ตอนนี้ยังไม่เรียกวิกฤตอีกหรอ??? “เรากำลังจะเข้าสู่วิกฤตการเงินครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์” โดยเดวิด ฮันเตอร์
นี่พวกเรายังไม่เข้าสู่วิกฤตจริง ๆ หรอครับ ถ้าไม่นับรัฐบาลประเทศต่าง ๆ กับ IMF แล้ว ผมก็ไม่ค่อยเห็นบทความจากนักวิเคราะห์หรือนักลงทุนระดับโลกคนไหนบอกว่าจุดต่ำสุดได้ผ่านไปแล้ว ล่าสุดเป็นบทวิเคราะห์จากนักยุทธศาสตร์มหภาคที่มีประสบการณ์ในวอลสตรีทกว่า 47 ปี ได้ออกมาเตือนว่า เรากำลังจะเข้าสู่วิกฤตการเงินครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ในอีก 12 เดือนข้างหน้า
โดยเขามองว่าภาระหนี้ต่าง ๆ ที่มันสะสมมาตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่สองกำลังจะระเบิดออกและตลาดหุ้นของอเมริกาจะร่วงลงอย่างหนัก
ตรงนี้น่าสนใจครับ เพราะแม้ว่าบรรดานักลงทุนระดับโลกจะทำนายถึงวิกฤตเหมือนกัน แต่พวกเขาพูดถึงผลต่อตลาดหุ้นต่างกัน เรียกง่าย ๆ ว่า “คิดว่าจะล้มเหมือนกัน แต่ทายท่าล้มกันคนละท่า”
บางคนมองว่าเงินแต่ละสกุลเสื่อมค่าและสหรัฐแข็งแกร่งจนทำให้ดัชนีหุ้นสหรัฐสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทว่ามุมมองของเดวิด ฮันเตอร์นั้น เขามองว่าวิกฤตครั้งนี้จะทำให้ราคาหุ้นสหรัฐร่วงกว่า 80%
แล้วตอนที่หุ้นร่วงในช่วงต้นปีที่โควิดเริ่มระบาดล่ะ? ถ้าไม่เรียกวิกฤตแล้วมันคืออะไร?
ฮันเตอร์อธิบายโดยใช้คำว่า “a fake-out sell-off” หรือ “การขายแบบหลอก ๆ” ซึ่งเขามองว่ามันเหมือนเป็นการกระพริบของจอเรดาร์เท่านั้น (ยังไม่ดับ) มันแค่เผาหลอก ส่วนเผาจริงคือในอีก 12 เดือนต่อจากนี้ต่างหาก โดยเขาบอกว่าเหตุการณ์นั้นจะแบบออกเป็น 2 ระยะดังนี้ครับ
ระยะที่ 1 : Melt-Up
ช่วงเวลา : 3 เดือนต่อจากนี้
เป็นระยะที่มีการอัดฉีดสภาพคล่องเขาไปในระบบเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะทำให้ดัชนีหุ้นนั้นพุ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเขาบอกว่า S&P500 จะพุ่งขึ้นไปถึง 4,500 จุด (ปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 3,500 จุด) และ Nasdaq จะพุ่งไปถึง 15,000 จุด (ปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 11,800 จุด)
สาเหตุ : การที่ธนาคารกลางพิมพ์เงินและรัฐบาลออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่าง ๆ ทำให้เป็นผลบวกต่อตลาดหุ้น
ระยะที่ 2 : The Unwind
ช่วงเวลา : ปี 2021
เป็นระยะที่จะเกิดสึนามิของการล้มละลายแพร่กระจายไปทั่วโลก บริษัทต่าง ๆ โดยเฉพาะสถาบันการเงินมากมายจะขาดสภาพคล่องและล้มละลายในที่สุด นั่นทำให้ดัชนีหุ้นจะร่วงไปกว่า 80% และ Fed จะพยายามอัดฉีดเงินเพื่อเข้าช่วยเหลือจนบัญชีงบดุล (balance sheet) จะบวมไปถึง 20 ล้านล้านดอลลาร์ (ปัจจุบันอยู่ที่ 7 ล้านล้านดอลลาร์)
สาเหตุ : การที่มาตรการช่วยเหลือต่าง ๆ ไม่สามารถเข้าถึงบางประเทศ, คนบางกลุ่ม และบริษัทเล็ก ๆ ได้ ทำให้หน่วยพวกนี้ล้มละลาย แล้วมันจะเป็นโดมิโน่ต่อเป็นทอด ๆ ประเด็นสำคัญคือ เมื่อเหตุการณ์นี้เกิดขึ้น Fed จะพยายามหยุดมันด้วยการอัดฉีดเงินเข้าไปเพิ่มอีกเรื่อย ๆ โดยหวังว่ามันจะแก้ปัญหาได้จนงบดุลขยายกว่า 3 เท่า แต่หารู้ไม่ว่า ยิ่ง Fed อัดฉีดเพิ่มมากเท่าไหร่มันก็ยิ่งซ้ำเติมหายนะให้รุนแรงมากขึ้นไปอีก
แล้วทางออกอยู่ตรงไหน? จะหลีกเลี่ยงระยะที่ 2 ได้ยังไง? น่าเศร้าครับที่คำตอบของฮันเตอร์นั้นตีความได้ว่า “เรามาไกลเกินกว่าจะแก้ไขมันได้แล้ว” เขามองว่า Fed กำลังกลืนไม่เข้าคายไม่ออก เพราะถ้า Fed หยุดพยุงตลาดเมื่อไหร่มันก็พังเมื่อนั้น แต่ครั้นจะพิมพ์เงินต่อไปก็ยิ่งเป็นการเร่งให้หายนะเกิดขึ้นอีก
โดยเขาพูดซ้ำ ๆ ในการให้สัมภาษณ์ว่า "There's a lot of things you can't reach with money and a lot of things you can't fix." หรือ “หลายปัญหามันแก้ไม่ได้ด้วยเงินและมีหลายอย่างที่คุณแก้ไม่ได้”
ผมคิดว่ามุมมองของเดวิด ฮันเตอร์นี้ก็น่าสนใจ ถ้าให้ผมเปรียบเทียบมันอาจจะดูตลกหน่อย แต่ลองคิดตามดูนะครับ สถานการณ์มันเปรียบเหมือนเวลาที่คุณแปรงฟัน โดย Fed เป็น "แปรงสีฟัน" ส่วนบริษัทที่เข้าไม่ถึงเงินช่วยเหลือนั้นเหมือนกับ "เศษอาหาร" ที่ติดอยู่ในซอกฟันที่ลึกมาก ๆ แปรงยังไงก็แปรงไม่ออก
ในระยะแรกการแปรงฟันของคุณจะกำจัดเศษอาหารส่วนใหญ่ได้ แม้ว่าในซอกฟันที่ลึกมาก ๆ จะมีเศษอาหารนี้อยู่แต่มันก็ยังไม่สร้างปัญหา พอในระยะที่สองเศษอาหารเล็ก ๆ นี้เป็นแหล่งเพาะเชื้อแบคทีเรียจนทำให้เหงือกของคุณอักเสบ
สิ่งที่คุณ (Fed) ทำคือพยายามจะแปรงฟันแรงขึ้น แต่ปัญหาก็คือนอกจากจะเศษอาหารเจ้ากรรมนี้จะไม่หลุดแล้ว การแปรงฟันแรง ๆ ยิ่งทำให้เหงือกยิ่งอักเสบและมีเลือดออกอีกด้วย
ปัญหาเศษอาหารติดซอกฟันนี้ยังพอมีทางออกอยู่บ้างคือการไปหาหมอฟันหรือใช้ไหมขัดฟัน ส่วนปัญหาเศรษฐกิจโลกนั้นเดวิด ฮันเตอร์คิดว่าหาทางออกไม่ได้
แต่ผมเชื่อครับว่า เพื่อน ๆ น่าจะมองโลกในแง่ดี ลองคิดกันเล่น ๆ ไหมครับ ว่าถ้าคุณเป็นผู้ว่าการธนาคารกลางสหรัฐ (Fed) คุณจะทำอย่างไร หรืออย่างน้อยประเทศไทยจะเอาตัวรอดได้ยังไงบ้าง? จะได้ไม่รู้สึกหดหู่กันเกินไปและได้มองหาโอกาสด้วยครับ
.
แอดปุง
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過19萬的網紅คุยการเงินกับที,也在其Youtube影片中提到,หนี้ของประเทศพุ่งไม่หยุด พิมพ์เงิน กดดอกเบี้ยต่ำ ทำสงครามการค้า แต่ทำไม่เศรษฐกิจแย่ ความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ตั้งแต่ตอนวิกฤติ2008ซับพาร์ม fed ได้ทำ qe ...
「fed balance sheet」的推薦目錄:
- 關於fed balance sheet 在 KIM Property Live Facebook 的最佳貼文
- 關於fed balance sheet 在 香港股評人譚朗蔚 Facebook 的最佳貼文
- 關於fed balance sheet 在 Joe's investment Facebook 的最佳貼文
- 關於fed balance sheet 在 คุยการเงินกับที Youtube 的最佳貼文
- 關於fed balance sheet 在 黃國昌 Youtube 的最佳解答
- 關於fed balance sheet 在 How Will the Fed Reduce Its Balance Sheet? - YouTube 的評價
fed balance sheet 在 香港股評人譚朗蔚 Facebook 的最佳貼文
《鮑威爾條仆街揸流灘》
雖然今日係假期,但我都要寫篇號外,因為我好開心:有一位粉絲提出左一個好有水準既問題,引發起我即刻去做research既衝動。條問題係咁既:最新既數據顯示,聯儲局既資產表响過去一個星期只係增加左817.5億美金,總數由66200億升至67000億。同三月時幾個禮拜就上升42000億比較,按週既升幅急遽萎縮。佢問:乜唔係話無限量寬既咩?
點呀?係咪好深奧呢?多得佢問呢條問題,啟發左我去搵答案。我至發現:聯儲局早前聲稱可以買企債,包括投資級別債(IG)同高收益債(HY)兩種。事件仲惹黎市場上既爭議,甚至係道德性關注,質疑點解局方要用國庫黎拯救營運欠佳既私人企業,違反自由市場既原則?不過,大家唔需要再就呢個問題擔心喇,因為聯儲局直至岩岩個星期為止…
根本就無買過任何企債!IG同HY都無!原來佢地只不過係玩緊語言藝術,用個「could(可以)」字黎欺騙市場,即係話必要時買,但就唔係即刻去買!呢個就係佢地既資產表擴張步伐不符市場預期既最大原因!係咁你可能會問:未買咪仲好,有咩問題?未有野爆,咪唔買住囉,大驚小怪!錯喇,個問題唔係佢地買左未,而係當佢地話會買果時…
市場上有好多自作聰明既投資者已經搶先買左!點解我知道佢地買左?咪就係從私企發行新債既規模睇到囉!數據顯示:4月份企業新發行既IG債總規模係2966億,3月份係2614億,全部都破晒月度紀錄(聯儲局未講野之前,1月只係得1755億)唸返轉頭,成件事就好似有條友同你講:「不如我地鬥快跑去前面咯!」然後當你跑跑下至望返轉頭…
仆你個街原來條友仲企响起點!頂佢個肺!好喇,總結喇!依家有兩個可能性:第一、就係聯儲局知道自己穿左煲,於是宣佈由5月就開始真真正正買企債,否則,果班人就會意識到自己俾人搵笨柒,然後就開始沽債,間接引爆左呢個比原來更大既泡沫!第二、聯儲局「放水」不似預期,首當其衝既一定係金(穿1700蚊隨時急跌)其次係股,自己睇路!
延伸閱讀:
Fed's balance sheet at $6.7 trillion, but growth pace down sharply
https://www.reuters.com/article/us-usa-fed-assets-idUSKBN22C3RA
Gundlach Stunned To Learn Fed Hasn’t Purchased A Single Corporate Bond Yet
https://1buv.com/gundlach-stunned-to-learn-fed-hasnt-purchased-a-single-corporate-bond-yet/
fed balance sheet 在 Joe's investment Facebook 的最佳貼文
Joe:「很多人對於央行們QE的理解,大概就是印鈔救市,實際上的影響是啥,其實也一知半解,以結果論來說,QE是很有效解決經濟和金融的方法,不過央行要具有引導能力,工具用錯方式,那工具就會失效。」
現實上各國央行如何操作資產購買計劃?
首先有一種是固定式的的購買,另外一種則是有彈性的購買。
什麼是固定式的的購買?例如 FED 的第一次量化寬鬆(First Round of Large-Scale Asset Purchases,LSAP1)或者是 ECB 的第一次擔保債券購買計劃(Covered Bond Purchase Program,CBPP1),都是事先設定好一個數量以與一個日期,直接告訴市場會在什麼期間購買多少金額的債券。
延伸閱讀:Federal Reserve Bank of New York:Large-Scale Asset Purchases
FED 第一次量化寬鬆,出處:Federal Reserve Bank of New York:Large-Scale Asset Purchases
什麼是有彈性的購買?像是 ECB 的證券市場計畫(Security Markets Program,SMP)以及 BoE 的商業票據措施(Commercial Paper Facility,CPF)都是非常有彈性的,最近 FED 宣布的無上限QE也屬於這一類,主要目的就是不惜一切代價拯救市場。
在 2009-2016 年的期間,全球央行總共有 18 項不同的資產購買計劃,購買的項目主要是公債,但是還有一些特別的資產例如:企業債、擔保債券(Covered bond)、商業票據,也包含房屋抵押型貸款(MBS)在內的各種資產抵押型貸款(ABS),房地產投資信託(REIT)與 ETF。
國際清算銀行(BIS)在2019年的報告: “Unconventional Monetary Policy Tools: a cross-country analysis” 提供了一個非常好的表格,詳細描述了全球所有央行的資產購買計畫:
出處:Unconventional Monetary Policy Tools: a cross-country analysis
美國聯準會的資產購買計劃買 ETF
從上圖,你可以看到日本央行買了 REIT 以及 ETF,相較之下最近美國 FED 在 2020 年 3 月 23 日做出的二級市場公司信用機制(Secondary Market Corporate Credit Facility,SMCCF)聲明(如下圖),就知道聯準會購買企業債的 ETF 是有跡可循的操作,如果美國企業債市場的流動性不足,購買 ETF 紓解整個市場的緊縮,反而是比較簡單也比較不出問題的方式。
聯準會二級市場公司信用機制,出處:FED-Secondary Market Corporate Credit Facility
資產購買計劃有兩種:QE 和 QQE
在聯準會的文件裡面,資產購買計劃不叫做 QE1、QE2、QE3,上面有提到,聯準會稱為 LSAP1、LSAP2 和 LSAP3,稱為 QE 的其實是 BoE、BoJ 以及瑞典央行,之所以媒體上常全部叫做 QE 的原因,在於最早 2001 年的日本當時就叫做 QE,所以大家就乾脆全部的資產購買計劃通通叫做 QE。事實上,資產購買計劃還能分類為 QE 以及 QQE。
QE(Quantitative easing),所謂的量化寬鬆其實顧名思義就是以數量為目標,例如 2020 年 3 月 17 日,聯準會宣佈成立商業票據資助措施(Commercial Paper Funding Facility,CPFF),就是針對商業票據的量化寬鬆,仔細看新聞稿的話,會發現 FED 有表示一定的金額(100 億美金)來進行CPFF。
QQE(Quantitative and qualitative monetary easing),就是在量化寬鬆以外同時加上質化寬鬆,那麼什麼是質化寬鬆?就是政府設定一個政策目標作為量化寬鬆的方向,例如日本央行在 2016 年設定的 2% 通膨目標。
延伸閱讀:日本銀行-“Price Stability Target” of 2 Percent and “Quantitative and Qualitative Monetary Easing with Yield Curve Control”
廣義上來講,美國聯準會最近無上限 QE 應該也被歸類在 QQE 裡面,因為並非是以一定數量為資產購買計劃的目標,而是以解決短期疫情影響為目標。
量化寬鬆有什麼影響?
QE 之後,最直接的影響就是央行的資產負債表會瘋狂膨脹,最近就看到 FED 的資產負債表抵達史無前例的高了:
聯準會資產負債表,出處:Credit and Liquidity Programs and the Balance Sheet
聽起來好像很可怕,然而以比例來計算的話,FED 目前的資產負債表其實還算安全,可怕的是其他央行,可以看下圖:
出處:Unconventional Monetary Policy Tools: a cross-country analysis
這張圖同樣來自於 BIS 在 2019 年的報告,日本央行以及英國央行的資產負債表在實施 QE 之後,幾乎是膨脹了 90% 左右,日本的 QQE 規模可是高達當年名目 GDP 的 90%,幾乎是傾全國之力來執行 QE 了。相對而言,FED 的 QE 規模以佔 GDP 的百分比來講,從來沒到 BoJ 或 BoE 那麼高。
可能有人會問,還有一個特別高的 SNB,那是怎麼回事?那是瑞士央行,你可以從右圖看到它購買的資產大部份都是外匯,這是當年為了維持 EUR/CHF 的最低匯率才進行的,詳情請參見負利率的文章。
央行的量化寬鬆真的有效嗎?
QE 的成效如何呢?說實在的,大部份央行都覺得成效不錯,至少在實施 QE 的這幾年,我們的確看到全球經濟穩定成長,脫離衰退。然而 FED 則認為俗稱 QE2 的 LSAP2 以及 QE4 的 MEP 相對而言成效不足,至於為什麼會這樣?就留到以後探討未來引導(Forward Guidance)的時候再來講。
其他國家的話,英格蘭央行的四次 QE 表現都不錯;日本央行雖然沒有達到他們理想中的超過 2% 的物價指數成長,然而總體來說,以 GDP 跟通膨的表現來看,至少效果是有出來的;瑞士央行也透過 QE 成功守住他們的匯率保衛戰。因此,政策目標算是都有達成。
然而,QE 沒有負面的影響嗎?事實上還是有的,例如日本央行就發現,市場上日本公債的交易數量以及殖利率的浮動率明顯減少,因為大量的 QQE,自然而然會讓人減少交易日本公債的慾望,長期來看是有可能產生日本公債的流動性問題。
同樣的,瑞典央行也發現市場的流動性以及週轉率有明顯的減少,而英格蘭央行則發現實施 QE 期間,債券價格有錯誤定價的問題,也導致特定債券產生流動性問題。為了解決這些問題,各國央行就使用了 repo 以及未來引導作為配套,來解決債券流動性不足的問題。
那麼,實施 QE 對其他國家的影響呢?當年美國實施 QE 的時候,許多國家其實在資本流入上面都產生了正面的影響。例如 Barroso(2017) 在 “Quantitative easing and United States investor portfolio rebalancing towards foreign assets” 一文中就指出,巴西在美國實施 QE 期間,大概有 50% 左右的資本流入跟美國的 QE 有關。
而香港由於港幣跟美元的聯繫匯率制度,在 2008-2015 之間貨幣儲備量大概增加了 5 倍,且大幅增加了外匯儲備的數量。同樣的,在東南亞四國(印尼、馬來西亞、泰國、菲律賓),比較 2007 年以前的資本流入量跟 2013 年的資本流入量,會發現資本流入也成長了 75%。儘管這些國家也有採取降息的措施,但是在這段期間他們的貨幣對於美元則是強烈升值。
其實當年新台幣兌美元也是有類似的反應, 如果觀察當年央行的資產負債表,會發現台灣的中央銀行在外匯存底也是在當時特別高。2007 年 7 月台灣央行的外匯存底是 2660 億美元,而 2011 年 7 月則是 4000 億美元,在這段期間央行的外匯存底飆升特別快,相對來說到了 2015 年的外匯存底也還維持在 4210 億美元,就不再大幅成長了。
台灣歷年外匯存底,出處:Stock-ai
結論
「資產收購計劃」對於央行來講實在是很好用的招式,然而就像我在一開始所提到的,這個招式需要配合「未來引導」這種透過央行作出承諾的方式來執行,否則威力就會減弱很多,甚至會反過來傷到央行自己。
在如今低利率的環境下,資產購買計劃已經成為了一個主流貨幣政策,因此試圖透過總經分析來投資的人,必須要去了解這一種非典型貨幣政策的成效以及操作方法。我們永遠都可以透過分析其他央行的操作方式,來思考我們關注的央行(例如FED)會怎麼做。
我想,透過這篇文章的介紹,應該能讓讀者明白,認為聯準會降息到零利率之後就沒招了,其實是個錯誤的觀念,因為從日本的經驗來看,聯準會還有很多招數可以用,就算是推出了無上限量化寬鬆,也還沒到盡頭呢!
https://etfs.tw/qe-qqe/?fbclid=IwAR04p7y_e1zq3-29v8JfHzrnohOp_PFaEWYAJcDnn6D13aNvZtGbbihkb18
fed balance sheet 在 คุยการเงินกับที Youtube 的最佳貼文
หนี้ของประเทศพุ่งไม่หยุด พิมพ์เงิน กดดอกเบี้ยต่ำ ทำสงครามการค้า แต่ทำไม่เศรษฐกิจแย่ ความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น
ตั้งแต่ตอนวิกฤติ2008ซับพาร์ม fed ได้ทำ qe มาตลอดทำให้ balance sheet ของเฟดสูงขึ้นอย่างมาก แต่เมื่อทดลองขึ้นดอกเบี้ย ดึงเงินกลับ ทำ QT เศรษฐกิจ และตลาดหุ้นกลับทนไม่ไหว ทำให้ต้องทำคิวอีอีกรอบ แต่ตอนนี้ชัดเจนแล้วว่าเงินไม่ได้ไหลลงสู่ระบบเศรษฐกิจจริง บริษัทขนาดใหญ่กลับกู้เงินมาซื้อหุ้นบริษัทตัวเองคือในตลาด ตอนนี้ไม่ใช่เวลาลงทุนอย่างจริงจังของมือใหม่ในการลงทุนในหุ้น หรือพึ่งเริ่มเล่นหุ้นเลย แต่เป็นเวลาที่ดีสำหรับผู้เริ่มลงทุน มือใหม่เล่นหุ้นในการศึกษาหาประสบการณ์ทั้งหุ้นในประเทศ และต่างประเทศ
LINK
line @ T MONEY คุยกับผมทางนี้นะครับ
https://lin.ee/pE0OEWs
fb: คุยการเงินกับที
https://www.facebook.com/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E
0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0
%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5-189662501941804/?modal=admin_todo_tour
podcast: คุยการเงินกับที
https://soundcloud.com/sorathorn-wattanamalachai
fb: กลุ่ม learn&earn ครับ
https://www.facebook.com/groups/319013512295700/
fed balance sheet 在 黃國昌 Youtube 的最佳解答
1. 央行報告指出,前瞻基礎建設可望帶動民間投資,預測明年經濟成長達2.2%。但是,依據主計總處的細部資料,前瞻計畫對於明年經濟成長的助益,集中在「政府投資」(10.59%),明年民間投資的成長(1.55%)實際上比今年(1.70%)還差。請問央行總裁對此事的說明。
2. 關於軍公教加薪,過去二次加薪後的效果,都是「物價指數」上漲幅度高於「帶動民間薪資」的幅度。請問央行對此次加薪的效果評估。彭淮南總裁當場允諾與民間社會共同呼籲並監督企業為勞工加薪。
3. 關於美國聯準會主席將於明年換人,央行是否準備好了因應兩大候選人Powell與Taylor可能的不同立場,特別是FED的「縮表」(shrink balance sheet) 政策走向與速度,對台灣的影響。同時,期待我國明年在彭總裁退休後,關於下一任總裁的候選人與其抱持的貨幣政策走向,也能出現像美國一樣的多元開放討論。
雖然彭總裁只對第三個問題有一定程度的實質回答,但我仍欣賞他願意面對問題的態度,與其他習慣胡扯的人相較,實在好多了。
fed balance sheet 在 How Will the Fed Reduce Its Balance Sheet? - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>