PANUS หางรถพ่วง พันล้าน / โดย ลงทุนแมน
มีหลายครั้งที่ลงทุนแมนเริ่มรู้จักบริษัทจากท้องถนน
และครั้งนี้ก็เป็นหนึ่งในนั้น
มันเริ่มต้นจากบางอย่างที่แปะอยู่ “ท้ายรถพ่วง” หลายคัน
คำนั้นเขียนว่า PANUS..
ลงทุนแมนได้ลองค้นข้อมูล
ยิ่งหาก็ยิ่งน่าสนใจ
สรุปแล้ว PANUS คืออะไร
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
จริงๆ แล้ว PANUS อ่านว่า พนัส
คำนี้เป็นทั้งชื่อคน ชื่อแบรนด์ ชื่อบริษัท รวมไปถึงชื่ออำเภอ..
บริษัท พนัส แอสเซมบลีย์ จำกัด
เป็นเจ้าของแบรนด์ PANUS
บริหารกิจการโดย คุณพนัส วัฒนชัย
ตั้งอยู่ที่อำเภอ พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี..
บริษัทแห่งนี้ก่อตั้งมา 48 ปีแล้ว โดยทำธุรกิจผลิตรถพ่วง รถกึ่งพ่วง ไปจนถึงรถหุ้มเกราะ ซึ่งผลิตรถไปแล้วกว่า 65,000 คัน
แรกเริ่มเดิมที..
PANUS เริ่มต้นธุรกิจจากการนำไม้มาต่อประกอบเป็นกระบะบรรทุกหกล้อ และสิบล้อสำหรับบรรทุกสินค้าเกษตร
ต่อมา บริษัทเริ่มประยุกต์ธุรกิจไม้ประกอบไปเป็นผู้ผลิตรถพ่วง และต่อยอดความเชี่ยวชาญไปยังธุรกิจที่เกี่ยวข้องต่างๆ จนมีการออกแบบและผลิตรถพ่วงสำหรับผู้ประกอบการกว่า 400 รุ่น
แล้วปัจจุบัน PANUS ทำธุรกิจอะไรบ้าง?
ฐานการผลิตของ PANUS อยู่บนพื้นที่ 80 ไร่ พร้อมกับพนักงาน 900 คน โดยแบ่งธุรกิจออกเป็น 4 ธุรกิจหลัก
ธุรกิจการขนส่ง (หัวรถบรรทุก รถพ่วง)
ธุรกิจภาคพื้นสนามบิน ร่วมมือกับสายการบิน
ธุรกิจประดิษฐกรรมส่งออก
และธุรกิจที่ร่วมมือกับภาครัฐ เช่น กองทัพเรือและกองทัพอากาศ
โดย PANUS รับจ้างผลิตรถยนต์บรรทุกทหาร ใช้สำหรับลำเลียงพลรบในการไปปฏิบัติภารกิจราชการ
รวมไปถึงรถหุ้มเกราะที่โครงสร้างสามารถทนแรงระเบิดได้ในระดับสูง..
นอกจากนี้ อีกหลายๆ บริษัทที่ขับเคลื่อนด้วยโลจิสติกส์ก็เป็นลูกค้าของบริษัทแห่งนี้
ไม่ว่าจะเป็น Shell, PTT, Esso, Linfox, SCG, Kerry, DHL, Sino-Thai, ITD, สายการบิน และอีกหลายๆ บริษัท
บริษัท พนัส แอสเซมบลีย์ จำกัด
ปี 2559 รายได้ 1,287 ล้านบาท
ปี 2560 รายได้ 1,472 ล้านบาท
ปี 2561 รายได้ 1,533 ล้านบาท
10 เดือนแรกในปีที่ผ่าน..
PANUS เป็นหนึ่งในผู้นำตลาดรถโลจิสติกส์ (ต่อตัวถังเพื่อการพาณิชย์) จากการขายรถทั้งหมด 3,100 คันจากยอดขายทั้งตลาดรวม 12,400 คัน
หมายความว่า ท้ายรถพ่วงในปีที่ผ่านมาทุกๆ 4 คันจะเป็นของ PANUS 1 คัน..
ไม่น่าเชื่อว่า..
ธุรกิจที่เราเห็นอยู่เป็นประจำทุกวันแต่อาจจะมองข้ามไป มีรายได้ระดับพันล้านต่อปี..
พออ่านเรื่องนี้จบ
เวลาเรารถติดครั้งต่อไป
เราอาจรู้สึกสนุกกว่าทุกครั้งที่เคยเป็น
ลองมองท้ายรถพ่วงรอบตัวเรา ว่าเป็นของพนัสกี่คัน..
----------------------
โหลดแอป blockdit ได้ที่ blockdit.com
หนังสือลงทุนแมน เล่ม 8 ลดพิเศษ สั่งได้ที่
Lazada https://s.lazada.co.th/s.RpFk
Shopee http://bit.ly/2HVWiqj
----------------------
References
-กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
-Transport Journal
-สยามธุรกิจ
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「transport journal」的推薦目錄:
transport journal 在 Liz營養師飲食日常 Facebook 的最佳貼文
新知分享 #吸入型胰島素
近年來因飲食、生活習慣改變,越來越多罹患第二型糖尿病(Type-2 DM)的案例,其因不能產生足夠的胰島素或因為胰島素抗性,導致血糖升高,無法被細胞吸收利用。
目前的治療方法除了飲食與運動控制外,給予胰島素 (insulin) 注射是最直接可降低血糖的途徑,除了每天需要侵入性的扎針治療外,更為生活上帶來許多不方便,因此早在2006年,輝瑞藥廠曾經上市一款藥物,為第一個吸入型胰島素產品,但此產品體積龐大,且為粉末狀,吸菸者不適用,實際吸收效率也產生疑慮,最後因為產品銷售不佳虧損,最後慘遭下架。
在近年來有個新興吸入型胰島素Afrezza,體積縮小且方便攜帶,吸入裝置可重複使用,只要更換含有不同劑量的胰島素即可!
吸入裝置裡的胰島素粒子會跟著吸入的空氣進入肺部,經過肺部支氣管上的黏膜後,被吸收至黏膜內層,接著胰島素經由擴散作用會再運送至肺泡,最後藉由體內血液循環系統將胰島素輸送到細胞作用,以降低血糖。
不過目前台灣尚未上市此藥物,且吸收效果仍未注射胰島素來得佳,未來若有更多試驗證實其可更安全被使用、增加吸收效率等,希望可以造福害怕打針或控制不加的第二型糖尿病患~
#自己的健康自己顧 #相信專業 #連飲食都控制不了還能控制什麼
參考資料:
1. Polly A. Hansen, Dong Ho Han, Bess A. Marshall, Lorraine A. Nolte, May M. Chen, Mike Mueckler and John O. Holloszy. A High Fat Diet Impairs Stimulation of Glucose Transport in Muscle. Journal of Biological Chemistry. 1998. Vol. 273. No. 40. (2). Page 26157-26163.
2. Jacob Oleck, Shahista Kassam and Jennifer D. Goldman. Commentary: Why Was Inhaled Insulin a Failure in the Market? American Diabetes Association. 29(3): 180-184.
transport journal 在 莊武龍醫師:控糖筆記、運動、生活及旅遊隨筆 Facebook 的精選貼文
看不見的危害才是最可怕的
大家可能有些奇怪。我遠在半個地球外,為什麼最近開始很關注台灣空氣污染的問題?
我不是環保專家,上回和Kang-Yung Peng參加環保研習營,是我17歲的時候。大學雖修過化學系的「環境污染控制」,但過去我沒有很注意到PM2.5的2.5是什麼意思。直到看到了2.5其實是2.5微米(micrometer)時,身為顯微鏡學者的我,真的是嚇到説不出話來。
在光學顯微鏡下,對於專長研究細胞內胞器移動(intercellular transport and organelle motility)的我來說,小於2微米的移動,我是可以忽略不計的。
2.5微米那個size太過駭人。給大家一個概念,你的頭髮約80-90微米粗,一個常見的HeLa上皮細胞直徑約20微米,細胞核差不多是10微米。一般的球菌或是中心體(centrosome)則是一微米大。細胞隨便就可以把2.5微米的鬼東西以巨噬作用(phagocytosis)不分青紅皂白地吞進去。
我用下面的圖解釋。綠色三角型的是一顆HeLa細胞。中央圓圓的是它的細胞核,紅色桿狀的是沙門桿菌,長度也剛好約2.5微米。
(圖片來源,Mallo et al., Journal of Cell Biology 182 (4): 741-752
http://jcb.rupress.org/content/182/4/741)
這𥚃為了方便解説,用的是長度和直徑,但是體積的差異其實是長度的三次方。一個細胞的體積和PM2.5的差別,換算下來是435倍。
你現在知道你每天吸的PM2.5有多小了吧!
這個PM2.5是真的進得了你的細胞。上頭吸附了什麼致癌物你完全不知道。更重要的是,PM2.5它其實應該「小到看不到」。能夠濃到變成霧霾讓你看到,那已經很慘很慘了。
我直到很最近才意識到PM2.5的嚴重性。這可不是咳咳嗽過個敏,空污飄走了你全家就沒事。那些髒東西,就卡在你身體𥚃,你的細胞𥚃。像是灰麈卡在空氣清淨機的濾網中。
可是濾網可以洗可以換,你和你孩子的肺都不行。