Hello July 🌞🌻
1. July was originally the month of Quintilis in the Roman calendar. It was the fifth month of the year until January and February were added in 450 BC. It got its original name from the Latin word for fifth. Later the name was changed to Julius in honor of Julius Caesar who was born on July 12.
2. July’s weather is different in two hemispheres of the world. In the Northern hemisphere, the weather is at the peak with the highest temperature whereas, in the Southern hemisphere, it’s exactly opposite.
3. ITS MY BIRTHDAY MONTH 🌻🌻🌻
#summerchild #julyborn #juli #julai #sunshine🌞 #4thofjuly #midyear #shawrmint #malaysianblogger #malaysianbloggers
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過134萬的網紅Point of View,也在其Youtube影片中提到,อ้างอิง - Bikos, Konstantin และ Hocken, Vigdis. “The Roman Calendar” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.timeanddate.com/calendar/roman-calendar....
roman calendar 在 The Wild Chronicles - ประวัติศาสตร์ ข่าวต่างประเทศ ท่องเที่ยวที่แปลก Facebook 的最佳貼文
เรื่องจากกรุ๊ป การสังเวยของชาวแอซเท็ก
#การสังเวยชีวิตและบูชายัญมนุษย์ของชาวเอซเทค Aztec sacrifice
ประวัติแรกเริ่มของชาวเอซเทคนั้นไม่มีความชัดเจนเท่าใดนัก แต่คาดว่าน่าจะเป็นพวก nomadic tribe จากตอนเหนือของแมกซิโกที่เรียกว่า Aztlan หรือ “White Land” ในช่วงศรรตวัตที่ 13 มีเมืองหลักคือ Tenochtitlan จึงเรียกตัวเองว่าชาว Tenochca หรือ Mexica
เล่าขานกันมาว่า เมื่อชาวเอซเทคเห็นนกอินทรีไปเกาะต้นกระบองเพชร ในพื้นที่น้ำขังทางตอนใต้ของทะเลสาบ Texcoco พวกเขาถือว่าเป็นนิมิตรหมายอันดีที่จะตั้งรกราก จึงหาทางระบายน้ำออกแล้วสร้างพื้นที่เพาะปลูกที่เมือง Tenochtitlán ในปี 1325 โดยมีพืชผลหลักคือข้าวโพด ถั่ว มันฝรั่ง มะเขือเทศและอโวคาโด รวมไปถึงการล่าสัตว์ เช่น กระต่าย งู ไก่งวงป่า ตกปลา มีเทคนิคทางการเกษตรขั้นสูง และกองทัพที่ยิ่งใหญ่จนสามารถตั้งจักรวรรดิได้ จากเดิมที่เป็นแค่รัฐ มีความโดดเด่นทางโครงสร้างสังคม การเมือง ศาสนา และการชวนเชื่อที่แข็งแกร่งอันนำมาซึ่งรัฐศาสนาภายใต้อำนาจของเอซเทคช่วงศรรตวัตที่ 15 ก่อนจะถูกสเปนภายใต้การนำของ Hernan Cortes โจมตีและยึดเมือง Tenochtitlan ไว้ได้ในปี 1521 จึงเป็นที่สิ้นสุดของวัฒนธรรม Mesoamerica นับแต่นั้น
ชาวเอซเทคมีความเชื่อว่า มนุษย์ทุกคนติดค้าง”หนี้เลือด/ชีวิต”ต่อพระเจ้า และเพื่อหลีกเลี่ยงภัยหรือความเลวร้ายต่างๆ ก็ช่วยไม่ได้ที่จะต้องสังเวยอะไรสักอย่างคืนให้พระเจ้าไป ดั่งเพลงโบราณของชาวเอซเทคที่ว่า ”Huitzilopochtli (พระแห่งสงครามและดวงอาทิตย์)มาก่อนอื่นใด เขาไม่เหมือนใคร ข้าไม่อาจจะสรรเสริญพระองค์ได้ดีมากพอแม้จะยืนแถวหน้าด้วยเครื่องแต่งกายของบรรพบุรุษเรา – ข้าจึงเปล่งประกาย” จาก The Hymn of Huitzilopochtli แปลโดย Daniel G. Brinton
พระเจ้าของชาวเอซเทคมักจะเกี่ยวข้องกันกับเวลา ทิศทาง หรือสีสัน โดยทั่วๆไปแล้วชาวเอซเทคกลัวเรื่องวันสิ้นโลก และเรื่องเหนือธรรมชาติสำหรับพวกเขาที่พวกเขายังหาคำตอบไม่ได้ในเวลานั้น วิธีบูชาเล็กๆ ก็อาจจะแค่เอาอะไรทิ่มแทงตัวให้มีเลือดออก แต่การสังเวย Huitzilopochtli หรือองค์ที่มีความยิ่งใหญ่และสำคัญอื่นๆ จำต้องถึงชีวิต เพื่อให้ทุกสิ่งยังคงดำเนินตามปรกติ เช่น สังเวยเพื่อให้พืชผลงอกงาม เพื่อให้ฝนตก หรือเพื่อให้พรุ่งนี้พระอาทิตย์ขึ้นเหมือนเดิม เป็นต้น และการนับปฏิทินของพวกเขานั้น มีพื้นฐานมาจาก Mayan calendar อันประกอบด้วยรอบพิธีกรรมทุกๆ 260 วัน และรอบปรกติที่ 365 วัน รอบพิธีนั้นมี 2 วงโคจร มีหน้าที่บอกชื่อวันจำนวน 20 วัน และจัดลำดับวันที่ 1-13 ในวงจรของ 13 วันนี้มีความเกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรมทางศาสนาอันเกี่ยวเนื่องกับเทพแต่ละองค์ ซึ่งเป็นที่มาหรือเกี่ยวพันกับชื่อของวัน ส่วนรอบปฏิทินปรกตินั้นมี 20 วันต่อ 1 เดือน และ 18 เดือนต่อ 1 ปี แต่ละเดือนก็มีรายละเอียดที่ต่างออกไป เช่น เดือน IX (9) Tlaxochimaco เทพHuitzilopochtli, Tezcatlipoca และ Mictlantecuhtli จะต้องบูชาด้วยการอดอาหาร หรือเดือน XII(12) อันเป็นเดือนแห่งเทพ Xochiquétzal จะต้องทำพิธีสังเวยด้วยไฟ เป็นต้น และทุกๆปีนั้นจะมีวันที่เพิ่มมา 5 วันเรียกว่า nemontemi หรือวันซวยแห่งปี และทั้งสองปฏิทินจะมาโคจรวงจนบรรจบครบกันทุกๆ 52 ปี เรียกว่า New Fire Ceremony ซึ่งจะมีการฉลองใหญ่
ดังนั้นมันจึงฟังเหมือนกับว่าการบูชาเทพเจ้าของชาวเอซเทคคือสิ่งจำเป็น ตัวผู้ถูกสังเวยจะถูกทาสี นำตัวไปยังแท่นแล้วควักเอาหัวใจออกมา ก่อนจะชูไปที่ท้องฟ้าเพื่อให้องค์ Huitzilopochtli พอใจ ส่วนร่างที่เหลืออาจจะถูกโยนลงไปในปิรามิดหรือวิหาร เอาไปให้สัตว์กิน เป็นของขวัญแก่ผู้มีอำนาจ หรือเก็บเฉพาะส่วนหัวไว้ตกแต่งสถานที่ การสังเวยอาจจะไม่ใช่แค่วิธีควักหัวใจอย่างเดียว แต่อาจจะเป็นการยิงผู้ถูกสังเวยด้วยธนู จับกดน้ำ เผา หรือทำให้เป็นชิ้นๆ การต่อสู้แบบ Roman gladiators ก็มีเช่นกันเพื่อบูชาเทพเจ้าเหล่านี้ ซึ่งน่าจะมีราวๆ ร้อยกว่าเทพ จึงเป็นสิ่งสำคัญดั่งตั๋วเบิกทางเพื่อจะได้ไปโลกหน้าและมีชีวิตหลังความตายได้สะดวกขึ้นและเป็นพร ส่วนการกินเนื้อมนุษย์ของชาวเอซเทคนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะเพราะร่างเหล่านั้นได้ “สัมผัส” กับเทพแล้วจึงถือว่า “holy” และเป็นเกียรติแก่ผู้ได้ลิ้มรส
ในฤดูใบไม้ผลิ จะเป็นเด็กๆที่ถูกสังเวยต่อองค์ Tlaloc เทพแห่งการเกิดใหม่และการเกษตร เพื่อขอให้ฝนตกและพืชผลเจริญเติบโต หากเด็กเกิดร้องในพิธีขึ้นมา แปลว่าจะมีฝนตลอดปี ดังนั้นจึงต้องหาอะไรแหลมๆ มาแทงเด็กเรื่อยๆ เพื่อให้ร้องไห้
ส่วนการบูชาเจ้าแม่ข้าวโพด ( the maize goddess ) นั้น ผู้หญิงจะแต่งตัวเป็น Xilonen ตามแบบดั้งเดิมแล้วก่อไฟเผาชาย 4 คนที่เป็นเชลยตรงหน้าทั้งเป็น แล้วตัวเธอจะถูกสังเวยต่อด้วยการโดนตัดหัวบนร่างของ 4 คนที่โดนเผานั้น เพื่อให้เลือดเธอโชติช่วงอยู่ในกองไฟ
สำหรับเทพ Tezcatlipoca ซึ่งเป็นเทพแห่งพลัง ราตรี โชคชะตา และทิศเหนือ ผู้ถูกสังเวยจะต้องสู้แบบโรมันกับอัศวินจากัวร์และนักรบอินทรีที่มาพร้อมเกราะเต็มยศถึง 4 คนด้วยอาวุธเห่ยๆ จึงเป็นอันสรุปได้ว่าไม่น่าจะรอด ผู้ถูกสังเวยต่อเทพ Tezcatlipoca อีกแบบอาจจะเป็นคนรุ่นๆ ที่ต้องแต่งตัวเลียนแบบเทพองค์นี้ตลอดทั้งปี เสมือนดั่งตัวแทนเทพมาจุติบนโลก อาจจะได้รับรางวัลเป็นหญิงสาว 4 คนไว้ปรนิบัติจนกว่าจะถึงเวลาบูชายัณ
ว่ากันว่า แม้จะเป็นเรื่องยากที่จะคาดเดาว่ามีผู้ที่สังเวยชีวิตไปเท่าไหร่กันแน่ แต่ในปี 1487 มีการบูชาครั้งใหญ่เป็นเวลา 4 วันที่ the great Templo Mayor มีการประเมินคร่าวๆตั้งแต่ 10.000 จนอาจจะถึง 80.400 รายเฉพาะภายในระยะเวลาดังกล่าว แต่จากการคาดคะเนคิดว่าน่าจะหลักหลายพันถึงหมื่นต่อปี
คนที่จะถูกนำไปสังเวยนั้นเป็นคนของอาณาจักรเอซเทคเอง ทั้งสมัครใจและไม่สมัครใจ หรืออาจจะเป็นเชลยก็ได้ มีการทำสงครามกันแต่จุดประสงค์ไม่ใช่เพื่อแย่งดินแดนแต่อย่างใด หากแต่มุ่งไปที่ทรัพยากรมนุษย์เพื่อเอามาบูชาเทพเจ้า ดังนั้นจึงจะไม่ฆ่าเชลยที่ถูกจับมาให้ตาย แต่จะเอามาเพื่อบูชายัญแทน (the Aztec flower war / flowery war ) เช่นตอนที่เอซเทคไปตีเมือง Tlaxcala แทนที่จะเข้าไปครอบครองก็กลับเลี้ยงไว้เพื่อทำฟาร์มมนุษย์สำหรับการนี้ ก็น่าจะเป็นเหตุผลนึงที่ทำให้แพ้ทหารสเปนในเวลาต่อมา เพราะไม่ได้เคยสู้เต็มรูปแบบจริงๆสักที หากแต่ว่าต้องการเอาคนเป็นๆมาทำพิธีมากกว่า ดังนั้น ตอนที่พวกสเปนบุก จึงเป็นชาว Tlaxcala นั่นเองที่ร่วมกันสมคบกับสเปนไปตีเอซเทคจนราบคาบ
ผู้ถูกสังเวยอาจจะเป็นทาสที่ไม่มีปากมีเสียงใดๆ ทาสเหล่านี้อาจจะถูกขายออกมาเองจากครอบครัวของทาส หรือขายตัวเองมาเป็นทาสก็ได้ เพราะมักจะฐานะยากจน ทาสคนไหนขี้เกียจหรือทำผิด หรืออาจจะเป็นนักโทษ เจ้านายหรือผู้มีอำนาจก็จะส่งตัวทางไปร่วมพิธีสังเวยแทนเป็นการลงโทษ ส่วนเด็กๆ ที่ถูกฆ่าเพื่อบูชาเทพ Tlaloc นั้น นักบวชอาจจะซื้อมาจากครอบครัวใดครอบครัวนึง หรืออาจจะเป็นลูกของผู้มีฐานะหรือ high born ก็ได้เช่นกัน หากชายใดเกิดร้องไห้ หรือเป็นลม กลัว ระหว่างที่รอพิธีสังเวยนั้นก็จะถูกด่าว่า “ทำตัวเป็นผู้หญิงไปได้” จึงเป็นข้อสังเกตว่า หากผู้ถูกสังเวยเป็นหญิงแล้วมีอาการกลัวดังกล่าวคงไม่น่าจะโดนตำหนิแต่อย่างใด
สถาบัน National Institute of Anthropology and History (INAH) ได้ค้นพบซากกระดูกและกระโหลกที่ยังคงหลงเหลือภายใต้ตัวตึกของบ้านซึ่งเคยตั้งอยู่ในช่วงเอซเทค ที่ปัจจุบันกลายเป็นสนามหญ้าของวิหาร Mexico City's cathedral ในปี 2015 วางเรียงเป็นแถวอย่างมีระเบียบและขนาดของพื้นที่สามารถจุได้มากกว่า 1000 กระโหลก จึงอาจกล่าวได้ว่าเอซเทคคือแหล่งอุตสาหกรรมการบูชายัญที่ไม่เหมือนที่อื่นใดในโลก ปัจจุบันพวกเขากำลังศึกษารายละเอียดย่อยของแต่ละชิ้นเพื่อหวังว่าจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับการสังเวยในช่วงเวลาดังกล่าวและความเป็นมาเกี่ยวกับช่วงก่อนที่ผู้สังเวยจะมาจบชีวิตลงที่ the Templo Mayor มากขึ้น
#PaulskiMNP5245
roman calendar 在 妙雅 Miaoya Facebook 的最讚貼文
😮
不像中文裡簡單的一到十二月,在許多語言中,各個月份都有屬於自己的名字。
大部分歐洲語言的月份名字來自羅馬神話中的神明,而波蘭的月份名字,則是從農民曆來的!
就讓我們一個個來看它們的起源吧:
Styczeń(一月):「stykać」意思是會面的意思,代表舊的一年與新的一年在一月彷彿見到彼此一樣連接起來。
Luty(二月):在古波蘭文中,「luty」表示「強烈的」、「冷霜」、「極寒」。
Marzec(三月):「marznąć」表示「使……結凍」,也有些人認為這個字來自羅馬神話中的戰神Mars,波文拼法是「Martius」。
Kwiecień(四月):「kwiecie」表示花兒。在經歷極寒的二到三月後,終於春暖花開。
Maj(五月):這是唯一一個確認來自羅馬曆的月份名字,女神「Maia」是豐饒、成長之神,在波蘭文中也是同樣的意思。相近的字中,「majowka」代表的則是戶外旅行。
Czerwiec(六月):波蘭字「czerw」表示抓取,抓取什麼呢?答案是蜜蜂或蛾的幼蟲!在六月,以前的人們會抓幼蟲拿來曬乾,再製成紅色或紫色的顏料。也有人說六月這個波蘭字是來自「czerwiec」,代表變紅或成熟的意思。
Lipiec(七月):七月的名字來自「lipa」這個表示「椴樹」的波蘭字。椴樹在這個時期開花,在波蘭尤其普遍。波蘭詩人揚·科哈諾夫斯基(Jan Kochanowski)就曾作一首詩:〈關於椴樹(Na lipe)〉,其中一段「gosciu siadz pod ma lipa a odpoczyn sobie」即表示「貴客,請到我的椴樹下歇息」。
Sierpień(八月):「sierp」代表鐮刀,在這個豐收的季節,鐮刀自然是不可或缺的工具。
Wrzesień(九月):「wrzosy」表示石楠花,九月時,這種美麗的紫色會在各處盛放。
Październik(十月):「paździerz」表示亞麻或大麻的木質乾燥部分。從前這兩種植物是用來做布料的,十月的時候,風會帶走田地上所有的製完布料後剩餘的部分,在波蘭文中叫作「paździerze」。
Listopad(十一月):這個字來自「padajace liscie」,即落葉之意。
Grudzień(十二月):十二月寒冷的天氣讓地面都結冰了,「gruda」這個字就是指結冰的地面哦!
-
了解波蘭月份名字的由來之後,是不是讓你覺得背這些單字更得心應手了呢?
如果這樣的程度太簡單的話,來試試這個跟月份有關的影片吧:
https://www.youtube.com/watch?v=mUXa5Hg_QzI
-
-
Did you know that Poland did not adopt Latin names for months and has its own unique names? Unlike many other European countries that derive the names of the months from the Roman names of gods, caesars' or numbers, Polish names of the months take their origins in farmers' calendar. Check out their unique names in the list below.
-
1. Styczeń - stykać means "to meet" - "to join" since the old year "meets the new year in January
2. Luty - luty in old Polish means "fierce", "bitter frost", "freezing cold"
3. Marzec - from marznac meaning " to freeze". Some people believe that this name comes also from Roman God "Martius" - in Polish Mars.
4. Kwiecień - from kwiecie - flowers - a blooming month.
5. Maj - this is the only name which was adopted from Roman calendar devoted to goddess Maia. Maia was the Roman female deity of growth or fertility.This name gained its own meaning in the Polish language, for instance as majowka- the outdoor trip.
6. Czerwiec - from czerw meaning "grab" - the larva of a bee or moth. In this month people were picking up the larves, dry them in the sun, and then made from it a red or purple die (pigment); therefore the name "czerw" comes from "redden" and some sources also derive the name of Polish June from a Polish word "czerwienic" - to redden or rippen
7. Lipiec - from lipa - "linden tree" - which flowers in that time; this tree is very popular in Poland. There is a famous poem by Kochanowski "Na lipe" (about Linden tree) - "gosciu siadz pod ma lipa a odpoczyn sobie" - "dear visitor -please sit under my linden tree and relax".
8. Sierpień - sierp is "a sickle" used for harvesting (tool to cut the hay, grass or wheat)
9. Wrzesień - from wrzosy - "heather" that beautifully purple in that time of the year
10. Październik - from paździerz - wooden dry part remained from flax or hemp. In the past flax and hemp was used for making cloths. In that time of the year the wind was carrying out "paździerze" - the wooden waste remained after flax and hemp - all over the fields.
11. Listopad - padajace liscie - falling leaves.
12. Grudzień - gruda - hardened ground which is caused by cold weather.
-
To see more about months in Polish, you can watch this video (in Polish):
https://www.youtube.com/watch?v=HBNroYoYQiY
(Adapted from culture.polishsite.us)
roman calendar 在 Point of View Youtube 的最讚貼文
อ้างอิง
- Bikos, Konstantin และ Hocken, Vigdis. “The Roman Calendar” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.timeanddate.com/calendar/roman-calendar.html [ม.ป.ป.] สืบค้น 12 ธันวาคม 2562.
- “The Roman calendar”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.tondering.dk/claus/cal/roman.php [ม.ป.ป.] สืบค้น 12 ธันวาคม 2562.
- Douma, Michael. “Early Roman Calendar” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.webexhibits.org/calendars/calendar-roman.html [ม.ป.ป.] สืบค้น 12 ธันวาคม 2562.
- EarthSky. “Why does the new year begin on January 1?”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://earthsky.org/earth/why-does-the-new-year-begin-on-january-1 [2559] สืบค้น 12 ธันวาคม 2562.
- Ghose,Tia. “Why Do We Celebrate New Year's on Jan. 1?”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.livescience.com/57342-why-is-new-years-january-first.html [2559] สืบค้น 12 ธันวาคม 2562.
- History.com “The Julian calendar takes effect for the first time on New Year’s Day”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.history.com/this-day-in-history/new-years-day [2553] สืบค้น 12 ธันวาคม 2562.
- Hocken, Vigdis. “The Gregorian Calendar”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.timeanddate.com/calendar/gregorian-calendar.html [ม.ป.ป.] สืบค้น 12 ธันวาคม 2562.
- Ronan, Colin. “The early Roman calendar” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.britannica.com/science/calendar/The-early-Roman-calendar [ม.ป.ป.] สืบค้น 12 ธันวาคม 2562.
- กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) “21 มีนาคม วันวสันตวิษุวัต กลางวันยาวเท่ากับกลางคืน”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.narit.or.th/index.php/pr-news/1706-vernal-equinox-2015 [2558] สืบค้น 12 ธันวาคม 2562.
- - - - - - - - - - - - - -
ติดต่องาน : chananyatechajaksemar@gmail.com (งานเท่านั้น)
ทางไปซื้อสติกเกอร์ line http://line.me/S/sticker/1193089 และ https://line.me/S/sticker/1530409
ทางไปซื้อ วรรณคดีไทยไดเจสต์ http://godaypoets.com/thaidigest
ติดตามคลิปอื่นๆ ที่ http://www.youtube.com/c/PointofView
ติดตามผลงานอื่นๆได้ที่
https://www.facebook.com/pointoofview/
twitter @pointoofview
หรือ
IG Point_of_view_th
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ฟัง นิทานไทย วรรณคดีไทย สนุกๆ https://www.youtube.com/playlist?list=PLfqt6BlTNYnWUtrSsqOEiTjxVsJH_WBJl
ฟังเรื่องเกี่ยวกับ รามเกียรติ์ รามายณะ https://www.youtube.com/playlist?list=PLfqt6BlTNYnXfrgoQ5GVLgbjpzgOWplHi
Help us caption & translate this video!
https://amara.org/v/C2teW/