📜 [專欄新文章] Gas Efficient Card Drawing in Solidity
✍️ Ping Chen
📥 歡迎投稿: https://medium.com/taipei-ethereum-meetup #徵技術分享文 #使用心得 #教學文 #medium
Assign random numbers as the index of newly minted NFTs
Scenario
The fun of generative art NFT projects depends on randomness. The industry standard is “blind box”, where both the images’ serial number and the NFTs’ index are predetermined but will be shifted randomly when the selling period ends. (They call it “reveal”) This approach effectively solves the randomness issue. However, it also requires buyers to wait until the campaign terminates. What if buyers want to know the exact card right away? We’ll need a reliable onchain card drawing solution.
The creator of Astrogator🐊 isn’t a fan of blind boxes; instead, it thinks unpacking cards right after purchase is more interesting.
Spec
When initializing this NFT contract, the creator will determine the total supply of it. And there will be an iterable function that is randomly picking a number from the remaining pool. The number must be in range and must not collide with any existing ones.
Our top priority is accessibility/gas efficiency. Given that gas cost on Ethereum is damn high nowadays, we need an elegant algorithm to control gas expanse at an acceptable range.
Achieving robust randomness isn’t the primary goal here. We assume there’s no strong financial incentive to cheat, so the RNG isn’t specified. Implementers can bring their own source of randomness that they think is good enough.
Implementation
Overview
The implementation is pretty short and straightforward. Imagine there’s an array that contains all remaining(unsold) cards. When drawIndex() is called, it generates a (uniform) random seed to draw a card from the array, shortens the array, and returns the selected card.
Algorithm
Drawing X cards from a deck with the same X amount of cards is equal to shuffling the deck and dealing them sequentially. It’s not a surprise that our algorithm is similar to random shuffling, and the only difference is turning that classic algo into an interactive version.
A typical random shuffle looks like this: for an array with N elements, you randomly pick a number i in (0,N), swap array[0] and array[i], then choose another number i in (1,N), swap array[1] and array[i], and so on. Eventually, you’ll get a mathematically random array in O(N) time.
So, the concept of our random card dealing is the same. When a user mints a new card, the smart contract picks a number in the array as NFT index, then grabs a number from the tail to fill the vacancy, in order to keep the array continuous.
Tweak
Furthermore, as long as the space of the NFT index is known, we don’t need to declare/initialize an array(which is super gas-intensive). Instead, assume there’s such an array that the n-th element is n, we don’t actually initialize it (so it is an array only contains “0”) until the rule is broken.
For the convenience of explanation, let’s call that mapping cache. If cache[i] is empty, it should be interpreted as i instead of 0. On the other hand, when a number is chosen and used, we’ll need to fill it up with another unused number. An intuitive method is to pick a number from the end of the array, since the length of the array is going to decrease by 1.
By doing so, the gas cost in the worst-case scenario is bound to be constant.
Performance and limitation
Comparing with the normal ascending index NFT minting, our random NFT implementation requires two extra SSTORE and one extra SLOAD, which cost 12600 ~ 27600 (5000+20000+2600) excess gas per token minted.
Theoretically, any instantly generated onchain random number is vulnerable. We can restrict contract interaction to mitigate risk. The mitigation is far from perfect, but it is the tradeoff that we have to accept.
ping.eth
Gas Efficient Card Drawing in Solidity was originally published in Taipei Ethereum Meetup on Medium, where people are continuing the conversation by highlighting and responding to this story.
👏 歡迎轉載分享鼓掌
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過25萬的網紅iT24Hrs,也在其Youtube影片中提到,สรุปการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลทุกประเภท ลงทุนอะไรดี 2021 Digital Asset ปี 2021 / 2564 และ 3 ข้อควรระวัง Chapters 00:00 Intro 01:31 Blockchain คืออะไร...
「smart contract ethereum」的推薦目錄:
- 關於smart contract ethereum 在 Taipei Ethereum Meetup Facebook 的最佳解答
- 關於smart contract ethereum 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於smart contract ethereum 在 Taipei Ethereum Meetup Facebook 的最佳解答
- 關於smart contract ethereum 在 iT24Hrs Youtube 的最讚貼文
- 關於smart contract ethereum 在 iT24Hrs Youtube 的精選貼文
- 關於smart contract ethereum 在 Human & Tech by May Youtube 的精選貼文
smart contract ethereum 在 Facebook 的最讚貼文
มีเพื่อนคนไหน สนใจ & ศึกษาเรื่อง Ethereum & Smart Contract & Blockchain บ้างไหม อยากหา Study group อ่ะ
smart contract ethereum 在 Taipei Ethereum Meetup Facebook 的最佳解答
📜 [專欄新文章] Unirep介紹: 使用ZKP的評價系統
✍️ Ya-Wen Jeng
📥 歡迎投稿: https://medium.com/taipei-ethereum-meetup #徵技術分享文 #使用心得 #教學文 #medium
Unirep是什麼? 怎麼用?
Photo by Raphael Lovaski on Unsplash
UniRep 是一個使用零知識證明(Zero-knowledge Proof)而達到具有隱私保障的評價 (reputation) 系統。使用者有權利享有多個暫時性的身份,但又同時能提出證明,讓其他人可以驗證評價是否符合自己宣稱的數量。此外,使用者也無法拒絕接收對自己不利的評價。
想像一個情境:如果Alice是Airbnb的使用者,Alice常常透過Airbnb租房,且Alice曾經獲得獲得許多Airbnb房東的好評;有一天Alice想透過Booking.com訂房,http://xn--alicebooking-kt4so6lvyab96x7trhi5b54x.com/,所以在Booking.com上沒有任何評價,萬一Booking.com的房東不想把房子租給來路不明的客人,那Alice要如何向Booking.com的房東證明她其實都是用Airbnb租房,且獲得許多好評?
Alice雖然可以透過截圖或公開自己的資訊向Booking.com的房東證明自己擁有這些好評,但這樣Alice的隱私或許會被洩漏,例如Alice不想讓Booking.com的房東知道自己去過哪些地方、住過哪些民宿;或者Alice有可能偽造截圖,或者偽造評價,那Booking.com的房東要如何相信Alice所提供的證明文件是真的來自Airbnb的房東?除此之外有沒有更彈性的方式,Alice可以選擇性地向Booking.com的房東證明,自己至少有10個好評,但不透露自己總共有多少好評?
Photo by Andrea Davis on Unsplash
使用Unirep協定就可以解決這個問題。UniRep 取名自 Universal Reputation,希望透過區塊鏈上智能合約的可互用性 (interoperable,指智能合約容易被多方呼叫且容易透過智能合約與對方互動),讓不管是Airbnb的房東、Booking.com的房東或是Alice都能很容易地透過Unirep的智能合約與對方互動,且透過零知識證明的方式,讓Alice的評價具有隱私的保障,Alice不用明確地向Booking.com的房東說這些評價是怎麼獲得、是什麼時候獲得,也可以彈性的證明自己至少有多少好評,或者最多有多少差評。
密碼學
Unirep主要用到的密碼學方法有
雜湊函數 hash:若有一個雜湊函數 f(x) = y 則由x可以很輕易的用f算出y,但從y推回x是幾乎不可能的,且要找到兩個不同的x對應到相同的y也是幾乎不可能的(沒有碰撞問題)。
零知識證明 zero-knowledge proof:可以將複雜的運算邏輯轉成容易驗證且具有隱私保障的驗證問題,使用者只要將變數輸入,這個零知識證明的演算法就會產生對應的證明且計算出對應的結果,使用者只要將此證明和運算結果輸入驗證的程序中,其他人就能驗證使用者是不是提出正確的證明,若驗證成功,則驗證者就能相信提出證明者高機率擁有正確的知識,也就是在計算證明時的輸入變數。
ZKP Proof System
ZKP Verification System
Semaphore:semaphore 是設計為可以用零知識證明驗證的身份認證系統。Unirep 中用來產生私鑰 (identity) 和公鑰的 hash 值(identity commitment),讓使用者不必公開 identity 仍能透過零知識證明驗證其公私鑰的對應性。
雜湊樹 Merkle trees:Unirep 中大量運用雜湊樹的方式確保評價紀錄,而其中用到的雜湊樹又分兩種:Incremental merkle tree 和 Sparse merkle tree
Incremental merkle tree: 從 index 0 開始依序插入雜湊樹中的樹葉。為了使 ZKP 的 circuit 大小固定, Unirep 中使用固定高度的 Incremental merkle tree。
Sparse merkle tree: 在特定的 index i 插入樹葉
Incremental merkle tree and sparse merkle tree
UniRep中用到的名詞定義
Epoch
指一段特定的時間,例如7天
UniRep 的 Epoch 從 1 開始計算,7天過後Epoch數加一,即 Epoch 變為 2
Epoch Key
每個使用者在每個 Epoch 都能產生 n 把 Epoch key,用來收取評價 epoch_key = hash (id, epoch, nonce)
id: 這裡指用 semaphore 產生的 identity
epoch: 表示這是在第幾個 epoch 產生的 epoch key
nonce: 若 Unirep 規定使用者能在一個 epoch 產生 5 把 epoch key,則使用者可以選從 0 到 4 為此 nonce
因為雜湊函數的性質,算出來的 epoch key 很難推回原本的 id, epoch, nonce, 所以看到 epoch key 並不能推回使用者是誰。
以Alice為例,當Alice住完Airbnb,房東會透過 epoch key 給予 Alice 評價,但房東無法知道 Alice 在同個 epoch 的其他 epoch key 是哪一把,也無法知道 Alice 在別的 epoch 獲得的評價,除非 Alice 在這個 epoch 重複使用同一把 epoch key 收取評價。
User 使用者
用 semaphore 產生 identity 並使用此 identity 註冊的使用者
使用者是接收評價、證明評價、或是花費評價的人,用 epoch key 跟其他人互動,因為 epoch key 會隨著 epoch 增加而改變,所以對使用者來說每個 epoch 能產生的 epoch key 都不同,具有保護隱私的效果。
在上面的例子中使用者指的是 Alice, Bob, Airbnb 的房東, Booking.com的房東
Attester 證人
用 Ethereum address 或 smart contract address 註冊的用戶
是會被使用者記錄下來的評價給予者
Unirep 會給這些 address 一個 attester ID,而這個 attester ID 不會隨著 epoch 增加而改變,使用者可以知道這個評價是來自哪一個 attester。
在上面的例子中指的是 Airbnb 跟 Booking.com,因為 attester ID 不變,所以使用者可以證明這些評價是來自於 Airbnb 或是 Booking.com
User State Tree (UST)
是一 Sparse merkle tree
每個使用者都有自己的 User State Tree,其中樹葉表示所收到的評價的hash值,而葉子的 index 表示 attester ID,UST 樹葉的定義為
USTLeaf = hash(posRep, negRep, graffiti)
例如 Airbnb 的 ID 是1,Booking.com 的 ID 是 3,那 Alice 的 User State Tree 中 index 為 1 的地方會有自己在 Airbnb 獲得的總評價的 hash 值,而 index 為三的地方則為空的評價。另一個使用者 Bob 的 User State Tree 亦同,在 index 為 1 的地方會有自己在 Airbnb 獲得的評價,在 index 為 3 的地方會有自己在 Booking.com的評價。
Global State Tree (GST)
是一固定樹高的 Incremental merkle tree
Global State Tree 的葉子到樹根都是公開的資訊,當有使用者註冊或者更新 User State Tree 時會在 Global State Tree 裡新增一個新的樹葉,GST 樹葉的定義為:
GSTLeaf = hash(id, USTRoot)
先送出的樹葉先插入到較前面的 index,之後的樹葉依序插入 GST 中。
以 Alice的例子來說,當 Alice跟 Bob註冊 Unirep時,都會產生一個 GST的樹葉,更新 GST的樹根,若 Alice先註冊,則 Alice的 index會較 Bob前面。注意,這邊的 Airbnb 和 Booking.com 等 attester 並不是用這棵 Global State Tree註冊。
Epoch Tree
是一個 Sparse merkle tree
Epoch Tree 跟 Global State Tree 一樣從葉子到樹根都是公開的資訊,Epoch Tree 中樹葉的 index 為 epoch key,而樹葉的值為該 epoch key 的 sealed hash chain
每個 epoch key 都有一個 hash chain,hash chain 的定義為
hashedReputation = hash(attestIdx, attesterID, posRep, negRep, graffiti)hashChain[epochKey] = hash(hashedReputation, hashChain[epochKey])
此 hash chain 是為了防止使用者漏收了哪一筆評價,如果使用者少收了其中一筆評價,則 hash chain 的結果會完全不同。最後驗證時如果其中一個 epoch key 的 hash chain 改變,會造成 epoch tree 樹根跟原本的 epoch tree 的樹根不同。
而 Sealed hash chain 是在每個 epoch 結束後,Unirep 智能合約會再將這條 hash chain 再 hash 一次
sealedHashChain[epochKey] = hash(1, hashChain[epochKey]) isEpochKeyHashChainSealed[epochKey] = true
需要再把這條 hash chain 封起來的用意是,避免這把 epoch key 過了這個 epoch 之後再繼續接收評價,所以 epoch tree 會用這個 epoch key 最後的 sealed hash chain 去計算樹根。
Nullifier
中文翻譯為註銷符,當我們要防止一件事情重複發生時,就可以使用這個 Nullifier
Unirep 中使用到 Epoch key nullifier:此 nullifier 是用來限制使用者不能在不同的 epoch 使用重複的 epoch key 去收取評價,也不能被其他使用者使用;此外也可以用來檢視使用者是否重複執行 UST 的更新
Nullifier 也用 hash 計算,但多使用一個 domain 變數,避免與 epoch key 產生相同的 nullifier 而洩露自己擁有的 epoch key,也可以用不同的 domain 產生不同用途的 nullifier
epochKeyNullifier = hash(EPOCH_KEY_DOMAIN, id, epoch, nonce)
Epoch Transition
一個 epoch 結束過後,要透過 epoch transition 的步驟,更新 Unirep 及使用者的狀態
其中要做的事包含將智能合約上的 epoch 數加一,還有將所有 epoch key 的 hash chain 封起來
接著使用者就可以執行 User State Transition 更新自己的 UST
User State Transition
到下一個 epoch 後,使用者可以透過自己的 identity,找出自己在前一個 epoch 所有的 epoch key,並根據每把 epoch key 收到的評價更新到自己的 UST,最後計算出最新的評價狀態,產生一個 GST的樹葉,插入 GST 中 (如同註冊時一樣)。
使用者之後如果要花費評價或者產生下一個 epoch 的 epoch key 時,因為必須確認自己的 UST 在當前的 epoch,所以需要經過 User State Transition 確保自己有一個 GST 的樹葉在 GST 中。
Unirep 協定
有了 Unirep 的名詞定義後,接著介紹 Unirep 是如何運作的。
註冊
Unirep 的 user 和 attester 的註冊方式不同:
User signup and attester signup in Unirep
User
User 透過 semaphore 產生 identity 和 identity commitment,identity 就如同私鑰,identity commitment 就如同公鑰
將 identity commitment 和預設的 UST 樹根經由 hash 計算得 GST 的一個樹葉
若使用者要證明自己在某個 epoch 有註冊或者有更新自己的 UST,則證明自己是 GST 的某一個樹葉,利用零知識證明的方法,輸入 identity、UST 樹根,還有 merkle tree 中要計算 hash 值的相鄰節點,則最後可得到一個 GST 的 root,其他人可以驗證這個 GST 的 root 是否符合這顆公開的 GST。
Attester
Attester 則是用自己的錢包,或者用智能合約的地址註冊,呼叫 attester sign up 的 function 後,Unirep 會指定一個 attester ID 給這個地址,往後 attester 用相同錢包或合約地址給予評價時,Unirep 會檢查此地址是否被註冊,若有註冊則可以給予 epoch key 評價。
以 Alice 和 Bob 為例,Alice、Bob、Airbnb的房東、Booking.com的房東會產生 identity 並且透過 Unirep 合約用 user 的註冊方式獲得一個 GST 的樹葉代表自己;
而 Airbnb 和 Booking.com 會透過 attester 的註冊方式,使用特定的錢包地址或是撰寫智能合約呼叫 Unirep 的 attester sign up function。
當然 Alice 或 Bob 如果想用自己的錢包註冊為 attester 也是可以,這時合約就會紀錄 Alice 和 Bob 的錢包地址,並給予一個新的 attester ID。
給予評價
在 Unirep 中評價的接收者是 epoch key,接著介紹 user 和 attester 是如何互動。
How an attester gives reputation to an epoch key
Alice 在 Unirep 註冊過後,就可以產生 epoch key 接收評價
epochKey = hash(identity, epoch, nonce)
但 Airbnb 的房東看到這把 epoch key,要如何知道 Alice 確實是 Unirep 的合法使用者,且 epoch key 的 是合法的,例如 nonce 小於 5,或者 epoch 是當前的 epoch?
如果 Alice 直接提供 epoch 和 nonce,別人沒有 identity 也無法計算此 epoch key,更不用說如果 Alice 提供 identity 會造成 Alice 完全沒有隱私可言,所有人都可以計算出 Alice 收過哪些評價。
因此我們用一個零知識證明,證明此 epoch key 是合法的。細節請參考 epoch key proof,主要是證明使用者有一個合法的 GST 樹葉在 GST 中,並且 epoch 和 nonce 也都符合。
房東得到 Alice 提供的 epoch key 和 epoch key 的證明,並且透過 Unirep 的合約驗證通過之後,就可以給予評價。
獲得空投評價、使用者可以給予評價的限制可以由各個應用自行定義,例如 Airbnb 可以決定空投 30 個正評給使用者, Booking.com 可以決定空投 20 個正評給使用者。
另外,為了確認房東也是合法的使用者,也為了防止房東重複花費 (double spending) 自己的評價點數,Unirep 上的應用也可以用 reputation nullifier 及其 proof 去證明使用者合法使用自己的評價。
例如,此 reputation nullifier 可以用下列計算方式取得:
reputationNullifier = hash(REPUTATION_DOMAIN, id, epoch, nonce)
當 reputation nullifier 及 proof 產生後,就會與房東要給的評價一起發送到 Airbnb 的智能合約上,智能合約會驗證 proof 是否合法,nullifier 是否有被發送過,若檢查都通過的話則 Unirep 會紀錄此評價給 epoch key,並將 hash chain 更新。
接收評價
使用者即使可以證明自己擁有哪一把 epoch key 並且大家都知道這把 epoch key 有多少評價,但這有可能造成使用者故意忽略其他把 epoch key 中對自己不好的評價,因此 Unirep 限制使用者只能在每個 epoch 結束,每把 epoch key 都封起來之後,才能用 User State Transition 更新自己的評價。
User State Transition in Unirep
這裏也是用 User State Transition Proof 去保證使用者是根據正確的方式計算出最新的 UST,且用 epoch tree 限制使用者必須處理每一把 epoch key 的結果。
亦即,需要等到 epoch 結束後,Alice 才能透過 User State Transition 獲得 Airbnb 房東的評價,更新自己的使用者狀態。
證明評價
當使用者通過 User State Transition 之後會有最新的 UST 狀態,此時 Alice 就可以透過 reputation proof 向 Booking.com 她有來自 Airbnb 的評價,在reputation proof 中檢查使用者是否有其宣稱的 UST (例如總共有多少好評、多少差評來自哪一個 attester ID),並且此 UST 的狀態儲存在當前 epoch 的 GST 中。
在生成 reputation proof 時,即使 Alice 總共有 100 個好評,但 Alice 仍可以產生「至少有10個好評」的證明,Booking.com 的房東若驗證成功,則只能知道 Alice 宣稱的「至少有 10 個好評」而不能知道 Alice 總共有 100 個好評。
常見問題
Alice 能不能給 Airbnb 的房東評價? Alice 能不能給 Bob 評價?
可以。
Airbnb 的房東和 Bob 也都能產生 epoch key,因此如果 Alice 有兩者的 epoch key 及合法的 proof 則可以給予評價。此時 Alice 可以選擇透過 Airbnb、Booking.com、或甚至自己的 Ethereum account 當作證人給予評價 (也必須選擇一個證人)。
Alice 可以透過 Unirep 給 Airbnb 評價嗎?
如果 Airbnb 也透過 Unirep 註冊為使用者,並且產生 epoch key 的話就可以。但如果 Airbnb 只註冊為證人的話不行。
Alice 可以證明評價來自哪一個 Airbnb 房東嗎?
如果 Airbnb 的房東沒有註冊為證人,則 Alice 不能證明評價來自哪個房東。
若 Airbnb 的房東用自己的 Ethereum account 註冊為證人,則 Alice 只能證明評價來自這個 Ethereum account,但無法知道這個 account 是一個 Airbnb 的房東。
從 Airbnb 獲得的評價可以在 Booking.com 花費嗎?
需看 Booking.com 的智能合約如何定義,但一般來說不行,因為 attester ID不同,但未來可能會開發各個應用程式之間的兌換評價功能。
如果遲遲不執行 User State Transition 會發生什麼事?會不會收不到之前的評價?
若 Alice 在第一個 epoch 註冊,並在第一個 epoch 產生 epoch key 接收評價,但 Alice 到第五個 epoch 才執行 User State Transition,那 Alice 會根據第一個 epoch 的 GST、epoch tree 執行 User State Transition,因此仍然可以在第五個 epoch 收到來自第一個 epoch 的評價;而在第二到第四個 epoch 因為 Alice 無法產生出合法的 epoch key proof,因此無法接收評價。
User State Transition 可以自動執行嗎?
不行。
只有使用者主動給出私鑰,即 semaphore 的 identity,才可以產生合法的 User State Transition proof,若將私鑰交給第三方幫忙執行可能會侵害使用者的隱私。
結論
Unirep 是一個具有隱私保障的評價系統,透過 ZKP 的保護使用者可以在匿名的情況下收取評價、給予評價、並且向他人證明自己的評價。Unirep 可以用於跨應用程式間的評價證明,可以在 A 應用程式中獲得評價,並向 B 應用程式證明在 A 應用程式中獲得多少評價。若想了解更多有關 Unirep ,可以參考 Github、文件或加入 telegram 群組討論。
本文感謝 CC, Nic, Kevin, Doris 協助審稿。
Unirep介紹: 使用ZKP的評價系統 was originally published in Taipei Ethereum Meetup on Medium, where people are continuing the conversation by highlighting and responding to this story.
👏 歡迎轉載分享鼓掌
smart contract ethereum 在 iT24Hrs Youtube 的最讚貼文
สรุปการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลทุกประเภท ลงทุนอะไรดี 2021 Digital Asset ปี 2021 / 2564 และ 3 ข้อควรระวัง
Chapters
00:00 Intro
01:31 Blockchain คืออะไร
05:40 PoW vs PoS อะไรดี
07:41 Smart Contracts คืออะไร
09:08 ICO คืออะไร
09:47 พ.ร.ก. สินทรัพย์ดิจิทัล
11:01 ICO Portal คือ
11:46 Markets & Exchange
13:02 ประเภทของ ICO
16:15 Tokenization คืออะไร
17:38 ข้อควรระวัง
Blockchain เทคโนโลยีสำคัญที่อยู่เบื้องหลัง currency อย่าง Bitcoin กำลังจะพลิกโฉมธุรกิจและการลงทุนในประเทศไทยด้วยการทำ Tokenization
Middle Man
Blockchain เข้ามาแทนที่ตัวกลางแบบเดิมๆ ต่างๆ ได้ด้วยค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่ามากๆ และเร็วสุดๆ ด้วย
Blockchain คืออะไร
โดยพื้นฐานแล้ว Blockchain คือระบบฐานข้อมูลแบบง่ายๆ ในลักษณะรายการเดินบัญชี แต่มีคุณสมบัติพิเศษ 2 อย่าง
1. เก็บแบบถาวร - มีการเขียนข้อมูลเพิ่มอย่างเดียว ไม่มีการลบ และข้อมูลที่ได้รับการบันทึกไว้ภายใน blockchain แล้ว จะถูกแก้ไขได้ยากมากๆ จนแทบเป็นไปไม่ได้
2. Decentralized - ไม่มีศูนย์กลางในการเก็บข้อมูล ไม่มีใครเป็นเจ้าของข้อมูล แต่ข้อมูลจะถูกสำเนากระจายเก็บ เพื่อยืนยันกันเอง
Proof of Work
Blockchain มีกลไกที่ทำให้การสร้าง block ใหม่ยากขึ้น และใช้เวลานานขึ้น จะสร้าง block ได้ Block นึง ทุกครั้งต้องทำงานคำนวณอะไรบางอย่างก่อนที่ยากมากๆ เรียกว่า Proof of work ในกรณีของ Bitcoins ใช้เวลาเฉลี่ยประมาณ 10 นาที (คือการหา nonce ที่ทำให้ได้ค่า hash ต่ำกว่า target ที่จะปรับตามค่า difficulty)
แต่ 10 นาทีนี้ คือ เกิดจากกำลังประมวลผลของทั้ง network
Proof of Stake
วิธีหนึ่งที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน คือ Proof of Stake ที่จะดูเป็นทุนนิยมหน่อยๆ แต่ก็ใช้ปกป้องข้อมูลให้คงความถูกต้อง โปร่งใส และเชื่อถือได้เช่นกัน แต่ใช้พลังงานน้อยกว่า และ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
Blockchain for Business
เนื่องจากข้อมูลที่ถูกบันทึกบน Blockchain ที่มีความสเถียร แก้ไขไม่ได้ และ มีความโปร่งใส เพราะกระจายสำเนาให้ทุก node ถือ และใครๆก็สามารถดูและตรวจสอบได้ จึงมีความน่าเชื่อถือ ทำให้มีการนำไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจต่างๆ มากมายธนาคารบางธนาคาร ก็ใช้ Blockchain เชื่อมโยงเอกสารหนังสือค้ำประกันของคู่ค้า
Smart Contract
Blockchain ไม่ได้บันทึก ได้แค่ transaction Blockchain network ยุคใหม่ อย่าง Ethereum หรือ Tezos ยังถูกพัฒนาดีขึ้นอีกขั้น ให้สามารถ เขียน และ รัน Smart contract ได้
การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์โดยไม่ต้องผ่านคนกลาง อย่าง โบรกเกอร์ นักกฏหมาย และ ธนาคาร ก็เป็นสิ่งที่ทำได้แล้ว
Investment ลงทุนอะไรดี 2021 / 2564
กระแสการลงทุนใน currency อย่าง Bitcoin ก็เคยทำให้ Bitcoin มีราคาเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่าตระหนกถึง 20 เท่าภายในปีเดียว จากเหรียญละ 3 หมื่นบาท พุ่งไปถึง 6 แสนกว่าบาท ซึ่งก็ทำให้นักลงทุนทั่วโลกตื่นตัวกันสุดๆ กับการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยี blockchain
ตามมาด้วยกระแสการระดมทุนของ startup ด้วยการทำ ICO หรือที่เราเรียกว่าการออกเหรียญ เพราะมีนักลงทุนจำนวนมากคิดว่าการลงทุนในเหรียญเหล่านี้ เป็นช่องทางที่จะได้รับผลตอบแทนมหาศาล
เป็นเหตุที่ทำให้ในประเทศไทย เกิดการบังคับใช้พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ.2561 และการเข้ามาควบคุมการซื้อขายแลกเปลี่ยน เคอร์เรนซีและโทเคนดิจิทัลของ กลต หรือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
Digital Asset & Regulation ลงทุนอะไรดี 2021
โดยนิยามตามกฏหมายไทย สินทรัพย์ดิจิทัลมี 2 ประเภท คือ
1. Currency ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้า บริการ แบบเดียวกับเงิน เช่น Bitcoin
2. โทเคนดิจิทัล ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทย่อย คือ
• Investment token หรือ โทเคนเพื่อการลงทุน ที่สร้างขึ้นเพื่อกำหนดสิทธิของบุคคลในการร่วมลงทุน และ
• Utility token ที่สร้างขึ้นเพื่อกำหนดสิทธิในการได้รับสินค้าและบริการที่เฉพาะเจาะจง คล้ายกับ point หรือ คูปอง
ส่วน ICO ก็คือการระดมทุนด้วยการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ซึ่งเป็นสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทหนึ่งนะคะ โดยบริษัทจะเสนอขายโทเคนที่กำหนดสิทธิหรือผลประโยชน์ต่างๆ ของผู้ลงทุน เช่น ส่วนแบ่งกำไรจากโครงการ หรือสิทธิในการได้มาซึ่งสินค้าหรือ บริการที่เฉพาะเจาะจงและกำหนดให้ผู้ลงทุนที่ต้องการจะร่วมลงทุนสามารถเข้าร่วมได้โดยการนำเงิน มาแลกโทเคนที่บริษัทออก โดยมีการกำหนดและบังคับสิทธิที่จะได้รับด้วย smart contract
การทำ ICO ในประเทศไทยจะต้องได้รับอนุญาตจาก กลต เท่านั้นนะคะ และ ต้องทำผ่าน ICO Portal ก็คือผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล ที่จะต้องได้รับความเห็นชอบ จาก กลต เช่นกัน
ซึ่งกิจกรรมการลงทุนอะไรในสินทรัพย์ดิจิทัล จะมี 2 ส่วนหลักๆ คือกิจกรรมในตลาดแรก และกิจกรรมในตลาดรอง คล้ายๆกับตลาดหุ้นเช่นกัน
ICO & Investment Token ลงทุนอะไรดี 2021 / 2564
แม้ ICO จะไม่มีการแบ่งประเภทตามกฎหมาย แต่เราอาจจะแบ่งตามลักษณะของการมีสินทรัพย์เป็นหลักประกันได้ 2 ประเภท เราจะลงทุนอะไรดี
1) Project Based ICO คือ การทำ ICO ที่นิยมทำมากในหมู่ startup
เป็นการเขียนข้อเสนอโครงการขึ้นมาเป็น white paper ระบุว่าจะนำเงินไปสร้างธุรกิจนวัตกรรมอะไร แล้วก็ระดมทุนด้วยการออกเหรียญ ซึ่ง ICO แบบนี้มูลค่าของเหรียญจะขึ้นอยู่กับอนาคตของโครงการเป็นสำคัญ
2) Asset backed ICO
ถือเป็นพัฒนาการของ ICO อีกรูปแบบหนึ่ง เป็นการออกเหรียญที่มีสินทรัพย์หนุน หรือค้ำมูลค่าอยู่ ด้วยการทำ Tokenization
Tokenization คือการแปลงสินทรัพย์ต่างๆ ทั้งที่มีตัวตนอย่าง อาคาร ที่ดิน และไม่มีตัวตน อย่าง ลิขสิทธิ์ ให้เป็น Investment Token หรือ โทเคนเพื่อการลงทุน
เว็บไซต์ของ ก.ล.ต https://www.sec.or.th/digitalasset หรือโทรสายด่วน กลต 1207
smart contract ethereum 在 iT24Hrs Youtube 的精選貼文
Digital Asset คืออะไร? สินทรัพย์ดิจิทัล และ ICO ที่ถูกกฎหมายไทยเป็นอย่างไร?
พระราชกำหนดสินทรัพย์ดิจิทัล หรือ พรก. สินทรัพย์ดิจิทัล คืออะไร?
------------------
ปี 2020 เรากำลังจะเห็นการเกิดใหม่ของการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล การกลับมาของ ICO ในประเทศไทย สินทรัพย์ดิจิทัล หรือ Digital Asset คืออะไร?
เมื่อปี 2017 Bitcoin มีราคาเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่าตระหนกถึง 20 เท่าภายในปีเดียว จากเหรียญละ 3 หมื่นบาท พุ่งไปถึง 6 แสนกว่าบาท และนั่นทำให้นักลงทุนทั่วโลกตื่นตัวกันสุดๆ กับการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยี blockchain
ประกอบกับการมาของเทคโนโลยี blockchain platform ยุคที่ 2 อย่าง Ethereum ที่ทำให้ใครๆก็สร้างเหรียญของตัวเองได้แถมยังสามารถใช้ smart contract สัญญาอัจฉริยะ ประยุกต์ทำธุรกิจได้หลากหลาย จึงตามมาด้วยกระแสการระดมทุนของ startup ด้วยการทำ ICO คือ Initial Coin Offering หรือที่เราเรียกว่าการออกเหรียญ
ปัจจุบันนี้ประเทศไทย มีบังคับใช้พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ.2561 (พ.ร.ก. สินทรัพย์ดิจิทัล หรือ Digital Asset) กันแล้ว และได้มีการเข้ามาควบคุมการซื้อขายแลกเปลี่ยน คริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) และโทเคนดิจิทัล (Digital Token) โดย กลต หรือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งในตอนนี้ก็ยังไม่มีการทำ ICO (Initial Coin Offering) ในประเทศไทยอีกเลย
รายการ Digital Thailand ตอนนี้มาฟังบทสัมภาษณ์ ดร.นพนวลพันธ์ ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมเทคโนโลยีทางการเงิน สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เกี่ยวกับ พ.ร.ก. สินทรัพย์ดิจิทัล หรือ Digital Asset และ ทิศทางการทำ ICO ตามแนวทาง ก.ล.ต. เป็นอย่างไร
เรื่องของ Smart Contract และ Whitepaper มีความสำคัญอย่างไรกับการทำ Initial Coin Offering (ICO) และเกี่ยวข้องกับ พ.ร.ก. สินทรัพย์ดิจิทัล หรือ Digital Asset อย่างไรบ้าง
มาดูกันว่า วิวัฒนาการของ ICO หรือ initial coin offering ซึ่งเป็นการระดมทุนแบบหนึ่ง ในโลกและในประเทศไทยเป็นอย่างไร นอกจากรูปแบบของ Project Based ในการทำ ICO (initial coin offering) ที่ใช้เทคโนโลยีบล๊อคเชน (Blockchain) ในการออก Token ของบริษัทต่างๆ หรือ กลุ่ม Startup ที่ผ่านมาแล้ว ปัจจุบันก็มีการทำในรูปแบบของ Asset Back อีกด้วยซึ่งจะต้องมาดูกันว่า Asset Back นั้นทำกันอย่างไร
นิยามตามกฏหมายไทย สินทรัพย์ดิจิทัล หรือ Digital Asset มี 2 ประเภท คือ
1. Cryptocurrency ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้า บริการ แบบเดียวกับเงินสด เช่น Bitcoin
2. โทเคนดิจิทัล (Digital Token) ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทย่อย คือ
Investment token หรือ โทเคนเพื่อการลงทุน ที่สร้างขึ้นเพื่อกำหนดสิทธิของบุคคลในการร่วมลงทุน และ
Utility token ที่สร้างขึ้นเพื่อกำหนดสิทธิในการได้รับสินค้าและบริการที่เฉพาะเจาะจง คล้ายกับ point หรือ คูปอง
โดยนักลงทุนที่ซื้อและถือโทเคน ก็จะมีสิทธิตามที่ระบุในเอกสารประกอบการเสนอขายโทเคน หรือที่เรียกว่า White Paper อาจจะเป็นสิทธิในส่วนแบ่งรายได้ ผลกำไร หรืออะไรก็แล้วแต่ ซึ่งใน White paper ก็จะต้องบอกรายละเอืยดต่างๆของโครงการไว้ด้วย เช่นว่าโครงการนี้ระดมทุนไปทำอะไร อย่างไร มีเงื่อนไขอะไรบ้าง
เนื้อหาในคลิบนี้จะช่วยให้ทุกคนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวของในขั้นตอนการทำ ICO ซึ่งมีดังนี้
Issuer ผู้ออกโทเคน หรือผู้ระดมทุน
ICO Portal ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล
Broker นายหน้าขายโทเคนดิจิทัล
Exchange ศูนย์ซื้อขายโทเคนดิจิทัล
ผู้ที่ต้องการตรวจสอบรายชื่อผู้ได้รับอนุญาตเป็น ICO Portal คลิก http://www.sec.or.th/TH/Pages/SHORTCUT/DIGITALASSET.aspx
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม www.sec.or.th
แจ้งร้องเรียน ก.ล.ต. โทร 1207
และหากใครสงสัยว่า Tokenization คืออะไร? ICO มีกี่แบบ? จะแปลงสินทรัพย์เป็นโทเคนดิจิทัลได้อย่างไร ICO Portal คือใคร? ICO Portal ทำอะไรบ้าง? ติดตามเพิ่มเติมได้ที่คลิปนี้
https://youtu.be/h3L5HGcKIWI
รายการ Digital Thailand ออกอากาศ 21 มีนาคม 2563 ทางช่อง 3 กด 33
ติดตามได้ทุกเช้าวันเสาร์ ทางช่อง 3 กด 33 เวลา 4.40 น.
ติดตามรับข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่
facebook.com/it24hrs
twitter.com/panraphee
twitter.com/it24hrs
IG: panraphee
ติดต่อโฆษณา it24hrs@it24hrs.com
#stayhome #withme #whitepaper #smartcontract #cryptocurrency #bitcoin #DigitalAsset #สินทรัพย์ดิจิทัล #
smart contract ethereum 在 Human & Tech by May Youtube 的精選貼文
สามารถติดตามข่าวสารผ่านทางช่อง facebook ได้ที่ช่อง Human and Tech https://www.facebook.com/HumanAndTechByMay/
รับความรู้ สาระบันเทิงผ่านไลน์ https://line.me/R/ti/p/%40fgk4074r
และชมวิดีโอที่
https://goo.gl/EZvcyV