเรีย จะปล่อยสารที่ส่งสัญญาณด้านภูมิคุ้มกัน ออกมากระตุ้นการรับมือกับเชื้อโรค สารดังกล่าวมีชื่อว่า แบรดดี้ไคนิน (bradykinin) และ พรอสตาแกลนดิน อีทู (prostaglandin E2) ซึ่งมันไปกระตุ้นปลายเส้นประสาทที่คอหอยของเรา และทำให้เกิดอาการเจ็บคอขึ้น
ศาสตราจารย์ รอน เอ็คเคิ้ลส์ จากศูนย์โรคหวัดทั่วไป (Common Cold Centre) ในสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (School of Biosciences) แห่งมหาวิทยาลัยคาร์ดิฟฟ์ ได้อธิบายไว้ว่า การกินของเย็นๆ อย่างไอติมหวานเย็น (ice pops) นั้น ช่วยแก้อาการเจ็บคอได้ดี เพราะมันจะทำให้เนื้อเยื่อตรงที่อักเสบในคอนั้น เย็นขึ้น และน่าจะช่วยยับยั้งเส้นประสาทที่รับความเจ็บปวดในลำคอ
ศาสตรจารย์เอ็คเคิลส์ เคยตีพิมพ์บทความเรื่อง A review on the mechanism of sore throat in tonsillitis ในวารสาร The Journal of Laryngology & Otology เมื่อปี 2013 ว่า ไอติมหวานเย็น ช่วยลดอุณหภูมิของปลายเส้นประสาทในคอหอย จึงลดสัญญาณความเจ็บปวดลงได้ แถมยังช่วยกระตุ้นตัวรับสัญญาณ (receptor) ที่ชื่อว่า transient receptor potential melastin 8 ซึ่งสามารถลดความเจ็บปวดลงได้ด้วย
แต่ศาสตรจารย์เอ็คเคิลส์ ก็บอกด้วยว่า การดื่มเครื่องดื่มร้อนๆ นั้น กลับให้ผลดีที่สุด !! เค้าบอกว่า เวลาที่เราเจ็บคอนั้น เมื่อดื่มเครื่องดื่มชนิดต่างๆ เข้าไป รสชาติของเครื่องดื่มนั้นจะช่วยกระตุ้นให้น้ำลายไหลมากขึ้น และน้ำลายจะเข้าไปช่วยหล่อลื่นภายในลำคอ
จากงานวิจัยของเขา เรื่อง The effects of a hot drink on nasal airflow and symptoms of common cold and flu ตีพิมพ์ในวารสาร Rhinology เมื่อปี 2008 ซึ่งศึกษาผู้ป่วยเจ็บคอ จากไข้หวัดธรรมดา (ไม่ใช่ทอนซิลอักเสบ) จำนวน 30 ราย พบว่า การดื่มเครื่องดื่มที่ร้อน เช่น น้ำผลไม้ร้อน (ไม่ได้เขียนชัดว่า ผลไม้อะไร) ช่วยให้ผู้ป่วยลดอาการเจ็บคอได้เร็วกว่า และเป็นระยะเวลาที่นานกว่า
ที่เป็นเช่นนี้ น่าจะเป็นเพราะว่า เครื่องดื่มร้อนๆ นั้นจะมีรสชาติที่น่ากินมากกว่าเครื่องดื่มเย็น เลยยิ่งทำให้การหลั่งของน้ำลายเกิดมากขึ้น และน่าจะไปเพิ่มระดับของสารระงับอาการเจ็บปวด เช่น พวกโอพิออยด์ (opioid) ในศูนย์ความเจ็บปวดของสมองได้ ซึ่งจะส่งผลมากขึ้นตามมา ในการลดอาการเจ็บคอ
(ข้อมูลจาก https://www.medicalnewstoday.com/articles/319896.php#3)