BMW กับแผนการเป็นเบอร์ 1 ของโลก ในตลาดรถหรูพลังงานไฟฟ้า
BMW X ลงทุนแมน
รถยนต์คันแรกของ BMW เกิดขึ้นเมื่อ 93 ปีก่อน โดยมีชื่อรุ่น BMW 3/15 PS
ซึ่งเวลานั้น สร้างกระแสไปทั่วโลกเมื่อสามารถชนะการแข่งขันรายการ Alpine Rally
ตั้งแต่ ณ วันนั้น BMW ก็พัฒนาทั้งดีไซน์รถที่สวยหรูและเทคโนโลยีที่ถูกอัปเกรดขึ้นเรื่อย ๆ
จนกลายเป็นแบรนด์รถยนต์ระดับ Luxury แถวหน้าของโลก
ด้วยยอดขายปีละมากกว่า 2 ล้านคัน
สิ่งที่น่าสนใจคือความสำเร็จ ณ วันนี้ BMW กลับไม่ได้นิ่งเฉย
เมื่อเป้าหมายล่าสุดของ BMW ในอนาคตอันใกล้
คือต้องการเป็นผู้นำระดับโลกในตลาดรถหรูพลังงานไฟฟ้า
รู้หรือไม่ว่า ภายในปี พ.ศ. 2568 หรืออีก 4 ปีข้างหน้า
BMW จะมีรถยนต์พลังงานไฟฟ้า 25 รุ่น โดยมีถึง 12 รุ่น ที่เป็น EV Car
ส่วนที่เหลือก็จะเป็นรถกลุ่ม Hybrid ประเภทต่าง ๆ
ยิ่งหากเจาะลึกเรื่องนี้ลงไปอีกจะพบว่า โรงงานผลิตของ BMW ใน 15 ประเทศทั่วโลก
ได้เปลี่ยนการใช้พลังงานไฟฟ้าในโรงงานที่มาจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน 100%
จนถึงกระบวนการผลิตรถต่าง ๆ ก็เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต
ทำไม BMW ถึงให้ความสำคัญและจริงจังกับเรื่องเหล่านี้
และหากทำสำเร็จตามแผน BMW จะได้ประโยชน์อะไรบ้าง
ลงทุนแมนจะวิเคราะห์ให้ฟัง
องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก คาดการณ์ว่าในปี 2050
หากโลกยังคงมีอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อย ๆ อาจต้องเผชิญสารพัดวิกฤติ
เช่น หลายเมืองอาจเกิดน้ำท่วมรุนแรง, ผลผลิตทางการเกษตรทั่วโลกตกต่ำ
แล้วหนึ่งผู้ก่อการร้ายที่ทำให้โลกร้อนก็คือ รถที่วิ่งบนท้องถนนทั่วโลก
ที่ปล่อยก๊าซ CO2 ในแต่ละปีกันอย่างมหาศาล
เรื่องที่เกิดขึ้นทำให้ภาครัฐและค่ายผู้ผลิตรถยนต์ทั่วโลกไม่ได้นิ่งนอนใจ
เพราะต่างรู้ดีว่า หากโลกถูกทำร้ายจนวันหนึ่งทนไม่ไหว
มลพิษต่าง ๆ ที่สะสมมายาวนาน ก็จะระเบิดออกมา
แน่นอนว่า มนุษย์ทุกคนจะได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง
ทำให้ค่ายผู้ผลิตรถยนต์ต่างเดินหน้ามุ่งไปสู่รถยนต์พลังงานไฟฟ้า
เพราะนี่คือยนตรกรรมไร้ควันพิษ พร้อมทั้งรัฐบาลในแต่ละประเทศก็สนับสนุนเรื่องนี้จริงจัง
BMW ก็เชื่อว่า หากเริ่มสตาร์ตไปที่เทรนด์รถพลังงานไฟฟ้าเร็วกว่าคนอื่น ๆ
โอกาสที่จะยืนเป็นเบอร์หนึ่งในอุตสาหกรรมรถหรูในอนาคตก็ไม่ใช่เรื่องยาก
เหตุผลก็เพราะเมื่อถึงวันที่ท้องถนนทั่วโลกพร้อมใจไปสู่รถพลังงานไฟฟ้า
BMW ก็จะมีเทคโนโลยีที่เหนือกว่า, ฐานลูกค้าที่มากกว่า และแบรนด์ที่คนทั่วโลกเชื่อมั่น
รู้หรือไม่ว่า จริง ๆ แล้ว BMW เริ่มต้นพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟฟ้าตั้งแต่เมื่อ 40 กว่าปีที่แล้ว
โดยมีชื่อว่า BMW 1602e ซึ่งเป็นการผลิตเพื่อทดลองไม่ได้จำหน่ายในตลาด
มาถึงในปี พ.ศ. 2551 หรือเมื่อ 13 ปีที่แล้ว
BMW เริ่มหันมาจริงจังกับการผลิตรถพลังงานไฟฟ้าภายใต้ชื่อ “Project i”
ซึ่งก็ผลิตรถออกมาหลายรุ่น พร้อมกับได้เสียงตอบรับที่ดี
จนปัจจุบันไอคอน i กลายเป็นจุดขายของ BMW ถึงการเป็นรถแห่งอนาคตไปแล้ว
ยกตัวอย่าง รุ่นที่เพิ่งเปิดจองในเมืองไทยเมื่อกลางปีที่ผ่านมา
BMW iX3 รถอเนกประสงค์ขับเคลื่อนไฟฟ้า 100%
ซึ่งนอกจากระบบชาร์จไฟฟ้าที่รวดเร็วแค่ 34 นาทีก็ชาร์จได้ถึง 80%
และหากเราชาร์จเต็ม 1 ครั้ง รถ iX3 คันนี้สามารถวิ่งได้ไกลถึง 460 กิโลเมตร
ทำความเร็วสูงสุด 180 กิโลเมตรต่อชั่วโมงเลยทีเดียว
หรืออีกหนึ่งรุ่นที่สร้างกระแสให้ BMW โด่งดังไปทั่วโลก
และยังเป็นรถที่ใครหลาย ๆ คนรอให้มาเปิดขายในไทยอย่างเป็นทางการนั่นคือ BMW i4
เพราะนี่คือ Gran Coupé รุ่นแรกที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า 100%
และหากชาร์จเต็ม 1 ครั้งรถรุ่นนี้สามารถวิ่งได้ไกลถึง 600 กิโลเมตร
พร้อมกับทำความเร็วสูงสุดได้ถึง 225 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
แต่ที่น่าทึ่งก็คืออัตราเร่งจาก 0 ถึง 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาเพียงแค่ 4 วินาที
ส่วนเรื่องดีไซน์การออกแบบทั้งภายนอกและภายใน เรื่องนี้ไว้ใจ BMW ได้
เพราะตลอดเวลาที่ผ่านมาดีไซน์การออกแบบรถยนต์ BMW ถือว่ายืนระดับต้น ๆ ของโลก
รถตระกูล i ก็เช่นกันที่มาพร้อมสไตล์เรียบหรูแต่แฝงไปด้วยการเป็นรถของคนรุ่นใหม่
อย่างที่เกริ่นไว้ข้างต้นว่า แผนของ BMW ไม่ใช่แค่การมุ่งไปสู่ตลาดรถไฟฟ้าอย่างเดียว
แต่ยังรวมไปถึงโรงงานและกระบวนการผลิต
ทีนี้หลายคนคงถามว่าเพราะอะไร ?
หลายคนอาจยังไม่รู้ แม้รถไฟฟ้าจะช่วยลดการปล่อยก๊าซ CO2 เวลาวิ่งอยู่บนถนน
แต่ในอีกมุมหนึ่ง กระบวนการผลิตอลูมิเนียมและเซลล์แบตเตอรี่ของรถไฟฟ้า
กลับมีแนวโน้มจะปล่อยก๊าซคาร์บอนมากกว่ากระบวนการผลิตรถเครื่องยนต์สันดาป
และเพื่อแก้ปัญหานี้ ภายในปี พ.ศ. 2573
BMW จึงมีนโยบายลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 80% ในการผลิตรถแต่ละคัน
พร้อมมุ่งเป้าที่จะลด carbon footprint ใน supply chain ให้ได้ 20%
การจะทำเรื่องนี้ให้เป็นจริงได้ นอกจากระบบบริหารสภาพแวดล้อมในโรงงาน
ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานสะอาด 100% แล้วนั้น
แนวคิดรีไซเคิลก็ยังถูกนำมาใช้ อีกด้วย
ใครจะคิดว่า 99% ของเสียจากการผลิตรถยนต์ 2.5 ล้านคันในแต่ละปี
BMW จะใช้เทคโนโลยีรีไซเคิลชั้นสูงเพื่อฟื้นคืนสภาพให้ไม่ต่างจากของใหม่
และวิธีนี้ก่อให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์น้อยกว่ามากหากเทียบกับต้องผลิตชิ้นส่วนใหม่
ที่น่าสนใจหากนำโรงงานผลิตรถยนต์ของ BMW มาเทียบกับค่ายรถยนต์อื่น ๆ
ที่ผลิตในประเทศเยอรมนีผลปรากฏว่า BMW ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ในการผลิตต่ำกว่าโรงงานอื่น ๆ
ส่วนในประเทศไทยเรา ก็มีความเป็นไปได้สูง
ที่ในอนาคตข้างหน้า BMW จะผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้า
เพราะเมื่อเร็ว ๆ นี้ ก็ได้ลงทุนสร้างโรงงานประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูง
ในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
หลายคนอาจตั้งคำถาม ทำไม BMW ถึงต้องลงทุนกับเรื่องเหล่านี้ด้วยเงินมหาศาล
เชื่อว่า BMW น่าจะรู้ดีว่าในอนาคตอันใกล้โลกของยนตรกรรม
ต้องเปลี่ยนถ่ายจากรถเครื่องยนต์สันดาปมาสู่รถพลังงานไฟฟ้า
หากเริ่มต้นเร็วกว่าคนอื่น ก็จะได้เปรียบในทุกมิติการแข่งขัน
และในขณะเดียวกัน BMW มีความเชื่อที่ว่า
สิ่งแวดล้อม สังคม ธุรกิจของตัวเอง ทุกอย่างมันต้องเติบโตไปพร้อม ๆ กัน..
References:
-https://www.press.bmwgroup.com/global/article/detail/T0342172EN/the-bmw-group-emphas:izes-its-consistent-focus-on-sustainability-at-the-2021-iaa-mobility:-more-stringent-co2-targe:ts-go-hand-in-hand-with-concrete-measures-and-concepts-for-implementation
-https://www.bmw.co.th/th/topics/fascination-bmw/electromobility/sustainability.html
-https://www.bmw.co.th/th/topics/fascination-bmw/all-news/2019/21-06-19-bmw-the-future-of-mobility.html
-https://car.kapook.com/view115047.html
-https://www.greenpeace.org/thailand/story/1729/1-5degrees/
-https://www.bmw.co.th/th/topics/fascination-bmw/all-news/2019/21-06-19-bmw-the-future-of-mobility.html
同時也有168部Youtube影片,追蹤數超過24萬的網紅Kyle Le Dot Net,也在其Youtube影片中提到,Giap's Original Video:https://youtu.be/LgAED4TBPN8 After 1975, hundreds of thousands of people from Vietnam got on boats to leave post war. Those who ...
「the story thailand」的推薦目錄:
the story thailand 在 Facebook 的最讚貼文
100 PHIM CHÂU Á XUẤT SẮC
1. Tokyo Story (Ozu Yasujiro, 1953) – Japan
2. Rashomon (Kurosawa Akira, 1950) – Japan
3. In the Mood for Love (Wong Kar Wai, 2000) – Hong Kong
4. The Apu Trilogy (Satyajit Ray) – India
5. A City of Sadness (Hou Hsiao-hsien, 1989) – Taiwan
6. Seven Samurai (Kurosawa Akira, 1954) – Japan
7. A Brighter Summer Day (Edward Yang, 1991) – Taiwan
8. Spring in a Small Town (Fei Mu, 1948) – China
9. Still Life (Jia Zhang Ke, 2006) – China
10. The Housemaid (Kim Ki-young, 1960) – Korea
11. Close Up (Abbas Kiarostami, 1990) – Iran
12. A One and a Two (Edward Yang, 2000) – China
13. Spring, Summer, Fall, Winter… and Spring (Kim Ki-duk, 2003) – Korea
14. Oldboy (Park Chan-Wook, 2003) – Korea
15. Late Spring (Ozu Yasujiro, 1949) – Japan
16. A Taste of Cherry (Abbas Kiarostami, 1998) – Iran
17. Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives (Apichatpng Weerasethakul, 2010) – Thailand
18. Ugetsu Monogatari (Mizoguchi Kenji, 1953) – Japan
19. The Music Room (Satyajit Ray, 1958) – India
20. The Cloud-capped Star (Ritwik Ghatak, 1960) – India
21.Where is the Friend’s Home (Abbas Kiarostami, 1987) – Iran
22. Raise the Red Lantern (Zhang Yimou, 1991) – China
23. Sopyonje (Im Kwon Taek, 1993) – Korea
24. Crouching Tiger Hidden Dragon (Ang Lee, 2000) – Taiwan
25. Spirited Away (Miyazaki Hayao, 2001) – Japan
26. Tropical Malady (Apichatpong Weerasethakul, 2004) – Thailand
27. Mother (Bong Joon-ho, 2008) – Korea
28. Poetry (Lee Chang-dong, 2010) – Korea
29. A Separation (Asghar Farhadi, 2011) – Iran
30. A Touch of Zen (King Hu, 1969) – Taiwan
31. Manila in the Claws of Light (Lino Brocka, 1975) – Philippines
32. Mandala (In Kwon Taek, 1981) – Korea
33. A Moment of Innocence (Mohsen Makhmalbaf, 1981) – Iran
34. Happy Together (Wong Kar Wai, 1997) – Hong Kong
35. The River (Tsai Ming-Liang, 1997) – Taiwan
36. Blissfully Yours (Apichatong Weerasethakul, 2002) – Thailand
37. Awaara (Raj Kapoor, 1951) – India
38. Floating Clouds (Naruse Mikio, 1955) – Japan
39. Pyaasa (Guru Dutt, 1957) – India
40. The Lonely Wife (Satyajit Ray, 1964) – India
41. The Cow (Dariush Mehrjui, 1969) – Iran
42. Red Sorghum (Zhang Yimou, 1987) – China
43. Days of Being Wild (Wong Kar Wai, 1990) – Hong Kong
44. Farewell My Concubine (Chen Kaige, 1993) – China
45. Vive l’amour (Tsai Ming Liang, 1994) – Taiwan
46. The Adopted Son (Aktan Abdykalykov, 1998) – Kyrgyzstan
47. Peppermint Candy (Lee Chang-dong, 1999) – Korea
48. I Was Born, But… (Ozu Yasujiro, 1932) – Japan
49. The Story of the last Chrysanthemums (Mizoguchi Kenji, 1939) – Japan
50. Living [Ikiru] (Kurosawa Akira, 1952) – Japan
51. Sansho The Bailiff (Mizoguchi Kenji, 1954) – Japan
52. The House is Black (Forough Farrokhzad, 1963) – Iran
53. Woman in the Dunes (Teshigahara Hiroshi, 1964) – Japan
54. Scattered Clouds (Naruse Mikio, 1967) – Japan
55. Daughter in Law (Khodzhakuli Narliyev, 1972) – Turkmenistan
56. Dersu Uzala (Kurosawa Akira, 1975) – Japan
57. In the Realm of the Senses (Oshima Nagisa, 1976) – Japan
58. A time to live and a time to die (Hou Hsiao-hsien, 1985) – Taiwan
59. Through the Olive Trees (Abbas Kiarostami, 1994) – Iran
60. Children of Heaven (Majid Majidi, 1997) – Iran
61. Osama (Siddiq Barmak, 2003) – Afghanistan
62. West of Tracks (Wang Bing, 2003) – China
63. Paradise Now (Hany Abu Assad, 2005) – Palestine
64. Mukhsin (Yasmin Ahmad, 2006) – Malaysia
65. Secret Sunshine (Lee Chang-dong, 2007) – Korea
66. The Goddess (Wu Yonggang, 1934) – China
67. Humanity and Paper Balloons (Yamanaka Sadao, 1937) – Japan
68. Street Angels (Yuan Mizhi, 1937) – China
69. The Life of Oharu (Mizoguchi Kenji, 1952) – Japan
70. Mother India (Mehboob Khan, 1957) – India
71. Floating Weeds (Ozu Yasujiro, 1958) – Japan
72. Good Morning (Ozu Yasujiro, 1959) – Japan
73. Paper Flowers (Guru Dutt, 1959) – India
74. The Naked Island (Shindo Kaneto, 1960) – Japan
75. Intentions of Murder (Imamura Shohei, 1964) – Japan
76. A Man Vanishes (Imamura Shohei, 1967) – Japan
77. Holiday (Lee Man-hee, 1968) – Korea
78. The Cruel Sea (Khaled Al Siddiq, 1972) – Kuwait
79. Insiang (Lino Brocka, 1976) – Philippines
80. Vengeance Is Mine (Imamura Shohei, 1979) – Japan
81. Batch ’81 (Mike de Leon, 1982) – Philipines
82. Taipei Story (Edward Yang, 1984) – Taiwan
83. The Runner (Amir Naderi, 1985) – Iran
84. My Neighbor Totoro (Miyazaki Hayao, 1988) – Japan
85. Ju Dou (Zhang Yimou, 1990) – China
86. Life, and Nothing More (and Life Goes on…) (Abbas Kiarostami, 1992) – Iran
87. The Puppetmaster (Hou Hsiao-hsien, 1993) – Taiwan
88. Chungking express (Wong Kar Wai, 1994) – Hong Kong
89. The Scent Of Green Papaya (Tran Anh Hung, 1994) – Vietnam, France
90. Gabbeh (Mohsen Makhmalbaf, 1995) – Iran
91. The White Balloon (Jafar Panahi, 1995) – Iran
92. The Day a Pig Fell into The Well ( Hong Sangsoo, 1996) – Korea
93. Hana-bi (Kitaro Takeshi, 1997) – Japan
94. Flowers of Shanghai (Hou Hsiao-hsien, 1998) – Taiwan
95. Chunhyang (Im Kwon Taek, 1999) – Korea
96. The Color of Paradise (Majid Majidi, 1999) – Iran
97. The Poet (Garin Nugroho, 1999) – Iran
98. Blackboards (Samira Makhmalbaf, 2000) – Iran
99. The Circle (Jafar Panahi, 2000) – Iran
100. The Day I became a Woman (Marzieh Meshkini, 2000) – Iran
#whatever
the story thailand 在 horrorclub.net Facebook 的精選貼文
Thailand Horror Story อยากดูซีซั่นไหนมากสุด
Season 1: Murder Palace
Season 2: Asylum Prison
Season 3: Coven of Phra Siam Dhevatirat
Season 4: Freak Show (by the pool)
Season 5: German Hotel
Season 6: My Tak Bai Nightmare
Season 7: Cult of PDRC
Season 8: ApoCovid
Season 9: 1992
the story thailand 在 Kyle Le Dot Net Youtube 的精選貼文
Giap's Original Video:https://youtu.be/LgAED4TBPN8
After 1975, hundreds of thousands of people from Vietnam got on boats to leave post war. Those who survived the seas made it to refugee camps all over Southeast Asia, from Malaysia, Indonesia, Thailand, Philippines, to Hong Kong. And eventually, some had a chance to resettle in America, Canada, Australia, and many parts of Europe. This is a story about three friends who found each other after 40 years. I met Giap in New Jersey a few years ago and he asked me to make a video about his life story. I agreed and after publishing it, two of Giap's refugee camp friends, who were also viewers of this channel, recognized him and saw themselves in my video. They reached out and I connected them to Giap. Giap connected his friends Thanh from Los Angeles and Phuong from San Diego together. They met right away. Giap also met Phuong two years ago in Da Nang. But Giap just met Thanh and the three of them were finally together after 40 years.
For more Vietnamese Boat Refugee Stories and Camps: https://youtube.com/playlist?list=PLnwupzqd-YERLAf_7t1zO6MobEHibkWGN
Special thanks to DJ Erick-C for the remixing the music. https://www.instagram.com/djerickc/
SUBSCRIBE now for MORE Videos: https://goo.gl/tMnTmX
Produced, Filmed, Edited, Subtitling (with help of Google) by Kyle Le
Like: Facebook: http://www.fb.com/KyleLe.net
Follow: Instagram and Snapchat @KyleLeDotNet
--------------------------------------------------------------------------------------
About Me: I'm Kyle Le and these are the places I've been, the people I've met, the foods I've eaten, and the many things that I've seen...Originally from Southern California, I moved to Saigon, Vietnam after university and lived there for many years. Then, I traveled the world finding and documenting stories of Vietnamese people living outside of the homeland. Then I finished my master's at USC and now... well... you're going to have to follow and watch to find out!
---------------------------------------------------------------
Like: Facebook: http://www.fb.com/KyleLe.net
Follow: Instagram and Snapchat @KyleLeDotNet
Filmed with a Panasonic G9, 12-60mm, 14-140mm 15mm
Audio from a Rode Micro / Rode Link
Dji Mavic Air 2
the story thailand 在 Papuean Skulthai Youtube 的最讚貼文
วันนี้เราจะพาทุกคนมารู้จักกับแม่อุ๊ในอีกมุมที่หลาย ๆ คนอาจจะยังไม่รู้นะคะ บอกเลยว่าแม่ไม่ธรรมดาอย่างแน่นอนค่ะ ;) อยากรู้แล้วใช่มั้ยล่าาาาาา ไปดูกันเลยยยยย
- Clips Mention -
1. [Story Time] ลดน้ำหนักแบบแม่อุ๊และพะเพื่อน
https://youtu.be/uzgGstH8dSM
2. ชวนแม่อุ๊มาโยคะ อยู่บ้านมานานมาออกกำลังกายกันหน่อยยย
https://youtu.be/WFX6oEoTy2U
--------------------------------------------------------------------------------------------------
- Wedding series -
1. ไปดูโลโก้ การ์ด งานแต่งงานของเรากันดีกว่า
https://youtu.be/Ovon6zR3rCs
2. พะเพื่อนจะเป็นเจ้าสาวแล้ว
https://youtu.be/a3I9RRVajwk
3. ไปลองชุดแต่งงานกันดีกว่า
https://youtu.be/35PavKHJzO4
4. ถึงคราวเจ้าบ่าวไปตัดสูทกันบ้างแล้วค่ะ
https://youtu.be/8eSg3-pGwbY
5. อัพเดทความคืบหน้าเรื่องงานแต่งงานของเรา
https://youtu.be/GZA82dEQ1bY
--------------------------------------------------------------------------------------------------
- Home series -
1. เปิดบ้าน (ที่กำลังสร้าง) ของพะเพื่อนกับแม่อุ๊ EP. 1
https://youtu.be/mWns2AzpiN8
2.พูดคุยเรื่องการสร้างบ้าน อะไรที่เราต้องรู้บ้างนะ
https://youtu.be/LZkTmnqdvzw
--------------------------------------------------------------------------------------------------
- Q & A -
1. Q&A ตอบทุกคำถามที่ทุกคนอยากรู้
https://youtu.be/HUAu07xfcgA
2. Q&A แม่อุ๊สัมภาษณ์คุณเบ๊บของพะเพื่อน
https://youtu.be/ltihSJXFCPA
3. Q & A ปรึกษาปัญหากับแม่อุ๊ EP.1
https://youtu.be/qOlGlHv_7q0
4. Q & A ปรึกษาปัญหากับแม่อุ๊ EP.2
https://youtu.be/4-uhWjItCrU
5. Q & A ชีวิตคู่? แพลนแต่งงาน? ทำไมถึงแต่ง?
https://youtu.be/2GXVEPONbsI
--------------------------------------------------------------------------------------------------
- Clip Suggestions -
1. พาไปชมธุรกิจใหม่ล่าสุดของพะเพื่อน! บอกเลยว่าทุ่มสุดตัวจ้าแม่
https://youtu.be/POOWByvqdrQ
2. เปิดคลินิกธุรกิจของแม่อุ๊ที่ WONJIN THAILAND
https://youtu.be/30HwTZf-HOQ
3. เมื่อสองแม่ลูกลุกขึ้นมาสลับลุค!!
https://youtu.be/RADzY_eeGkk
4. Life update + ตามกระแส Twitter trends ตอนนี้เรากับแม่ทำอะไรกันอยู่บ้างน้า
https://youtu.be/WN0xxT2ucWo
5. ตามแม่ไปช้อปที่ Comme Des Garçons (อีกครั้ง)
https://youtu.be/6EE7ZqLjBcg
6. แกะกล่อง Gucci สุดคิ้ววววว ไม่มีไม่ได้ร้าววว
https://youtu.be/jp8uyUhT0wQ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
- Clip with Taes -
1. Busan first time! ไปเที่ยวเองแบบงง งง แต่ไม่หลงนะบอกเลยย!!!
https://youtu.be/dWx0nhR1d1o
2. SEOUL VLOG - พาเที่ยว ช้อป กิน คาเฟ่ รัวๆ กันไปเลยยย
https://youtu.be/X7OoNFhAH3M
3. JAPAN VLOG 2019 กินแน่นๆ เที่ยวจุกๆ สายญี่ปุ่นไม่ควรพลาด
https://youtu.be/jTXhyoPjzoU
4. พาน้องแฝดตะลุย WONDERFRUIT
https://youtu.be/rialySzsRhE
5. Brother vs Boyfriend : มาดูกันว่าใครจะรู้จักพะเพื่อนดีกว่ากัน
https://youtu.be/_UIbQ9sSpy4
--------------------------------------------------------------------------------------------------
For work (only) :
Line@ : @papueanskulthai
Email: 1993fablab@gmail.com
Social Media :
Instagram : papuean_
Instagram : au_skulthai
Facebook Page : Papuean Skulthai
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Background music : BGM President
Song Title : Fun night in the Philliphines
the story thailand 在 Jell Story Youtube 的最讚貼文
มาๆๆ ใกล้เข้าสู่วันทำบุญใหญ่ กับวันมาฆบูชากัน คราวนี้เจลจะพาทุกคนไปแต่งหน้าก่อนไปทำบุญกัน เพื่อนๆสังเกตไหมว่า วันที่เราไปทำบุญมักจะตื่นเช้า แบบเช้ามากๆ เราก็จะไม่ค่อยมีเวลาใช่ไหม เพราะฉะนั้น เราจึงต้องเลือกเครื่องสำอางที่ใช้ได้แบบรวดเร็ว ทันใจ ให้พร้อมไปรับบุญ เติมพลังบุญกันเนอะ
Products Mention
SRICHAND Enchanted Cover Perfect Foundation
Srichand Skin Essential Compact Powder SPF15/PA+++
Cathy Doll Glow Gel Tint
MEILINDA MY EVERYDAY PALETTE
Sivanna brow Arcade Slim Eyebrow Pencil
Maybelline The Hypercurl Mascara
ODBO POPULAR BRONZER
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ติดตามเจลได้ที่
❤ Web : https://www.Jellstory.com
❤ Facebook : https://www.facebook.com/JellStory
❤ Instagram : https://www.instagram.com/JellStory
❤ Twitter : https://www.twitter.com/jellstory
❤ Youtube : https://www.youtube.com/jellstory
❤ Tiktok : https://www.tiktok.com/@jellstory
❤ Email : jelldaae@gmail.com (For Work Only)
❤ ❤ อย่าลืมกดติดตาม เพื่อไม่พลาดคลิปใหม่ๆจากเจล นะคะ ❤ ❤