Executive Decision (1996) สามารถดูได้ใน Netflix
• ใครอยากดูหนังแอ็คชั่น-ทริลเลอร์ โคตรลุ้นจากยุค 90's จัดเรื่องนี้ได้เลยไม่ผิดหวังแน่นอน
• ตอนเห็นพล็อตผู้ก่อการร้ายจี้เครื่องบิน ก็คิดอยู่ว่าลากยาวสองชั่วโมงกว่าจะมีอะไรให้เล่นเยอะขนาดนั้น ผลคือหนังโคตรจัดเต็มอุปสรรค เหมือนผู้กำกับรู้ใจคนดู อยากลุ้นนักใช่ไหม จัดความอีหลุกขลุกขลักให้เต็มเหนี่ยวไปเลยละกัน ถ้าง่ายเดี๋ยวไม่ได้ลุ้นสินะ
• ความสนุกของหนังคือต้องพาหน่วยคอมมานโดแอบขึ้นเครื่องบินกลางอากาศ แล้วยังต้องกู้ระเบิดโดยที่คนกู้บาดเจ็บต้องคอยบอกให้วิศวกรเป็นคนทำงานแทน พร้อมกับหาตัวคนร้ายที่แฝงตัวปะปนอยู่ในกลุ่มผู้โดยสาร
• ตัวละครที่หนังเล่าได้ใช้ทุกคน ทั้งบทแอร์โฮสเตสและตำรวจอากาศ คือไม่ใช่แค่คอมมานโดเป็นฮีโร่ หรือตัวเอกโซโล่ฉายเดี่ยว เพราะคนบนเครื่องบินก็คอยช่วยเหลือด้วยเหมือนกัน
• แล้วอาจจะต้องเพิ่มเติมสักหน่อยว่า หนังไม่มีฉากตัวละครทำอะไรโง่ ๆ (อาจจะมีนิดหน่อยที่ทำอะไรไม่บอกเพื่อนร่วมทีม)
• อ่านเบื้องหลังหนังแล้วตกใจว่าทำไมเดือดกันเลเวลนั้น สตีเวน ซีกัล ข่ม จอห์น เลอกิซาโม่ ในกองถ่ายด้วยการอัดเข้ากำแพง แล้วเคิร์ต รัสเซลล์ ยังเปิดศึกกับเลอกิซาโม่เพราะด้นสดไดอะล็อกบ่อย มาเจอประโยคล้อเลียนเรื่องกลิ่นเท้าเลยบู๊กันเลย
• แล้วก็หายสงสัยด้วยว่าทำไมจอห์น เลอกิซาโม่ เด่นมากจนแปลกใจ ตอนแรกนึกว่าเป็นการตัดสินใจสุดกล้าหาญในยุคนั้น แต่ที่ไหนได้น่าจะมาจากเรื่องส่วนตัวของซีกัล (ซีกัลไม่มีชื่อใน opening credits)
• Warner Bros ส่งสคริปต์หนัง Forrest Gump ที่กำลังมีปัญหาทั้งบทและการหาตัวนักแสดง มาเป็นข้อแลกเปลี่ยนกับสคริปต์ Executive Decision ของทางฝั่ง Paramount เพราะคิดว่าความสำเร็จของ Rain Man อาจจะกระทบกับ Forrest Gump
• มาเรีย เมเปิ้ลส์ ที่แสดงเป็นแอร์โฮสเตสนั่งข้าง ๆ ฮัลลี เบอร์รี ในเวลานั้นคือภรรยาของโดนัล ทรัมป์
• ส่วนตัวชอบมากกว่า Air Force One เยอะ
-------------------------------------
ผู้ก่อการร้ายกลุ่มหนึ่งจี้เครื่องบินเพื่อยื่นข้อแลกเปลี่ยนปล่อยตัวผู้นำของพวกเขา แต่แผนการของกลุ่มก่อการร้ายจริง ๆ คือขนระเบิดบินเข้ามาถล่มวอชิงตัน กระทรวงกลาโหมคำนึงถึงความเป็นไปได้ของแผนการดังกล่าวจึงมอบหมายให้ 'ทราวิส' (Steven Seagal) นำหน่วยคอมมานโดขึ้นไปทวงคืนเครื่องบิน โดยพา 'แกรนท์' (Kurt Russell) จากหน่วยข่าวกรองขึ้นไปเพื่อหาตัวบอสใหญ่บนเครื่องบินด้วย
.
หนังสนุกมาก เป็นสองชั่วโมงที่ได้ลุ้นทุกภารกิจย่อยเลยก็ว่าได้ ตั้งแต่การโชว์เครื่องบินจากนาซ่าที่สามารถเชื่อมต่อใต้ท้องเครื่องบินพาณิชย์ (เหมือนเวลาดูหนังยานอวกาศ) แล้วส่งหน่วยคอมมานโดแฝงตัวขึ้นไปบนเครื่องโดยที่พวกผู้ก่อการร้ายไม่ทันตั้งตัว ความยากคือไม่ใช่ขึ้นไปแล้วจะเปิดหน้ายิงคนร้ายดับได้เลย เพราะต้องกู้ระเบิดก่อน ซึ่งระเบิดก็โคตรโหด การป้องกันแน่นหนาหลายชั้นไม่พอ คนที่เป็นหน่วยกู้ระเบิดดันบาดเจ็บหนักขยับตัวไม่ได้ แถมคนร้ายที่ถือรีโมทควบคุมระเบิดดันแฝงตัวอยู่ในผู้โดยสาร ต้องมานั่งหาตัวกันอีกว่าคนไหน ไม่ใช่หาง่าย ๆ ซะด้วยเพราะผู้โดยสารมีตั้ง 400 คน
.
ขอชมคนเขียนบทในการสรรหาอุปสรรคโยนเข้ามาให้ตัวละครแก้ไขเฉพาะหน้าได้ตลอด ความขลุกขลักมันไม่ล้นเกินไป อยู่ในระดับที่ทำให้การเล่าเรื่องได้ลุ้นสนุก ถึงหลายครั้งจะเดาไม่ยากว่ายังไงก็ต้องสำเร็จแต่มันบีบหัวใจเหลือเกิน แล้วบทกระจายให้ตัวละครค่อนข้างดี บทของฮัลลี เบอร์รี ที่เป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินก็ไม่ใช่ตัวละครหญิงที่ถูกทิ้งขว้างในหนังแอ็คชั่นผู้ชาย เธอสามารถตัดสินใจด้วยตัวเองได้ในการปกป้องตำรวจอากาศและหน่วยคอมมานโด เช่นเดียวกับการให้ความช่วยเหลือแกรนท์เพื่อให้ภารกิจสำเร็จ
.
*** สปอยล์นิดหน่อย ใครกลัวเสียอรรถรสข้ามได้เลย ***
ช็อคมากตอนเห็นสตีเวน ซีกัล ตายตั้งแต่ 40 นาทีแรก เพราะบทโหมมาเป็นตัวละครนำเลย ดูยังไงก็ตัวละครนำคู่กับเคิร์ต รัสเซลล์ 100% นึกว่าเป็นสคริปต์ดั้งเดิมกำหนดมา แต่ที่ไหนได้น่าจะมาจากข่าวลือเรื่องการล่วงละเมิดทางเพศและความรุนแรงในครอบครัว ที่อดีตภรรยาของซีกัลออกมากล่าวหาเขา จนทำให้เกิดข่าวลือว่ารัสเซลล์ไม่ยินดีจะร่วมงานกับซีกัล ทำให้หนังที่กำลังถ่ายทำอยู่ต้องปรับบท เขียนบทให้ซีกัลตาย (ซึ่งก็ต้องปรับแก้ เพราะตามเดิมต้องตายเพราะความกดอากาศจนหัวระเบิด แต่ซีกัลไม่ยอมถ่ายเด็ดขาดแม้จะผิดสัญญา โดยอ้างเรื่องแฟนหนังคงไม่ชอบและไม่สมจริง สุดท้ายก็ปรับแก้เป็นตายแบบฮีโร่เสียสละปิดประตูความดันให้เพื่อนรอด) แล้วตอนอยู่บนเครื่องบินกลายเป็นจอห์น เลอกิซาโม่ เด่นขึ้นมาเฉยเลย
Director: Stuart Baird (ผู้กำกับ U.S. Marshals, Star Trek: Nemesis)
screenplay: Jim Thomas, John Thomas (เขียนบท Predator, Behind Enemy Lines, Mission to Mars)
Genre: action, thriller
7.5/10
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過202萬的網紅Marioverehrer,也在其Youtube影片中提到,► Check out David Kaylor's performance: https://www.youtube.com/watch?v=veinzeZ80g4 ► Learn the piano step by step: https://www.skoove.com/#a_aid=mar...
「star trek: nemesis」的推薦目錄:
star trek: nemesis 在 半瓶醋 Facebook 的最讚貼文
宥:
今年是【星際爭霸戰】新系列的十週年啊!
不久前派拉蒙才確定【星際爭霸戰4】的計畫會無限延期,因此新系列三部曲也可以蓋棺論定了。
各位最喜歡新系列三部曲的哪一部呢?
我個人認為第一集【星際爭霸戰】真的是兩千年之後最棒的娛樂太空冒險電影!
【星海中一閃即逝的輝煌 - 星際爭霸戰三部曲】
2000年代初期,【星艦迷航記】(Star Trek)系列的最後一部電影【星艦迷航記X:星戰啟示錄】(Star Trek Nemesis,2002),在商業上遭受重大的挫折,六千萬美元的預算,票房卻連七千萬都不到;評論者更毫不客氣地指出,這次的失敗象徵著【星艦】的氣數已盡。巨大的失敗,導致得後來的續集計畫也隨之取消。
就這樣,星艦電影沉寂了近六年之久。且儘管還有電視劇【企業號】(Star Trek: Enterprise,2001~2005),但不少九零後、零零後的年輕群眾還是對星艦文化不復熟悉。
此低迷情形直到2006年,派拉蒙電影公司和壞機器人製片公司合作,推出的電影【星際爭霸戰】,並且在商業上獲得了可觀的成功,才又有機會再把【星艦】重新介紹給新一代的觀眾。
而如今,是新的【星際爭霸戰】系列(俗稱:Kelvin Timeline)10週年,拍了三部電影,經過了兩任導演之手,甚至還間接催生了新的星艦影集【星際爭霸戰:發現號】(Star Trek: Discovery)。但隨著主角克里斯潘恩(Chris Pine)傳出不再續約的消息,第四集的製作也遙遙無期,基本上【星際爭霸戰】三部曲已可以說是一個階段的完成,能夠蓋棺論定了。
這次就是來和大家聊聊,我對【星際爭霸戰】系列三部電影的感想。
1.【星際爭霸戰】-千禧新世代的太空史詩冒險鉅作
(Star Trek,2009)
故事講述一艘不知名的強大戰艦,無預警地出現,並攻擊聯邦的星艦、侵犯瓦肯星。而能解救這場聯邦危機的,竟是一艘剛啟航的新飛船,和一群經驗不足的年輕船員!性格灑脫、行事出格的寇克,與保守古板、凡事講求邏輯的史巴克,又要如何帶領船員,解決這場跨越銀河、穿越時空的復仇計畫?
這部電影可以說是對我人生影響最大的電影。當年在電視上只是驚鴻一瞥企業號駛入瓦肯星,跟尼祿的飛船對峙的場面,美得我目瞪口呆,幼小的靈魂馬上就被導演J.J.亞伯拉罕的宇宙世界給吸走了。後來千方百計地去找到這部電影,完整看完,其炫麗絕美的特效和美術設計,緊張刺激、扣人心弦的劇情,甚至是運鏡、或是炫光(Lens flare,又稱光暈),都讓我大開眼界:原來一部電影可以這麼豐富、這麼好看!也就是在看了【星際爭霸戰】之後,不但驅使我認識了龐大的星艦文化,更是直接令我愛上了看電影,並以此為興趣。
【星際爭霸戰】主要成功的原因,在於J.J以及其團隊,用一種非常聰明的方式,在劇中人物馬不停蹄地展開冒險的同時,也將星艦的世界觀、故事的線索,都介紹出來,且看著角色們一邊趕路,一邊對話鬥嘴,鮮明的人物性格和特色也一一建立。
這點J.J.亞伯拉罕在【不可能的任務3】(M:i:III)做得更極端,整部片幾乎不斷在趕路,幾乎讓觀眾喘不過氣來。而【爭霸戰】就聰明一些,即便劇情在怎麼緊湊,偶爾都還是會放慢腳步,不僅醞釀情緒與氣氛,也透過文戲讓觀眾更瞭解這些年輕星艦成員。當我們知道寇克是如何的放浪形骸,當我們對史巴克在人類與瓦肯族的身分認同衝突能感同身受時,隨之而來驚心動魄的冒險,才能給人更強大的衝擊力道,觀眾也更有帶入感,為片中人物的危難感到更緊張。
電影中段跳傘到鑽頭上的那場戲就是最好的例子。在簡單介紹了話不多但身懷絕技的駕駛員蘇魯、享受冒險犯難的粗人奧森後,加上主角寇克,三人由無聲的太空飛向敵人的空中鑽頭,隨著進入大氣層,空氣的轟隆聲越來越大,畫面也越來越不穩定,觀眾們也跟著屏息以待,腎上腺素飆升。短短不到五分鐘的戲,幾乎讓所有人繃緊神經,為這三人捏一把冷汗。
這部電影幾乎無時時刻都是這種緊張時刻,雖然灌入了大量的娛樂電影元素,且在短時間內塞了很多資訊,但整部電影不但沒有被拖垮或變得空洞無腦,反而成就了高度的娛樂性,創造了新世代的經典!
此外,本片的原聲帶,也是我最喜歡的電影音樂之一!麥可•吉亞奇諾(Michael Giacchino)作的配樂,不僅莊嚴又富史詩感,而且正好能搭配J.J那極有渲染力的鏡頭語言和敘事節奏(兩人是從M:i:III就開始合作的老搭擋了)。也就是麥可吉亞奇諾這次的配樂,讓我開始認真聽電影音樂的!直到現在,【爭霸戰】的主題曲我都還能朗朗上口啊。
不誇張,對我而言,麥可•吉亞奇諾的地位,甚至比約翰威廉斯(John Williams)或漢斯季默(Hans Zimmer)都來得重要啊!
可想而知,【星際爭霸戰】再次將星艦推向新的高峰,其票房比以往所有的星艦電影都來得高,觀眾與評論都反響熱烈。這給了派拉蒙影業更多的信心,更願意出錢去製作續集(甚至在上映前,編劇與製片就在規劃續集的故事了)。
不過由於不想受限於第一集的窠臼之中,又自認很難真正超越舊系列,製作團隊決定從以往的星艦電影中,去尋找第二集電影的可能性。
而被製片們挑中的,就是星艦世界中最具魅力、最讓人印象深刻的反派:【星艦迷航記II:星戰大怒吼】(Star Trek II: The Wrath of Khan)中的可汗(Khan)……
2.【闇黑無界:星際爭霸戰】-即將駛入黑暗
(Star Trek into Darkness,2013)
故事講述由於一次的任務疏失,艦長寇克被聯邦艦隊解除職務,企業號的船員們也面臨了解散拆夥的可能,寇克更是與副艦長史巴克之間產生了嫌隙。然而就在此時,地球上的星艦總部竟遭到神秘人士-可汗的恐怖攻擊,重挫星際艦隊!怒火中燒的寇克決定帶領成員深入險境,向可汗進行復仇式的反擊。沒想到,在這一連串恐怖攻擊的背後,竟藏著星際艦隊不可告人的秘密!艦長寇克是否有辦法重新肩起艦長大任,打敗強大的可汗?
當時高中的我,本著四年來對第一集的熱愛和嚮往,興高采烈、呼朋引伴地進電影院去朝聖【闇黑無界】,結果不僅沒有讓我重溫舊夢,反而大失所望!J.J神話就此破滅,彷彿最心愛的事物遭人踐踏一般,從此之後好幾年,對於【闇黑無界】這部電影非常不好。(儘管外界評價並不差,而且票房表現還比前作更優異)
最主要的原因,就是因為這次J.J及其團隊不再使用以往【M:i:III】、【星際爭霸戰】那種敢火車的步調講故事了。劇情沒有那麼緊湊、聚焦,動作場面也不如以往緊張到讓人心臟停止。抱著追求前作給人的感官刺激和腎上腺素的心情去看,但這部片完全不符合預期。
當然,事隔多年,當年的激情、期待與預設立場都放下了,再回頭來重看【闇黑無界】這部片,果然有了更多不一樣的感受。
在前一集,放浪不羈的寇克碰上了古板嚴苛的史巴克,兩人雖個性不合,不過因為反派尼祿的侵略迫在眉睫,因此凝聚了這個團隊,靠著史巴克的邏輯與寇克的腦衝突破險境。而這集呢?
我們知道,寇克真的當上艦長了,史巴克也心甘情願擔任了副艦長,可是有個這麼感情用事、唾棄成規的艦長可以嗎?當然會有問題!危急存亡之秋時可以用權宜之計、火線管理來渡過難關,可是當企業號要長時間的進行任務,維繫團隊的向心力與穩定,卻需要賴固定的典章制度;況且,依然注重邏輯的史巴克,更是不會同意每次艦長大人都違規。
因此兩人就產生了歧見:救人命、打壞人比較重要,還是合法、合程序較重要?像是寇克為了拯救史巴克,違反「最高原則」,暴露的企業號;或是為了向可汗報仇,而裝載未知的毀滅性武器要去「未審先判」,即便於情於理都能得到(觀眾的)認同,但不合法就是沒有正當性。當一位領導者自己不守法時,同時也就代表了無法為這個團體、這個體制負責。
另一方面,史巴克太過強調邏輯,變得有點太墨守成規,甚至反人性時,也會使團隊的情感產生裂縫。
這就是為何,第二集不符當年的我的預期:【闇黑無界】的重點根本就不是冒險動作啊~與「爭霸戰」還是「闇黑」一點關係也沒有!表面上看來,【闇黑無界】是星艦對抗可汗的故事,實際上,更重要的卻是寇克如何學會肩負責任、史巴克如何瞭解人情交流,使企業號的團隊更完美的歷程,兩人都在學習,也都在彼此辯證,然後又在衝突之中互相理解、成長。
於是乎,現在我對【闇黑無界】,片中(幾乎複製上一集)的那些動作、特效場面一樣的不吸引人,但是文戲的方面卻是一個大享受。不管是寇克知道自己無法當艦長的震驚、可汗想失去家人的哀傷,或史巴克失去烏胡拉、失去艦長時的迷網與悲憤(那聲「可汗~~~~~~」叫得我情緒激昂啊),都讓觀眾對於主角們內心和外界價值的衝突,有更深的同情與認同。
此外,由班乃迪克康柏拜區飾演的可汗,與星際艦隊的矛盾亦是本片的另一個辯證:一個擁有合法性、正當性的強權國家,與一位擁有合理性、值得被同情的恐怖分子,誰比較糟糕?
製片與編劇在重新創作可汗這個人物時,在故事當中加入了當代國際局勢:星際聯邦就像美國,利用別人去幹一些骯髒勾當,等自己坐享其成後便兔死狗烹,想要粉飾太平;而可汗也就像是某些恐怖份子,自己被利用、欺騙,最後遭遺棄,甚至被陷害,於是不甘再被欺壓,決定反噬強權、報復社會。一洗了我們原本認為的,星際聯邦是個烏托邦的假像,揭露了先進社會背後的醜聞。
其「國家利益」與「個人權益」間的衝突,其實也在某一種程度上呼應了史巴克「理、法」和寇克「情、義」的辯論。即便整部電影雖然娛樂性大幅降低,但片中的思考與辯證,卻在精神上更接近了以往的星艦系列(都提出一些燒腦的假設性問題,來撼動觀眾的價值觀)一點。
結果,【闇黑無界】一片似乎是再次滿足了老星艦迷、新觀眾和康柏拜區的迷妹,票房更勝前作!且不少評論都給予這部電影和康柏拜區的演技很大的讚賞與肯定(當然也有不少人批評電影中卡蘿換衣服的情節完全沒必要)。
但相較之下,第二集雖然給予了「滿足」,但卻未能如前作帶來「新鮮感」,IMDb和爛番茄的觀眾、影迷評分,【闇黑無界】都略輸【星際爭霸戰】一節,似乎也預示著此系列的聲勢要走下坡了……
3.【星際爭霸戰:浩瀚無垠】-是否能再重新啟航?
(Star Trek Beyond,2016)
故事講述企業號一行人踏上了為期五年的太空探索,然而隨著時間的流逝,艦長寇克和夥伴們都漸漸在太空中迷失了自我,越來越懷疑星際探索的意義了,大家都萌生了退意。就在此時,不僅碰上一個從星雲逃出來的難民向企業號求救,穿越星雲後,甚至遇上強大的敵人攻擊企業號!眼看企業號再次面臨被敵人瓦解的危機,寇克與他的團隊有辦法死裡逃生嗎?神秘的敵人又有什麼不可告人的陰謀呢?
由於J.J亞伯拉罕被請去導隔壁棚的【星際大戰七部曲:原力覺醒】,再加上派拉蒙影業的高層似乎更希望他們的新電影,是要像西部片或動作片那樣擁有娛樂電影的基調。因此導演聘請了曾拍過【玩命關頭】(The Fast and the Furious)系列的林詣彬(Justin Lin),並且要求賽門佩吉等一夥編劇「不要把故事編得太『星艦』」。果然,這次的換血以及創作方向的轉換,帶給這個系列更不一樣的續集,觀眾的反應還不錯,不少評論也認為這次的【浩瀚無垠】娛樂性很高,動作場面很精彩!
事實上,當時看完【浩瀚無垠】,我是非常開心的,林詣彬確實有將他在【玩命關頭】系列中,善用的動作大片的技巧,加入企業號一行人的冒險故事中。
像是寇克騎著摩托車在異星上面與外星人槍戰、飛車拯救夥伴,或是老骨頭架著外星飛船在宇宙城市中穿梭、追捕敵人……等讓人眼花撩亂的動作場面,都是一時之選,在當年暑假檔期爆米花電影中可是鶴立雞群啊!更不用說,當企業號的團隊開著飛船,放著搖滾樂,衝向敵人,讓對手灰飛煙滅時,那可是非常的令人熱血沸騰啊!
然而,這也是【浩瀚無垠】注定無法給人留下深刻的印象。
首先,派拉蒙特地找到了精於處理群戲、擅長講述夥伴情誼的林詣彬來指導,而且賽門佩吉等編劇們也很努力地製造笑料,故事甚至還很刻意地將主角一行人拆散成兩兩一組,好運用人物的性格衝突來製造笑點。可是到頭來,這依然是一個娛樂動作片的劇本。
娛樂電影式的劇情並沒有不好,可是【浩瀚無垠】就是沒有第一集那樣緊湊刺激;故事放緩了腳步,花了時間講每個人的情感,但人物的深度甚至比【闇黑無界】都還薄弱,角色們戲份均勻但大多淪為劇情工具或講笑話的用途,我們無法看到在危機當中,他們經歷了什麼樣的心境變化,且人物們的想法與情感也沒有真正影響到劇情,每個人都是非常王道地「我要保護朋友」、「我要拯救世界」。
看看【闇黑無界】中,寇克與史巴克的衝突,影響了他們對付可汗的手法,並間接驅使寇克學會承擔責任、犧牲小我,也逼史巴克面對自己的真實情感,這是為何第二集可以在人物的故事上打動人。更不用說第一集了,整個故事都乎都是由寇克與史巴克的情緒,與船員們的特殊技能去推動的。
這就是【浩瀚無垠】的不足處,我們看到了寇克的倦情、史巴克對死亡的體驗,但是呢?人物的感情活動與劇情推進並無真正關聯,上一秒說倦怠、說想離開艦隊,下一秒又變回了以前的熱心積極、沉著穩重,就算把這部電影裡,所有展現角色內心世界的文戲全部抽掉,故事依然說得通,難怪創作者花了這麼多力氣依然沒辦法觸動人心。
另一方面,【浩瀚無垠】不一樣的地方,就是故事從開始沒多久,就把重點聚焦於一個異星球上,看船員們如何在這顆星球上與敵人鬥智。
這種「大題小作」的說故事方式沒有問題,但與前兩集相比,第一集精煉簡潔地介紹了地球、瓦肯星與星際艦隊,第二集更是揭露了星際聯邦與克林貢帝國外交關係緊張的「國際情勢」,【浩瀚無垠】只說了一個痛恨聯邦的恐怖分子要攻擊一座宇宙都市,格局便嫌小了許多。
正因格局小,劇本又無法成功讓觀眾對角色感同身受,故事便感覺伸展不開手腳,也沒辦法深入人心。一個普通的故事,配上還不錯的娛樂性,我們的【星際爭霸戰:浩瀚無垠】也就只會是一部「還不錯」的免洗爽片而已。
對於這樣的一個成品,我個人覺得是稍嫌可惜的,我們有了寇克、史巴克,甚至老骨頭、史考特這樣極富特色、活靈活現的人物,以及「星艦」的整個龐大的世界觀,其實是很有潛力講出更豐富、更深刻的故事的。
然而派拉蒙影業給了我們這麼一齣【浩瀚無垠】,小小地取悅了觀眾,卻也熄滅了我的熱愛與希望(當年會愛上星艦,就是因為【星際爭霸戰】是如此地與眾不同啊!)。故事講到這兒,我覺得也許有不少人都看了出星艦新系列疲態已顯,在「娛樂」的這個大方向被確立下來的同時,也正式扼殺了這個系列的可能性,並在影迷們的心中孵化了對電影創作者的質疑和憂慮:你們接下來故事還想怎麼說啊?
果不其然,【浩瀚無垠】的票房雖然也不俗,但卻還沒好到能讓派拉蒙回本;本來【星際爭霸戰4】已經如火如荼地開始規劃,然而卻因【浩瀚無垠】成績不如預期,公司刪減預算致使演員退出,以及導演S. J. Clarkson的離開,而宣布星艦續集計畫將無限延期。
就這樣,原本風光起飛的【星際爭霸戰】新系列,給了老影迷懷舊,給了新觀眾展新的視野,也給了我這個小影癡一個希望。但在過程中,如企業號一樣遭到挫折而墜落,可是有沒有機會再度啟航,已是目前影迷心中最大的問號……
#StarTrek #USSEnterprise #KelvinTimeline #JJAbrams #ChrisPine #ZacharyQuinto #SimonPegg #MichaelGiacchino #StarTrekIntoDarkness #BenedictCumberbatch #StarTrekBeyond #JustinLin #SpaceOpera #SciFi
star trek: nemesis 在 Moviematic 電影對白圖 Facebook 的最讚貼文
🌟明星專題- Tom Hardy 湯·赫迪 🌟
Tom Hardy 2001年接拍第一部電影《黑鷹十五小時》
截止現時一共接拍了37套電影
mm精選了數套覺得Tom Hardy最深刻印象的角色與電影 🎥
1. 《星空奇遇記X:星戰啟示錄 Star Trek: Nemesis》- Shinzon (2002)
2. 《潛行凶間 Inception》- Eames (2010)
3. 《鋼鐵鬥士 Warrior》- Tommy Riordan/Conlon (2011)
4. 《蝙蝠俠—夜神起義 The Dark Knight Rises》- Bane (2012)
5. 《末日先鋒:戰甲飛車 Mad Max: Fury Road》- Max Rockatansky (2015)
6. 《復仇勇者 The Revenant》- John Fitzgerald (2015)
7. 《鄧寇克大行動 Dunkirk》- Farrier (2017)
8. 《毒魔 Venom》- Venom/Eddie Brock (2018)
你們最喜愛Tom Hardy哪套電影呢?🙋
#TomHardy #湯赫迪 #湯姆哈迪 #movie #film #電影對白圖 #moviematic #語錄#文字 #電影 #電影台詞 #電影對白 #對白 #明星專題 #mm明星專題
star trek: nemesis 在 Marioverehrer Youtube 的最佳解答
► Check out David Kaylor's performance: https://www.youtube.com/watch?v=veinzeZ80g4
► Learn the piano step by step: https://www.skoove.com/#a_aid=marioverehrer *
► Learn piano songs quick and easy: http://tinyurl.com/flowkey-marioverehrer1 *
► iTunes: https://apple.co/2HdMswA
► Spotify: https://spoti.fi/2JqvMVq
► Sheet Music: https://www.musicnotes.com/l/Marioverehrer
► Classical Sheet Music: https://gumroad.com/marioverehrer
► Support me on Patreon: http://www.patreon.com/Marioverehrer
► Facebook: http://www.facebook.com/Marioverehrer2
► Twitter: https://twitter.com/Marioverehrer
* Affiliate Link
Enjoy this beautiful musical Journey through the Star Trek franchise. David Kaylor arranged an awesome medley fot the 50th birthday of Star Trek. Enjoy!
Visit and subscribe to his music channel: https://www.youtube.com/user/TheVarietyGuy/
_____________________________________________________
List of songs featured in this medley:
- Star Trek: The Original Series (1966-1969) theme, composed by Alexander Courage – 0:03
- Suite from "The Trouble With Tribbles" (1967) composed by Jerry Fielding and Fred Steiner – 1:23
- Star Trek: The Animated Series (1973-1974) composed by "Yvette Blais" (Ray Ellis) and "Jeff Michael" (Norman "Norm" Prescott) – 2:13
- Star Trek: The Motion Picture (1979), "The Enterprise" composed by Jerry Goldsmith – 3:12
- Star Trek II: The Wrath of Khan (1982) End Credits composed by James Horner – 6:09
- Star Trek III: The Search for Spock (1984) theme composed by James Horner – 7:39
- Star Trek IV: The Voyage Home (1986) theme, composed by Leonard Rosenman – 8:45
Star Trek V: The Final Frontier (1989)
- "Life is a Dream" (Klingon Theme) composed by Jerry Goldsmith – 10:24
- "The Mountain" composed by Jerry Goldsmith –11:55
- Star Trek VI: The Undiscovered Country (1991) End Credits Suite, composed by Cliff Eidelman – 13:19
- Star Trek: The Next Generation (1987-1994) main title theme, composed by Jerry Goldsmith, arranged by Dennis McCarthy – 15:11
- "The Inner Light": Orchestral Suite (1992), composed by Jay Chattaway – 16:36
- Star Trek: Deep Space Nine (1993-1999) main title theme, composed by Dennis McCarthy – 20:01
- Star Trek: Generations (1994) Overture, composed by Dennis McCarthy – 21:40
- Star Trek: Voyager (1995-2001) main title theme composed by Jerry Goldsmith – 23:05
- Star Trek: First Contact (1996) theme composed by Jerry Goldsmith – 25:26
- Star Trek: Insurrection (1998), "Ba'ku Village" composed by Jerry Goldsmith – 27:18
- Star Trek: Nemesis (2002), "A New Ending" composed by Jerry Goldsmith [featuring "Blue Skies" written by Irving Berlin (1926) – 29:49
- Star Trek: Enterprise (2001-2005) theme, "Where My Heart Will Take Me", performed by Russell Watson
Originally "Faith of the Heart", performed by Rod Stewart, written by Diane Warren (1998) – 31:21
- "In A Mirror, Darkly" (2005), alternate 'Enterprise' theme composed by Dennis McCarthy, and Kevin Kiner – 32:31
- Star Trek (2009), "To Boldly Go" and "End Credits" composed by Michael Giacchino – 33:42
- Star Trek Into Darkness (2013), "London Calling" composed by Michael Giacchino – 35:47
- Star Trek Beyond (2016), "Sledgehammer" performed by Rihanna, written by Robyn Fenty, Jesse Shatkin, and Sia Furler – 36:32
- End Credits (Influenced from TNG movies) – 37:50
_____________________________________________________
♫ Promote Your Music ♫
To submit your music on my channel:
➝ Write me a PM on Facebook: https://www.facebook.com/Marioverehrer2
➝ Always send a link or music file of your work.
➝ If I'm interested, I will message you back.
Composer(s): a lot (Check the list above)
Arrangement © David Kaylor (2016)
Original Music © Paramount Pictures (1966-2016)
star trek: nemesis 在 Star Trek Nemesis - Praetor Shinzon - Pinterest 的推薦與評價
Nov 24, 2016 - Captain Picard and crew meet Shinzon.All credit goes to Paramount Pictures. ... <看更多>