On this day:
17 เมษายน วันชาติซีเรีย: ย้อนเหตุการณ์การได้คืนซึ่งอธิปไตยในอดีตจนถึงสงครามกลางเมือง
อย่างที่ทุกๆคนทราบกันดีว่า สงครามกลางเมืองของซีเรีย ความแตกแยกของชาติซีเรีย ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา มีความรุนแรงมาก เราเห็นภาพการต่อสู้ เห็นภาพคนเจ็บและคนตายมากมาย แต่รู้หรือไม่ว่าก่อนที่จะเกิดสงครามนี้ซีเรียเคยตกเป็นเมืองขึ้นและประกาศอิสรภาพจนรวมชาติสำเร็จมาแล้วในปี 2489 วันนี้เราจะย้อนไปดูเหตุการณ์ว่าทำไมซีเรียถึงตกเป็นเมืองขึ้น? เป็นเมืองขึ้นของใคร? แล้วหลังจากประกาศอิสรภาพแล้วทำไมถึงยังมีสงครามกลางเมือง?
ประเทศซีเรีย (Syria)( سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย
เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีกรุงดามัสกัสเป็นเมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศ
ประเทศซีเรียเคยถูกปกครองโดยพระเจ้าไฟซาล (อามีร์ ไฟซาล) ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากสภาซีเรียให้ดำรงตำแหน่งกษัตริย์ แต่ด้วยความที่เป็นประเทศเล็ก ไม่แข็งแรงมากพอ หรืออะไรก็ตาม พระองค์ไม่สามารถต่อต้านฝรั่งเศสได้ จึงต้องยอมตกลงอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส แม้ประชาชนจะไม่เห็นด้วยและลุกฮือต่อสู้เพื่อเอกราชแต่ท้ายสุดก็ไม่สามารถต้านทานกองกำลังฝรั่งเศสได้และตกเป็นอาณัติในวันที่ 25 กรกฎาคม (ไม่ทราบปี)
ด้วยความที่ประชาชนซีเรียบางส่วนมีความภาคภูมิใจของชาติตนเองตั้งแต่ก่อนเสียเอกราช ทำให้เกิดการรวมตัวและวางระเบิดก่อกวนหลายครั้งระหว่างปี 2467-2468 ในเมืองดามัสกัสและเมืองอื่นๆ ก็ถูกระเบิดอีกถึงสามครั้ง ในที่สุดภายการระเบิดครั้งใหญ่ในปี 2487 ก็ทำให้ซีเรียเป็นอิสระต่อฝรั่งเศสในวันที่ 17 เมษายน ปี 2489 หลังจากนั้นซีเรียก็กลายเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา
แต่หลังจากได้รับเอกราชจากตะวันตก ก็ไม่ได้แปลว่าประเทศซีเรียอยู่ในความสงบสุข เป็นธรรมดาของการปกครองคนหมู่มาก ย่อมมีคนที่ชอบและไม่ชอบในเรื่องต่างๆ มีกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารในปี 2492–2514 โดยระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียก็ได้เข้าร่วมสหภาพกับอียิปต์ แต่ก็สิ้นสุดลงด้วยรัฐประหารเช่นกัน แต่การเข้าร่วมครั้งนี้ก็ทำให้ประเทศซีเรียจากเปลี่ยนระบบรัฐสภาเป็นรัฐบาลระบบประธานาธิบดีที่รวมอำนาจการปกครองไว้ที่ประธานาธิบดี
ซีเรียประสบการรัฐประหารในอีกหลายครั้ง แต่ครั้งที่ใหญ่และส่งผลมาจนถึงสงครามกลางเมืองในปัจจุบันคือเมื่อปี 2513 พันเอก ฮาเฟซ อัล-อัสซาด ได้ก่อรัฐประหารยึดอำนาจปกครองประเทศและในปี พ.ศ. 2514 ได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของซีเรียจนถึงอสัญกรรมเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2543 เดือนต่อมา บุตรชายของอดีตประธานาธิบดี ดร. บัชชาร อัลอะซัด ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนใหม่ของซีเรีย
ดร. บัชชาร อัลอะซัด ได้รับการศึกษาจากประเทศตะวันตกจึงทำให้เห็นความสำคัญของการปฏิรูปประเทศทั้งในด้านการเมืองและเศรษฐกิจซึ่งอยู่ในสภาพที่ย่ำแย่และเห็นความจำเป็นต้องเปิดประเทศเพื่อรับการลงทุน และความช่วยเหลือ โดยเฉพาะจากสหรัฐฯ แต่ก็มีอีกแง่มุมนึงที่กล่าวว่า มีผู้ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลนี้และเริ่มมีการประท้วงตั้งแต่ปี 2554 และเมื่อรัฐบาลของ บาชาร์ อัล อัสซาด ใช้กำลังปราบปรามการชุมนุมต่อต้านรัฐบาล การประท้วงโดยสงบจึงแปรเปลี่ยนเป็นการต่อสู้กันด้วยกำลัง จนในที่สุดกองทัพปลดปล่อยซีเรีย (Free Syrian Army หรือ FSA) ได้ถือกำเนิดขึ้น โดยมีผู้นำกองทัพและทหารบางส่วนจากกองทัพซีเรียประกาศตัวแปรพักตร์ และรวมตัวกับกลุ่มประชาชนผู้ต่อต้านรัฐบาลอัสซาด
หลังจากนั้นเป็นต้นมาความจลาจลก็เกิดขึ้นในซีเรียอีกครั้ง มหาอำนาจโลกอย่างสหรัฐฯ และรัสเซีย รวมถึงหลายประเทศในตะวันออกกลาง ไม่ว่าจะเป็น อิหร่าน ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี อิสราเอล รวมถึงกองกำลังติดอาวุธหลายกลุ่ม ได้เข้ามาสัมพันธ์ ขัดแย้ง และเป็นส่วนหนึ่งในสงครามกลางเมืองซีเรีย ที่มีทีท่าว่าอาจจจะขยายวงกลายเป็นสงครามที่ไม่จำกัดอยู่แค่ภายในเขตแดนของซีเรียเท่านั้น
สหรัฐฯ ให้การสนับสนุนกองทัพปลดปล่อยซีเรีย (Free Syrian Army หรือ FSA) ในการสู้รบกับรัฐบาลอัสซาด โดยที่ผ่านมา การสนับสนุนที่สหรัฐฯ ให้นั้น เน้นไปที่การช่วยฝึกกองกำลังของ FSA โดยไม่ได้ส่งกองกำลังของสหรัฐฯ เข้าไปช่วยรบปฏิบัติการทางทหารโดยตรงเพียงอย่างเดียวของสหรัฐ ในซีเรีย คือการใช้ขีปนาวุธ โดยนับแต่ความขัดแย้งในซีเรียปะทุขึ้น สหรัฐฯ ได้ยิงขีปนาวุธเข้าไปในซีเรียแล้ว 3 ระลอก ได้แก่ หนึ่ง การโจมตีฐานที่มั่นของกลุ่มรัฐอิสลาม (ISIS) ในซีเรีย สอง การใช้ขีปนาวุธโจมตีฐานทัพอากาศของซีเรียที่เชื่อว่าถูกใช้ในปฏิบัติการยิงอาวุธเคมีของซีเรียในปี 2559 และสาม การร่วมกับฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรใช้ขีปนาวุธสถานที่ที่เชื่อว่าเป็นที่ผลิต เก็บ และวิจัยอาวุธเคมีของซีเรีย ว่ากันว่าสหรัฐฯ ยังมีจุดประสงค์สำคัญอีกอันหนึ่ง ที่ทำให้ต้องเข้าร่วมในสงครามในซีเรีย นั่นคือการกำจัดกลุ่มก่อการร้าย โดยเฉพาะกลุ่มรัฐอิสลาม (ISIS) อีกด้วย
การก่อจลาจลในซีเรียลุกลามเป็นสงครามกลางเมืองซีเรีย และกลายเป็นสงครามตัวแทน ที่ต่างฝ่ายต่างมีพวกหนุนหลัง เกิดการแทรกแซงอำนาจนอกดินแดนซีเรีย สงครามไม่มีทีท่าจะจบลงง่ายๆ แต่ทุกคนเห็นชอบว่า จำเป็นต้องหาทางออกทางการเมือง หลายฝ่ายจึงเริ่มหาตรงกลางเพื่อที่สงครามจะได้ยุติ
แต่ก็ยังไม่มีใครตอบได้ว่าสงครามซีเรียจะสิ้นสุดจริงๆเมื่อไร และสิ้นสุดที่ตรงไหน แต่ในตอนนี้คนที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคงหนีไม่พ้นประชาชน ประชาชนชาวซีเรียได้รับเคราะห์ร้ายจากเหตุการณ์นี้ ต้องสูญเสียชีวิต สูญเสียญาติพี่น้อง บางส่วนก็พิการ บางส่วนก็กลายเป็นคนวิกลจริต…หรือจริงๆแล้วกลุ่มคนที่จะทำให้ทุกฝ่ายกับมารวมและสร้างชาติได้อีกครั้งอาจต้องเป็นประชาชนที่เป็นฝ่ายที่ลุกขึ้นมาเหมือนเมื่อปี 2489 ที่ทำให้เกิด “วันชาติซีเรีย” ขึ้นมากันแน่
#SorSorPeoplepersona
#peoplepersona
#เขย่งก้าวกระโดด
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過19萬的網紅ช่องแม่นนะหนึ่ง 88,也在其Youtube影片中提到,Please watch: "Jürgen Klopp เจอร์เก้น คล็อปป์ ยอดโค้ชเมดอินเยอรมัน" https://www.youtube.com/watch?v=eNyIDMYJPAk --~-- สงครามในประเทศซีเรีย เริ่มต้นขึ...
syrian army 在 新‧二七部隊 軍事雜談 Facebook 的精選貼文
敘利亞國民軍(Syrian National Army, SNA)在這幾年受到土耳其的背後大力支援,人力訓練、資金招募等,讓原為烏合之眾的敘利亞自由軍經過土耳其的訓練,幾乎變成土耳其的另一個「傭兵」,並參與去年高加索地區的納卡共和國戰爭,現在他們也能自行開發自製裝甲車,連遙控槍塔技術也都有
syrian army 在 新‧二七部隊 軍事雜談 Facebook 的最讚貼文
這是截至今天目前為止(3/2)的敘利亞北部戰區勢力範圍,以下為各方勢力控制色塊:
土耳其控制和支持的敘利亞反抗軍(紫色)
親土耳其的敘利亞反抗軍(橘色)
伊斯蘭聖戰組織(暗紅色)
庫德族武裝勢力(綠色)
阿薩德政權統治的敘利亞政府軍(黃色)
敘利亞政府軍急於對付反抗軍,去年起一步步攻擊反抗軍據點,結果導致兩國在俄國的眼皮下打了起來,敘北戰區有庫德族、黎巴嫩真主黨(Hezbollah)支持敘利亞政府軍,土耳其則支援反阿薩德政權的敘利亞民主軍(FSA),以及還有從其他中東或北非的激進聖戰組織,盤據在敘北戰區
土耳其在北部鄰近阿勒坡(Aleppo)和南方的伊德里布(Idlib)的戰線,在敘利亞政府軍受俄國支援下被猛攻,土耳其的防線從去年12月26日到今年2月17日為止慢慢被逼退後,尤其土耳其不滿遭到敘利亞政府軍轟炸造成嚴重死傷,這幾天開始猛攻轟炸,支援在北部的反抗軍拓展勢力,也透過空襲摧毀敘利亞政府軍據點和武裝單位
Idlib sitrep
The SAA has been losing a lot of ground on the Ghab Plains in Western Idlib. Three days ago, Almost all of the plain had been reconquered by the Syrian army and the M-4 Highway was in sight. Right now the SAA has been pushed roughly half way back the plain.
However, government forces are apparently regaining some ground toward Saraqib (East Idlib). There were fights along the strategic city's suburbs all night long. Hezbollah was apparently heavily involved in the fight...
So far, the Hezbollah had been careful not to get involved in a fight with Turkish troops and Turkey avoided targeting Hezbollah camps and bases. This has changed this weekend: Hezbollah militiamen were targeted by Turkish strikes, causing casualties. Both the Hezbollah and Iran warned Turkey not to target Lebanese and Iranian proxies in Syria. Tehran went as far as threatening Ankara by reminding the Turks that they are within range of many Iranian ballistic and cruise missiles.
Turkish drone warfare has turned the tables in this conflict and will most certainly become a case study in the near future. Turkish operators are getting good at targeting Syrian reinforcements columns, sapping their morale and effectiveness before they even reach the frontline. Said operators are also targeting any retreating forces, often turning orderly retreats into mini routs and forcing said men to abandon hardware and vehicles behind them. The Turkish drone campaign has inflicted a fair amount of casualties and hardware on the Syrian forces. Hardware can be replaced by Moscow, but Damascus is already short of manpower as it is. It is good to keep in mind that while the Syrian losses figures are probably high, the ones published by Ankara are overly overestimated. The information warfare on both sides is in full swing.
The SyAD seems powerless against those drones: It lacks short and medium range mobile SAM batteries to protect its forward positions and convoys on the move. And the few batteries it has are needed around Damascus to try and mitigate the effects of constant Israeli strikes.
The SyAF lost two Su-24 Fencers over the province, yesterday.. Most probably shot down by Turkish F-16s.
Turkey seems to be shifting some more HTS (Al Qaeda) fighters from Idlib to Libya. Ex-Syrian rebels and foreign jihadis that fought in the Syrian civil war have been fighting on behalf of Ankara in Libya for the past month or so.
General Haftar of the Libyan National Army was in Damascus yesterday, to coordinate action against Turkish policies in both countries. An agreement was reached: Any Syrian caught prisoner in Libya will be handed over to Damascus...
Washington, which has spotted a golden opportunity to drive a wedge between Ankara and Moscow, has pledged to (politically) support Turkey in Idlib. The Turkish request to have US Patriot batteries deployed in Turkey hasn't been granted, however.
Moscow, using almost the same language, has pledged to keep on supporting Damascus in its fight against terrorism...
Putin and Erdogan are supposed to meet up within days to bridge their differences. Delegations from both countries' foreign ministries have already met to prepare the upcoming high level meeting. This might not be as straightforward as it sounds: This weekend, Turkey has requested Russian forces to move back to their Syrian bases and let the Turkish army conduct its business in Idlib... Moscow reminded Ankara that Russia is currently the only country operating in Syria whose armed forces were legally deployed on Syrian territory after having been invited there by the country's official government...
Pretty big bridge to gap, then...
-RBM.
syrian army 在 ช่องแม่นนะหนึ่ง 88 Youtube 的最佳解答
Please watch: "Jürgen Klopp เจอร์เก้น คล็อปป์ ยอดโค้ชเมดอินเยอรมัน"
https://www.youtube.com/watch?v=eNyIDMYJPAk --~--
สงครามในประเทศซีเรีย เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี 2011 เมื่อรัฐบาลของ บาชาร์ อัล อัสซาด ใช้กำลังปราบปรามการชุมนุมต่อต้านรัฐบาล การประท้วงโดยสงบจึงแปรเปลี่ยนเป็นการต่อสู้กันด้วยกำลัง จนในที่สุดกองทัพปลดปล่อยซีเรีย (Free Syrian Army หรือ FSA) ได้ถือกำเนิดขึ้น โดยมีผู้นำกองทัพและทหารบางส่วนจากกองทัพซีเรียประกาศตัวแปรพักตร์ และรวมตัวกับกลุ่มประชาชนผู้ต่อต้านรัฐบาลอัสซาด
.
หลังจากนั้นเป็นต้นมา มหาอำนาจโลกอย่างสหรัฐฯ และรัสเซีย รวมถึงหลายประเทศในตะวันออกกลาง ไม่ว่าจะเป็น อิหร่าน ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี อิสราเอล รวมถึงกองกำลังติดอาวุธหลายกลุ่ม ได้เข้ามาสัมพันธ์ ขัดแย้ง และเป็นส่วนหนึ่งในสงครามกลางเมืองซีเรีย ที่มีทีท่าว่าอาจจจะขยายวงกลายเป็นสงครามที่ไม่จำกัดอยู่แค่ภายในเขตแดนของซีเรียเท่านั้น
.
โดยหากแบ่งคร่าวๆ โดยมีรัฐบาลของ บาชาร์ อัล อัสซาด เป็นศูนย์กลาง กลุ่มผู้ที่สนับสนุนประธานาธิบดีมือเปื้อนเลือดผู้นี้ได้แก่ รัสเซีย อิหร่าน และกลุ่มฮิซบอลเลาะห์
.
ในขณะที่กลุ่มที่สนับสนุนกองทัพปลดปล่อยซีเรีย หรือในอีกแง่หนึ่งก็คือร่วมต่อต้านรัฐบาลของนายอัสซาดกลายๆ ด้วย ได้แก่ สหรัฐฯ และพันธมิตร (ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร) ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี อิสราเอล และชาวเคิร์ด
.
อย่างไรก็ดี ต้องกล่าวไว้ในที่นี่ด้วยว่า แม้จะมีจุดยืนต่อต้านรัฐบาลของนายอัสซาดเหมือนกัน แต่บางกลุ่มก็อาจขัดแย้งกันเอง เช่นตุรกีและชาวเคิร์ด ซึ่งมีความขัดแย้งกันเองโดยตรงอยู่ด้วย เนื่องจากชาวเคิร์ดในซีเรียต้องการแยกตัวเป็นรัฐอิสระและปกครองตนเอง ในขณะที่ตุรกีกลัวว่าหากชาวเคิร์ดในซีเรียเป็นอิสระ ชาวเคิร์ดในตุรกีอาจก่อความเคลื่อนไหวในลักษณะเดียวกันและสร้างความวุ่นวายในตุรกี
.
และในท่ามกลางความวุ่นวายของไฟสงคราม แต่ละฝ่ายก็มีจุดประสงค์และความต้องการของตัวเอง ที่ยิ่งทำให้ความขัดแย้งในครั้งนี้อาจยุ่งเหยิงจนสางไม่ออก