【從2020 IPO派對談起】
WSJ值得警醒的一篇文章,重點摘錄如下:
* 出乎意料的,美國在疫情肆虐、罹病與死亡人數世界難波萬(截至今日,美國累計確診病例722萬人,死亡20.6萬人),失業率一度突破二次世界大戰以來新高,首次申請失業救濟人數高達數千萬人的時刻,美國IPO市場(Initial Public Offering Market)卻也贏來史上榮景 -- 截至9月底,總初次上市公司累計籌資金額達$950億美元,僅次於2014年的$960億美元,是2000年網路泡沫以來第二高記錄!
* 2020年平均每家新上市公司都享有24%溢價發行。
主要吸金領域分別是:金融,電腦電子相關與醫療健康產業(finance, computer and electronic, and healthcare)。佔今年籌資總金額80%。
* 稍微讓人放心的,是今年新上市公司數量僅235家,遠少於2000年瘋狂的439家。
連股神巴菲特都打破幾十年來的習慣,參與了資料處理公司Snowflake Inc的首次公開發行認購,出資$7.35億美元。
* 然而兩年前IPO市場還是蕭條到部分專業投資人與公司CEO以為「跟死沒兩樣」。許多當年的獨角獸公司因此選擇私募而拒絕上市。
* 值得注意的是今年「空白支票公司(blank-check companies)在IPO市場大行其道,對我來說是一種危險訊號。
今年IPO籌資40%流入這種以金融併購操作為目的的空白支票公司,專有名詞稱之為SPAC(Special-purpose acquisition company)。
* 另外一個危險訊號,美國政府通過新規則,紐約證交所與Nasdaq均也在修改既有規章,讓「直接掛牌(direct listing)」公司可以跳過投資銀行自行上市,且不再限於員工或既有股東持股部分公開發售,而是可以另外發行新股籌資。這在如今的超級寬鬆貨幣政策氛圍下,恐怕成為吹泡泡的助力。
-----------------------------------------------------
我的看法:
如同我在今年三月❮利率倒掛與repo rate❯ (https://wp.me/p7TW6D-UM) 與五月❮美國失業人數破2千萬為何股市上漲?再來怎麼看?❯ (https://wp.me/p7TW6D-Y4)這兩篇文章說明貨幣學大師們已經論證寬鬆貨幣政策如何透過注入管道之不同而產生不同財貨、資產價格通貨膨漲影響,我們著實看到美國股市在3月份落底之後的瘋狂漲回(見圖)。
身為投資人,我們需要擔心的是美國政府在今年推出的多項救急經濟方案,均可能因為執政效率不彰亦或利益衝突而執行力低下,導致許多等不及的中小企業實質倒閉。
例如Fed 在今年四月份推出號稱金額高達$6000億美元的Main Street Lending Program,計畫購入中小企業與非營利組織的債權,但根據英國金融時報報導,截至9月18日,真正被執行的金額竟然僅$14.5億美元,佔總金額0.2%。
背後複雜的利益糾葛與衝突我就不細說了。對投資者而言,我們要小心政客的口惠而實不至。
從我的經濟分析來看,美國實質經濟重創並非來自於疫情而是錯誤的防疫反應與封鎖,這點許多經濟學家近日的研究發表亦有類似觀點,也不多提與我所見相同的Michael Burry這半年來在推特上一反常態地大聲疾呼。
而寬鬆貨幣政策推升資產價格不僅僅在股市面呈現,我們也看到今年美國房市的驚人漲幅與購買需求。
要擔心的是,當美國經濟真正開始復甦時,這場貨幣幻覺派對恐怕就要結束了。
文章連結:
https://wp.me/p7TW6D-10R
spac listing 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
Direct Listing เอาหุ้นเข้าตลาดได้ โดยไม่ต้อง IPO /โดย ลงทุนแมน
หลายคนที่เป็นนักลงทุน คงคุ้นเคยกับคำว่า IPO
ซึ่งเป็นการเสนอขายหุ้นของบริษัทเป็นครั้งแรกต่อตลาดหลักทรัพย์ เพื่อระดมทุนไปขยายกิจการ
แต่รู้หรือไม่ว่า ในสหรัฐอเมริกา มีอีกหนึ่งวิธีที่สามารถนำบริษัทเข้าสู่ตลาดได้ โดยไม่ต้อง IPO
เรียกว่า “Direct Listing”
วิธีนี้แตกต่างจาก IPO แบบเดิมอย่างไร
แล้วทำไมบริษัทถึงเริ่มนำมาใช้กัน
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit ที่สุดของแอปมีสาระ
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ปกติแล้วเมื่อบริษัทมีขนาดใหญ่ และคุณสมบัติครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์
ก็จะมีสิทธิ์ยื่นขอจดทะเบียนเพื่อระดมเงินทุนครั้งแรกจากนักลงทุนทั่วไปได้
เราเรียกกระบวนการนี้ว่า Initial Public Offering หรือ IPO
ในการทำ IPO นั้น บริษัทจะออกหุ้นจำนวนใหม่เพิ่มเติม และนำมาเสนอขายให้แก่สาธารณชน
โดยมีที่ปรึกษาทางการเงิน คอยทำหน้าที่ดำเนินการช่วยเหลือเกี่ยวกับการแปรสภาพบริษัทให้เป็นมหาชน รวมทั้งออกสำรวจความต้องการซื้อ และกำหนดช่วงราคาขายหุ้น
นอกจากนี้ ยังมีผู้จัดจำหน่ายหลักทรัพย์ (Underwriter) ซึ่งอาจเป็นรายเดียวกับที่ปรึกษาก็ได้
ทำหน้าที่ขายหุ้นให้แก่นักลงทุนรายใหม่ โดยที่รับประกันว่าบริษัทจะได้เงินทุนตามที่ตกลง
โดยปกติแล้ว ค่าตอบแทนที่ปรึกษาทางการเงิน และ Underwriter จะขึ้นอยู่กับมูลค่าของการ IPO
และแม้หุ้นเริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ก็ยังไม่ได้แปลว่าผู้ถือหุ้นรายเก่าสามารถขายออกมาได้ทันที
เพราะตามข้อบังคับของ IPO มีกฎการห้ามขายหุ้นส่วนเดิม ของกลุ่มที่เข้าข่ายเป็นผู้ถือหุ้นคนสำคัญ ในระยะเวลา 180 วันหลังจากเข้าตลาดหลักทรัพย์ หรือเรียกว่าช่วง Silent Period
อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่ผ่านมา
ในสหรัฐอเมริกา มีวิธีเสนอขายหุ้นครั้งแรกต่อตลาดอีกแบบ ที่ต่างกับ IPO ในหลายด้าน
เรียกว่า “Direct Listing”
ในการทำ Direct Listing นั้น บริษัทจะเสนอขายหุ้นต่อนักลงทุนโดยตรง ไม่ต้องผ่าน Underwriter
ซึ่งมีข้อเสียคือ หากต้องการออกหุ้นระดมทุนจำนวนใหม่เพิ่ม ก็จะมีความเสี่ยงสูงที่อาจขายหุ้นไม่ได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากไม่มีผู้รับประกันการจัดจำหน่าย
ด้วยเหตุนี้ บริษัทส่วนใหญ่จะใช้วิธี Direct Listing โดยนำหุ้นส่วนเดิมที่ถืออยู่ไปเสนอขาย ซึ่งราคาจะเป็นไปตามกลไกตลาดตั้งแต่ต้น
ในทางกลับกัน ข้อดีของ Direct Listing คือ
1-กำไรต่อหุ้นไม่ลดลง เพราะไม่มีหุ้นใหม่ จึงไม่กระทบต่อมูลค่าเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นเดิม
2-ประหยัดค่าใช้จ่ายจ้าง Underwriter (ผู้จัดจำหน่าย) เหลือเพียงค่าที่ปรึกษาทางการเงิน
3-ผู้ถือหุ้นรายเก่า สามารถขายหุ้นส่วนเดิมได้ทันที โดยไม่ต้องรอ Silent Period
ที่น่าสนใจคือ ในระยะหลัง เริ่มมีหลายบริษัทหันมาใช้วิธี Direct Listing มากขึ้น
โดยหลักการของ Direct Listing นั้น เหมาะกับบริษัทที่ต้องการสภาพคล่องในการขายหุ้น
มากกว่าระดมทุนเพื่อขยายกิจการ
ซึ่งในปัจจุบัน ธุรกิจเกิดใหม่ส่วนใหญ่เป็นสตาร์ตอัปเทคโนโลยี ที่ผ่านการระดมทุนนอกตลาดจากกลุ่ม Venture Capital มาหลายรอบ และเติบโตมีขนาดใหญ่จนไม่จำเป็นต้องหาทุนเพิ่มอีก
เมื่อถึงจุดหนึ่ง นักลงทุนสถาบันเหล่านั้น ก็ต้องการให้นำบริษัทเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ เพื่อหาช่องทางขายหุ้นที่ถือมานาน หรือเรียกว่าการ Exit
ซึ่งข้อเสียของการ IPO นอกจากทำให้สัดส่วนกำไรต่อหุ้นลดลงแล้ว ยังมีค่าใช้จ่ายสูง
โดยจะส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของบริษัทเทคโนโลยี ที่ช่วงแรกยังมีความไม่แน่นอนอยู่
ดังนั้น Direct Listing โดยไม่ออกหุ้นใหม่ จึงเป็นทางออกที่ดีสำหรับสตาร์ตอัปหลายแห่ง
แล้วตัวอย่างของบริษัทจริงๆ มีอะไรบ้าง?
เริ่มจากตัวอย่างบริษัทที่เลือกทำ IPO
Snap แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย
มูลค่าตลาดวันแรก 743,000 ล้านบาท
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 2,600 ล้านบาท
Lyft แพลตฟอร์มเรียกรถ
มูลค่าตลาดวันแรก 743,000 ล้านบาท
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 2,000 ล้านบาท
บริษัทที่เลือกทำ Direct Listing
Spotify แพลตฟอร์มฟังเพลงออนไลน์
มูลค่าตลาดวันแรก 930,000 ล้านบาท
ขายหุ้นได้ 17% ของจำนวนที่มีอยู่เดิม
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 1,085 ล้านบาท
Slack แพลตฟอร์มติดต่อสื่อสารในที่ทำงาน
มูลค่าตลาดวันแรก 713,000 ล้านบาท
ขายหุ้นได้ 22% ของจำนวนที่มีอยู่เดิม
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 680 ล้านบาท
จะเห็นได้ว่า ต้นทุนทางการเงินของวิธี Direct Listing ต่ำกว่า IPO อยู่พอสมควร
ท่ามกลางการเติบโตของอุตสาหกรรมสตาร์ตอัปที่ระดมทุนกันได้มากแล้วก่อนเข้าตลาด
เราอาจได้เห็นการจดทะเบียนลักษณะดังกล่าวบ่อยครั้งขึ้น
โดยในปี 2020 นี้ Airbnb แพลตฟอร์มจองที่พัก ก็ถูกคาดหมายว่าจะเข้าสู่ตลาดด้วยวิธี Direct Listing เช่นกัน
อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าบริษัทจะเสนอขายหุ้นด้วยวิธีไหน
สิ่งสำคัญสุดที่เราควรใช้ในการตัดสินใจ ว่าจะซื้อหรือไม่
คือการศึกษาให้เข้าใจถึงพื้นฐานที่แท้จริงของกิจการ
เพราะการลงทุนที่ดีที่สุดสำหรับทุกคน คงหนีไม่พ้น
การลงทุนในสิ่งที่เราเข้าใจจริงๆ..
╔═══════════╗
Blockdit ที่สุดของแอปมีสาระ
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.forbes.com/sites/betsyatkins/2019/10/14/direct-listings-an-alternative-to-the-ipo/#682cc2e35cad
-https://edition.cnn.com/2020/01/21/investing/ipo-direct-listing-spac/index.html
-https://www.investopedia.com/investing/difference-between-ipo-and-direct-listing/
-https://www.fenwick.com/publications/Pages/The-Rise-of-Direct-Listings-Understanding-the-Trend-Separating-Fact-from-Fiction.aspx
spac listing 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
Direct Listing เอาหุ้นเข้าตลาดได้ โดยไม่ต้อง IPO /โดย ลงทุนแมน
หลายคนที่เป็นนักลงทุน คงคุ้นเคยกับคำว่า IPO
ซึ่งเป็นการเสนอขายหุ้นของบริษัทเป็นครั้งแรกต่อตลาดหลักทรัพย์ เพื่อระดมทุนไปขยายกิจการ
แต่รู้หรือไม่ว่า ในสหรัฐอเมริกา มีอีกหนึ่งวิธีที่สามารถนำบริษัทเข้าสู่ตลาดได้ โดยไม่ต้อง IPO
เรียกว่า “Direct Listing”
วิธีนี้แตกต่างจาก IPO แบบเดิมอย่างไร
แล้วทำไมบริษัทถึงเริ่มนำมาใช้กัน
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit ที่สุดของแอปมีสาระ
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ปกติแล้วเมื่อบริษัทมีขนาดใหญ่ และคุณสมบัติครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์
ก็จะมีสิทธิ์ยื่นขอจดทะเบียนเพื่อระดมเงินทุนครั้งแรกจากนักลงทุนทั่วไปได้
เราเรียกกระบวนการนี้ว่า Initial Public Offering หรือ IPO
ในการทำ IPO นั้น บริษัทจะออกหุ้นจำนวนใหม่เพิ่มเติม และนำมาเสนอขายให้แก่สาธารณชน
โดยมีที่ปรึกษาทางการเงิน คอยทำหน้าที่ดำเนินการช่วยเหลือเกี่ยวกับการแปรสภาพบริษัทให้เป็นมหาชน รวมทั้งออกสำรวจความต้องการซื้อ และกำหนดช่วงราคาขายหุ้น
นอกจากนี้ ยังมีผู้จัดจำหน่ายหลักทรัพย์ (Underwriter) ซึ่งอาจเป็นรายเดียวกับที่ปรึกษาก็ได้
ทำหน้าที่ขายหุ้นให้แก่นักลงทุนรายใหม่ โดยที่รับประกันว่าบริษัทจะได้เงินทุนตามที่ตกลง
โดยปกติแล้ว ค่าตอบแทนที่ปรึกษาทางการเงิน และ Underwriter จะขึ้นอยู่กับมูลค่าของการ IPO
และแม้หุ้นเริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ก็ยังไม่ได้แปลว่าผู้ถือหุ้นรายเก่าสามารถขายออกมาได้ทันที
เพราะตามข้อบังคับของ IPO มีกฎการห้ามขายหุ้นส่วนเดิม ของกลุ่มที่เข้าข่ายเป็นผู้ถือหุ้นคนสำคัญ ในระยะเวลา 180 วันหลังจากเข้าตลาดหลักทรัพย์ หรือเรียกว่าช่วง Silent Period
อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่ผ่านมา
ในสหรัฐอเมริกา มีวิธีเสนอขายหุ้นครั้งแรกต่อตลาดอีกแบบ ที่ต่างกับ IPO ในหลายด้าน
เรียกว่า “Direct Listing”
ในการทำ Direct Listing นั้น บริษัทจะเสนอขายหุ้นต่อนักลงทุนโดยตรง ไม่ต้องผ่าน Underwriter
ซึ่งมีข้อเสียคือ หากต้องการออกหุ้นระดมทุนจำนวนใหม่เพิ่ม ก็จะมีความเสี่ยงสูงที่อาจขายหุ้นไม่ได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากไม่มีผู้รับประกันการจัดจำหน่าย
ด้วยเหตุนี้ บริษัทส่วนใหญ่จะใช้วิธี Direct Listing โดยนำหุ้นส่วนเดิมที่ถืออยู่ไปเสนอขาย ซึ่งราคาจะเป็นไปตามกลไกตลาดตั้งแต่ต้น
ในทางกลับกัน ข้อดีของ Direct Listing คือ
1-กำไรต่อหุ้นไม่ลดลง เพราะไม่มีหุ้นใหม่ จึงไม่กระทบต่อมูลค่าเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นเดิม
2-ประหยัดค่าใช้จ่ายจ้าง Underwriter (ผู้จัดจำหน่าย) เหลือเพียงค่าที่ปรึกษาทางการเงิน
3-ผู้ถือหุ้นรายเก่า สามารถขายหุ้นส่วนเดิมได้ทันที โดยไม่ต้องรอ Silent Period
ที่น่าสนใจคือ ในระยะหลัง เริ่มมีหลายบริษัทหันมาใช้วิธี Direct Listing มากขึ้น
โดยหลักการของ Direct Listing นั้น เหมาะกับบริษัทที่ต้องการสภาพคล่องในการขายหุ้น
มากกว่าระดมทุนเพื่อขยายกิจการ
ซึ่งในปัจจุบัน ธุรกิจเกิดใหม่ส่วนใหญ่เป็นสตาร์ตอัปเทคโนโลยี ที่ผ่านการระดมทุนนอกตลาดจากกลุ่ม Venture Capital มาหลายรอบ และเติบโตมีขนาดใหญ่จนไม่จำเป็นต้องหาทุนเพิ่มอีก
เมื่อถึงจุดหนึ่ง นักลงทุนสถาบันเหล่านั้น ก็ต้องการให้นำบริษัทเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ เพื่อหาช่องทางขายหุ้นที่ถือมานาน หรือเรียกว่าการ Exit
ซึ่งข้อเสียของการ IPO นอกจากทำให้สัดส่วนกำไรต่อหุ้นลดลงแล้ว ยังมีค่าใช้จ่ายสูง
โดยจะส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของบริษัทเทคโนโลยี ที่ช่วงแรกยังมีความไม่แน่นอนอยู่
ดังนั้น Direct Listing โดยไม่ออกหุ้นใหม่ จึงเป็นทางออกที่ดีสำหรับสตาร์ตอัปหลายแห่ง
แล้วตัวอย่างของบริษัทจริงๆ มีอะไรบ้าง?
เริ่มจากตัวอย่างบริษัทที่เลือกทำ IPO
Snap แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย
มูลค่าตลาดวันแรก 743,000 ล้านบาท
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 2,600 ล้านบาท
Lyft แพลตฟอร์มเรียกรถ
มูลค่าตลาดวันแรก 743,000 ล้านบาท
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 2,000 ล้านบาท
บริษัทที่เลือกทำ Direct Listing
Spotify แพลตฟอร์มฟังเพลงออนไลน์
มูลค่าตลาดวันแรก 930,000 ล้านบาท
ขายหุ้นได้ 17% ของจำนวนที่มีอยู่เดิม
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 1,085 ล้านบาท
Slack แพลตฟอร์มติดต่อสื่อสารในที่ทำงาน
มูลค่าตลาดวันแรก 713,000 ล้านบาท
ขายหุ้นได้ 22% ของจำนวนที่มีอยู่เดิม
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง 680 ล้านบาท
จะเห็นได้ว่า ต้นทุนทางการเงินของวิธี Direct Listing ต่ำกว่า IPO อยู่พอสมควร
ท่ามกลางการเติบโตของอุตสาหกรรมสตาร์ตอัปที่ระดมทุนกันได้มากแล้วก่อนเข้าตลาด
เราอาจได้เห็นการจดทะเบียนลักษณะดังกล่าวบ่อยครั้งขึ้น
โดยในปี 2020 นี้ Airbnb แพลตฟอร์มจองที่พัก ก็ถูกคาดหมายว่าจะเข้าสู่ตลาดด้วยวิธี Direct Listing เช่นกัน
อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าบริษัทจะเสนอขายหุ้นด้วยวิธีไหน
สิ่งสำคัญสุดที่เราควรใช้ในการตัดสินใจ ว่าจะซื้อหรือไม่
คือการศึกษาให้เข้าใจถึงพื้นฐานที่แท้จริงของกิจการ
เพราะการลงทุนที่ดีที่สุดสำหรับทุกคน คงหนีไม่พ้น
การลงทุนในสิ่งที่เราเข้าใจจริงๆ..
╔═══════════╗
Blockdit ที่สุดของแอปมีสาระ
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.forbes.com/…/direct-listings-an-alternative-t…/…
-https://edition.cnn.com/…/ipo-direct-listing-spac/index.html
-https://www.investopedia.com/…/difference-between-ipo-and-…/
-https://www.fenwick.com/…/The-Rise-of-Direct-Listings-Under…