“อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐลาออกไปสมัครรับเลือกตั้ง ท้องถิ่นสามารถขอ กลับเข้ามาทำงานได้หรือไม่”
สิทธิกร ศักดิ์แสง อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ช่วงนี้จะมีการเลือกตั้งในระดับท้องถิ่นทั้งประเทศ อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐหลายคนที่กำลังลาออกไปสมัครรับเลือกตั้งท้องถิ่น คำถามต่อมาว่า “เมื่อลาออกแล้วสามารถกลับเข้าทำงานในสถาบันอุดมศึกษาได้หรือไม่”
เมื่อพิจารณาศึกษาถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง คือ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 และ กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการกลับเข้ารับราชการ นับวันรับราชการและเงินเดือนที่จะได้รับของผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2553
สาระสำคัญของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนใสถาบันอุดมศึกษา 2547 มาตรา 4 ให้คำนิยามความหมายประเภทของสถาบันการศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชการกับการแยกประเภทเจ้าหน้าที่ของรัฐในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชการ ดังนี้
“สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา แต่ไม่รวมถึงสถาบันการศึกษาของรัฐที่ไม่ใช่ส่วนราชการ”
“ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการตามพระราชบัญญัตินี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือนในสถาบันอุดมศึกษา“
“พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างให้ทำงานในสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับค่าจ้างหรือค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดินหรือเงินรายได้ของสถาบันอุดมศึกษา”
สาระสำคัญของ กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการกลับเข้ารับราชการ นับวันรับราชการและเงินเดือนที่จะได้รับของผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 ดังนี้
ผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา มีได้ 3 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ลาออกจากราชการในสถาบันอุดมศึกษาไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารพ้นราชการทหารโดยไม่มีความเสียหาย ตาม กฎ ก.พ.อ. ข้อ 3
กรณีที่ 2 ลาออกจากราชการในสถาบันอุดมศึกษาโดยได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเพื่อไปปฏิบัติงานใดๆ ตามกฎ ก.พ.อ. ข้อ 4
กรณีที่ 3 ลาออกจากราชการในถาบันอุดมศึกษาไปด้วยเหตุใดๆที่ไม่ใช่ กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 ซึ่งหากประสงค์จะขอกลับรับราชการพลในสถาบันอุดมศึกษาให้ยื่นคำร้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด
จากการศึกษาพิจารณาสาระสำคัญของกฎหมายข้างต้นสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษา มีประเด็นดังต่อไปนี้
ประเด็นประเภทสถาบันอุดมศึกษาที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษา
เมื่อพิจารณาจากคำนิยาม มาตรา 4 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547
“สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา แต่ไม่รวมถึงสถาบันการศึกษาของรัฐที่ไม่ใช่ส่วนราชการ”
แสดงให้เห็นว่าสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชการเท่านั้นที่อนุญาตให้ข้าราชการในสถาบันอุดมศึกษาลาออกและให้มีการขอเข้ารับราชการได้ มีอยู่ 3 ประเภท ดังนี้
1. มหาวิทยาลัยมีกฎหมายเฉพาะ เป็นนิติบุคคลและเป็นมหาวิทยาลัยที่ไม่ออกนอกระบบ (มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ) เป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นราชการมีฐานะเทียบเท่า “กรม” เช่น มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นต้น
2. มหาวิทยาลัยราชภัฏ เมื่อพิจารณาศึกษาถึงมหาวิทยาลัยที่เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีฐานะเทียบเท่า “กรม” มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนมหาชน จะพบว่ามีมหาวิทยาลัยแยกเป็นภูมิภาค ดังต่อไปนี้
1) “กลุ่มภาคกลาง” มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (มจษ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (มร.พน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (มรธ.)มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (มบส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (มร.สส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไล อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (มรว.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (มรภ.อย.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (มรภท.)
2) “กลุ่มภาคตะวันตก” มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (มรภน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (มรภ.กจ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง (มร.มจ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (มรภ.พบ.)
3) “กลุ่มภาคตะวันออก” มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (มรร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (มรภ.รพ.)
4) “กลุ่มภาคใต้” มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (มรส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (มรภ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (มร.นศ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สข.) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (มรย.)
5) “กลุ่มภาคเหนือ” มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (มรภ.ชม.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (มรภ.ชร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (มรภ.ลป.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (มรภอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มรภ.พส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (มรภ.กพ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (มรภ.พช.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (มรภ.นว.) และ
6) “กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ (มรภ.ชย.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (มรภ.นม.)มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (มรภ.บร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (มรภ.สร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (มรภ.ศก.)มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (มรภ.อบ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มรภ.มค.) มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด (มรภ.รอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (มรภ.ล.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (มร.อด.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร (มรภ.สน.)
3. มหาวิทยาลัยราชมงคล เมื่อพิจารณาศึกษาถึงมหาวิทยาลัยที่เป็นมหาวิทยาลัยราชมงคลเป็นไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 มีฐานะเทียบเท่า “กรม” เป็นนิติบุคคลคลมหาชน มีมหาวิทยาลัยราชมงคล ประกอบ ด้วย 9 แห่ง ดังต่อไปนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ดังนั้น ประเภทสถาบันอุดมศึกษาที่เข้าเงื่อนไขให้ข้าราชการใน “สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชเท่านั้นที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษา” ได้ ส่วนมหาวิทยาลัยของรัฐที่ไม่ใช่ส่วนราชการนั้นให้เป็นไปตามกฎหมายของสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ
ประเด็นกรณีที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชการได้
เมื่อพิจารณาศึกษา กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการกลับเข้ารับราชการ นับวันรับราชการและเงินเดือนที่จะได้รับของผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 ได้กำหนดให้ผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นส่วนราชการ มีได้ 3 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ลาออกจากราชการในสถาบันอุดมศึกษาไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารพ้นราชการทหารโดยไม่มีความเสียหาย ตาม กฎ ก.พ.อ. ข้อ 3
กรณีที่ 2 ลาออกจากราชการในสถาบันอุดมศึกษาโดยได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเพื่อไปปฏิบัติงานใดๆ ตามกฎ ก.พ.อ. ข้อ 4
กรณีที่ 3 ลาออกจากราชการในถาบันอุดมศึกษาไปด้วยเหตุใดๆที่ไม่ใช่ กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 ซึ่งหากประสงค์จะขอกลับรับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ยื่นคำร้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด ดังนั้นการลาออกราชการในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อไปสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จะเข้าข่ายในกรณีนี้
ประเด็นประเภทอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษา
เมื่อพิจารณาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา 2547 มาตรา 4 ให้คำนิยาม เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ปฏิบัติในสภาบันอุดมศึกษาที่เป็นส่วนราชการ มี อยู่ 2 ประเภท ดังนี้
“ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการตามพระราชบัญญัตินี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือนในสถาบันอุดมศึกษา”
“พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างให้ทำงานในสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับค่าจ้างหรือค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดินหรือเงินรายได้ของสถาบันอุดมศึกษา”
และเมื่อพิจารณาศึกษากฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการกลับเข้ารับราชกร นับวันรับราชการและเงินเดือนที่จะได้รับของผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 “จะให้สิทธิเฉพาะ “ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา” ที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษาได้หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด” แต่ “ไม่ได้กำหนดให้ “พนักงานมหาวิทยาลัย” ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษาได้”
ดังนั้นสรุป “อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นข้าราชการเท่านั้น” ที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษาได้นั้นจะต้องเป็น “สถาบันอุดมศึกษาที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น” ภายใต้หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด
同時也有58部Youtube影片,追蹤數超過187萬的網紅Indysong Kids & Dark เรื่องผี การ์ตูนตลก อนิเมชั่น เพลงสนุกๆ,也在其Youtube影片中提到,พยัญชนะไทย มี 44 ตัว ตั้งแต่ ก – ฮ ( ก.ไก่ ถึง ฮ.นกฮูก) ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ #กเอ...
「กจ พช」的推薦目錄:
- 關於กจ พช 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答
- 關於กจ พช 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答
- 關於กจ พช 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
- 關於กจ พช 在 Indysong Kids & Dark เรื่องผี การ์ตูนตลก อนิเมชั่น เพลงสนุกๆ Youtube 的精選貼文
- 關於กจ พช 在 HappyJoe Youtube 的最佳解答
- 關於กจ พช 在 Indysong Kids & Dark เรื่องผี การ์ตูนตลก อนิเมชั่น เพลงสนุกๆ Youtube 的最佳貼文
กจ พช 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答
“อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐลาออกไปสมัครรับเลือกตั้ง ส.ส. สามารถขอกลับเข้ามาทำงานได้หรือไม่”
สิทธิกร ศักดิ์แสง อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ช่วงนี้ได้มีพระราชกฤษฎีกาเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) และได้กำหนดให้มีการเลือกตั้ง ในวันที่ 24 มีนาคม 2562 และจะมีการกำหนดรับสมัครเลือกตั้งในวันที่ 4-5 กุมภาพันธ์ 2562 มีอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐหลายคนที่กำลังลาออกไปสมัครรับเลือกตั้ง ส.ส. กันหลายคน คำถามต่อมาว่า สามารถกลับเข้าทำงานในสถาบันอุดมศึกษาได้หรือไม่ นั้นมีกฎหมายที่เกี่ยวข้อง คือ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 และ กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการกลับเข้ารับราชการ นับวันรับราชการและเงินเดือนที่จะได้รับของผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2553
สาระสำคัญของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนใสถาบันอุดมศึกษา 2547 มาตรา 4 ให้คำนิยามความหมายประเภทของสถาบันการศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชการกับการแยกประเภทเจ้าหน้าที่ของรัฐในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชการ ดังนี้
“สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา แต่ไม่รวมถึงสถาบันการศึกษาของรัฐที่ไม่ใช่ส่วนราชการ”
“ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการตามพระราชบัญญัตินี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือนในสถาบันอุดมศึกษา“
“พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างให้ทำงานในสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับค่าจ้างหรือค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดินหรือเงินรายได้ของสถาบันอุดมศึกษา”
สาระสำคัญของ กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการกลับเข้ารับราชการ นับวันรับราชการและเงินเดือนที่จะได้รับของผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 ดังนี้
ผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา มีได้ 3 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ลาออกจากราชการในสถาบันอุดมศึกษาไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารพ้นราชการทหารโดยไม่มีความเสียหาย ตาม กฎ ก.พ.อ. ข้อ 3
กรณีที่ 2 ลาออกจากราชการในสถาบันอุดมศึกษาโดยได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเพื่อไปปฏิบัติงานใดๆ ตามกฎ ก.พ.อ. ข้อ 4
กรณีที่ 3 ลาออกจากราชการในถาบันอุดมศึกษาไปด้วยเหตุใดๆที่ไม่ใช่ กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 ซึ่งหากประสงค์จะขอกลับรับราชการพลในสถาบันอุดมศึกษาให้ยื่นคำร้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด
จากสาระสำคัญของกฎหมายข้างต้นสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษา มีประเด็นดังต่อไปนี้
ประเด็นประเภทสถาบันอุดมศึกษาที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษา
เมื่อพิจารณาจากคำนิยาม มาตรา 4 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547
“สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา แต่ไม่รวมถึงสถาบันการศึกษาของรัฐที่ไม่ใช่ส่วนราชการ”
แสดงให้เห็นว่าสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชการเท่านั้นที่อนุญาตให้ข้าราชการในสถาบันอุดมศึกษาลาออกและให้มีการขอเข้ารับราชการได้ มีอยู่ 3 ประเภท ดังนี้
1. มหาวิทยาลัยมีกฎหมายเฉพาะ และเป็นมหาวิทยาลัยที่ไม่ออกนอกระบบ มหาวิทยาลัยมีกฎหมายเฉพาะ และเป็นมหาวิทยาลัยที่ไม่ออกนอกระบบ (มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ) เป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นราชการมีฐานะเทียบเท่า “กรม” เช่น มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นต้น
2. มหาวิทยาลัยราชภัฏ เมื่อพิจารณาศึกษาถึงมหาวิทยาลัยที่เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีฐานะเทียบเท่า “กรม” มีฐานะเป็นนิติบุคคลมหาชน จะพบว่ามีมหาวิทยาลัยแยกเป็นภูมิภาค ดังต่อไปนี้
1) “กลุ่มภาคกลาง” มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (มจษ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (มร.พน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (มรธ.)มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (มบส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (มร.สส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไล อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (มรว.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (มรภ.อย.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (มรภท.)
2) “กลุ่มภาคตะวันตก” มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (มรภน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (มรภ.กจ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง (มร.มจ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (มรภ.พบ.)
3) “กลุ่มภาคตะวันออก” มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (มรร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (มรภ.รพ.)
4) “กลุ่มภาคใต้” มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (มรส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (มรภ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (มร.นศ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สข.) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (มรย.)
5) “กลุ่มภาคเหนือ” มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (มรภ.ชม.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (มรภ.ชร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (มรภ.ลป.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (มรภอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มรภ.พส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (มรภ.กพ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (มรภ.พช.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (มรภ.นว.) และ
6) “กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ (มรภ.ชย.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (มรภ.นม.)มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (มรภ.บร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (มรภ.สร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (มรภ.ศก.)มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (มรภ.อบ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มรภ.มค.) มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด (มรภ.รอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (มรภ.ล.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (มร.อด.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร (มรภ.สน.)
3. มหาวิทยาลัยราชมงคล เมื่อพิจารณาศึกษาถึงมหาวิทยาลัยที่เป็นมหาวิทยาลัยราชมงคลเป็นไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 มีฐานะเทียบเท่า “กรม” เป็นนิติบุคคลคลมหาชน มีมหาวิทยาลัยราชมงคล ประกอบ ด้วย 9 แห่ง ดังต่อไปนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ดังนั้น ประเภทสถาบันอุดมศึกษาที่เข้าเงื่อนไขให้ข้าราชการใน “สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชเท่านั้นที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษา” ได้ ส่วนมหาวิทยาลัยของรัฐที่ไม่ใช่ส่วนราชการนั้นให้เป็นไปตามกฎหมายของสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ
ประเด็นกรณีที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชการได้
เมื่อพิจารณาศึกษา กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการกลับเข้ารับราชการ นับวันรับราชการและเงินเดือนที่จะได้รับของผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 ได้กำหนดให้ผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นส่วนราชการ มีได้ 3 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ลาออกจากราชการในสถาบันอุดมศึกษาไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารพ้นราชการทหารโดยไม่มีความเสียหาย ตาม กฎ ก.พ.อ. ข้อ 3
กรณีที่ 2 ลาออกจากราชการในสถาบันอุดมศึกษาโดยได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเพื่อไปปฏิบัติงานใดๆ ตามกฎ ก.พ.อ. ข้อ 4
กรณีที่ 3 ลาออกจากราชการในถาบันอุดมศึกษาไปด้วยเหตุใดๆที่ไม่ใช่ กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 ซึ่งหากประสงค์จะขอกลับรับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ยื่นคำร้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด ดังนั้นการลาออกราชการในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อไปสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จะเข้าข่ายในกรณีนี้
ประเด็นประเภทอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษา
เมื่อพิจารณาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา 2547 มาตรา 4 ให้คำนิยาม เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ปฏิบัติในสภาบันอุดมศึกษาที่เป็นส่วนราชการ มี อยู่ 2 ประเภท ดังนี้
“ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการตามพระราชบัญญัตินี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือนในสถาบันอุดมศึกษา”
“พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างให้ทำงานในสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับค่าจ้างหรือค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดินหรือเงินรายได้ของสถาบันอุดมศึกษา”
และเมื่อพิจารณาศึกษากฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการกลับเข้ารับราชกร นับวันรับราชการและเงินเดือนที่จะได้รับของผู้ขอกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 “จะให้สิทธิเฉพาะ “ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา” ที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษาได้หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด” แต่ “ไม่ได้กำหนด “พนักงานมหาวิทยาลัย” ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษาได้”
ดังนั้นสรุป “อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นข้าราชการเท่านั้น” ที่ให้มีการลาออกจากราชการและขอเข้ารับราชการในสถาบันอุดมศึกษาได้นั้นจะต้องเป็น “สถาบันอุดมศึกษาที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น” ภายใต้หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด
กจ พช 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
ประเภทมหาวิทยาลัยของรัฐที่อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ๒๕๔๗
มหาวิทยาลัยที่เป็น “ส่วนราชการ” ตามคำนิยาม มาตรา ๔ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ๒๕๔๗ มีดังนี้
“ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา”หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการตามพระราชบัญญัตินี้โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือนในสถาบันอุดมศึกษา
“สภาสถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า สภามหาวิทยาลัย หรือสภาสถาบันอุดมศึกษา แล้วแต่กรณีทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษานั้น
“สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา แต่ไม่รวมถึงสถานศึกษาของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการ
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (อ้างใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ที่ ๗๐ ก ลงวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๗)
จากคำนิยามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ๒๕๔๗ มาตรา ๔ มหาวิทยาลัยของรัฐที่อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติดังกล่าว มีอยู่ ๓ ประเภท ดังนี้
๑.๑ มหาวิทยาลัยมีกฎหมายเฉพาะ และเป็นมหาวิทยาลัยที่ไม่ออกนอกระบบ
มหาวิทยาลัยมีกฎหมายเฉพาะ และเป็นมหาวิทยาลัยที่ไม่ออกนอกระบบ (มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ) เป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นราชการมีฐานะเทียบเท่า “กรม” เช่น มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นต้น
เมื่อพิจารณาศึกษาถึง “มหาวิทยาลัยนอกระบบ”หรือ “มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ”หน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ภายใต้การบังคับและกำกับดูแลของฝ่ายบริหาร หน่วยงานอื่นของประเภทนี้ไม่ใช่หน่วยราชการ ไม่รัฐวิสาหกิจ ไม่ใช่องค์การมหาชน แต่เป็นหน่วยงานอื่นของรัฐที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อบริการสาธารณะและไม่ได้อยู่ภายใต้การบังคับของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาพ.ศ. 2547 จะอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของฝ่ายบริหาร มีอยู่ 2 คือ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของราชการส่วนกลางกับอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้
๑. มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของราชการส่วนกลาง คือ จะอยู่ในกำกับของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีดังต่อไปนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยทักษิณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
๒. มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของราชการส่วนท้องถิ่น ปัจจุบันมีเฉพาะมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชแห่งเดียวที่อยู่ในกำกับของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นราชการส่วนท้องถิ่นในรูปแบบพิเศษ
๑.๒ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
วิเคราะห์ถึงมหาวิทยาลัยที่เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ มีฐานะเทียบเท่า “กรม” มีฐานะเป็นนิติบุคคลมหาชน จะพบว่ามีมหาวิทยาลัยแยกเป็นภูมิภาค ดังต่อไปนี้ “กลุ่มภาคกลาง” มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (มจษ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (มร.พน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (มรธ.)มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (มบส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (มร.สส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไล อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (มรว.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (มรภ.อย.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (มรภท.) “กลุ่มภาคตะวันตก” มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (มรภน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (มรภ.กจ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง (มร.มจ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (มรภ.พบ.) “กลุ่มภาคตะวันออก” มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (มรร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (มรภ.รพ.) “กลุ่มภาคใต้” มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (มรส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (มรภ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (มร.นศ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สข.) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (มรย.) “กลุ่มภาคเหนือ” มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (มรภ.ชม.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (มรภ.ชร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (มรภ.ลป.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (มรภอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มรภ.พส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (มรภ.กพ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (มรภ.พช.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (มรภ.นว.)และ“กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ (มรภ.ชย.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (มรภ.นม.)มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (มรภ.บร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (มรภ.สร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (มรภ.ศก.)มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (มรภ.อบ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มรภ.มค.) มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด (มรภ.รอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (มรภ.ล.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (มร.อด.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร (มรภ.สน.)
เมื่อพิจารศึกษาพบว่า “มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต” ที่เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในระบบราชการในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐออกนอกระบบราชการเป็นมหาวิทยาลัยในการกำกับของรัฐ คือ “มหาวิทยาลัยสวนดุสิต” เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๘
๑.๓ มหาวิทยาลัยราชมงคล
เมื่อพิจารณาศึกษาถึงมหาวิทยาลัยที่เป็นมหาวิทยาลัยราชมงคลเป็นไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ มีฐานะเทียบเท่า “กรม” เป็นนิติบุคคลคลมหาชน มีมหาวิทยาลัยราชมงคล ประกอบ ด้วย ๙ แห่ง ดังต่อไปนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ดังนั้นสรุปได้ว่ามหาวิทยาลัยเหล่านี้จะต้องอยู่ภายใต้บังคับตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ แต่อย่างไรก็ตามเงื่อนไขบางประเภทจะถูกยกเว้นตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ ๓๗/๒๕๖๐ ในบางประเด็น เช่น ในกรณีรักษาราชการแทนอธิการบดีจะไม่ใช้ ๑๘๐ มาเป้นข้อบังคับ
กจ พช 在 Indysong Kids & Dark เรื่องผี การ์ตูนตลก อนิเมชั่น เพลงสนุกๆ Youtube 的精選貼文
พยัญชนะไทย มี 44 ตัว ตั้งแต่ ก – ฮ ( ก.ไก่ ถึง ฮ.นกฮูก)
ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ
#กเอ๋ยกไก่indysong #indysongKids #เพลงกไก่indysong
ติดตามช่อง Indysong Kids https://www.youtube.com/user/indysong
แฟนเพจ Facebook Fanpage https://www.facebook.com/IndysongKids
กจ พช 在 HappyJoe Youtube 的最佳解答
วันนี้มาหัดท่อง กไก่ ถึง ฮนกฮูก กับโจเซฟและเพื่อนๆ กันครับ
Let Learn Thai Alphabet With Joseph | Thai Alphabet Song | Pasa Thai
กดติดตาม และกดสัญลักษณ์เตือนรูปกระดิ่ง เพื่อที่จะได้รับชมวีดีโอใหม่ๆ ก่อนใคร
SUBSCRIBE https://goo.gl/y0ye6l
เนื้อเพลง ก.เอ๋ย ก.ไก่
ก เอ๋ย ก ไก่ (Gor oei Gor gai)
ข ไข่ ในเล้า (Kor kai Nai lao)
ฃ ฃวด ของเรา (Kor Khuat Khong rao)
ค ควาย เข้านา (Kor Kwai Khao na)
ฅ ฅนขึงขึง (Kor khon Kheung Khang)
ฆ ระฆัง ข้างฝา (Kor rakang Khang fha)
ง งู ใจกล้า (Ngor ngoo Jai gla)
จ จาน ใช้ดี (Jor jan Chai dee)
ฉ ฉิ่ง ตีดัง (Chor ching Thee dung)
ช ช้าง วิ่งหนี (Chor chang wing nee)
ซ โซ่ ล่ามที (Sor soh Lam thee)
ฌ เฌอ คู่กัน (Chor cher Khu gun)
ญ หญิง โสภา (Yor ying Soh pha)
ฎ ชฎา สวมพลัน (Dor chada Suam phlan)
ฏ ปฏัก หุนหัน (Tor pa tak Hoon hun)
ฐ ฐาน เข้ามารอง (Tho than Khao ma rong)
ฑ มณโฑ หน้าขาว (Tho mon toh Na khao)
ฒ ผู้เฒ่า เดินย่อง (Tho phu thao Dern young)
ณ เณร ไม่มอง (Nor nen Mai mong)
ด เด็ก ต้องนิมันต์ (Dor dek Tong ni mhon)
ต เต่า หลังตุง (Tor tao Lung tung)
ถ แบกขน (Tho thung Baek khon)
ท ทหาร อดทน (Tor tahan Ot thon)
ธ ธง คนนิยม (Tor tong Khon ni yom)
น หนู ขวักไขว่ (Nor noo khwak khwai)
บ ใบไม้ ทับถม (Bor bai mai Thup thom)
ป ปลา ตากลม (Por pla Ta glom)
ผ ผึ้ง ทำรัง (Pho phueng Thum rung)
ฝ ฝา ทนทาน (Foh fha Thon than)
พ พาน วางตั้ง (Por phan Wang tung)
ฟ ฟัน สะอาดจัง (For fun Sa ard jung)
ภ สำเภา กางใบ (Por sam pao Gang bai)
ม ม้า คึกคัก (Mor mah Kheug khug)
ย ยักษ์ เขี้ยวใหญ่ (Yor uak kheaw yai)
ร เรือ ภายไป (Ror Ruea Pie phai)
ล ลิง ไต่ราว (Lor ling Tai row)
ว แหวน ลงยา (Wor waen Lhong ya)
ศ ศาลา เงียบเหงา (Sor sa la Ngeap ngao)
ษ ฤาษี หนวดยาว (Sor rue see Nuat yow)
ส เสือ ดาวคะนอง (Sor suea Dow ka nong)
ห หีบ ใส่ผ้า (Hor heep Sai pha)
ฬ จุฬา ท่าผยอง (Lor ju la Tha pha young)
อ อ่าง เนืองนอง (Or ang Nueang nong)
ฮ นกฮูก ตาโต (Hor nok hook Ta toh)
ช่องทางการติดตามอื่นๆ
FACEBOOK https://www.facebook.com/HappyKidThailand
#กเอ๋ยกไก่ #พยัญชนะไทย #เพลงกไก่
กจ พช 在 Indysong Kids & Dark เรื่องผี การ์ตูนตลก อนิเมชั่น เพลงสนุกๆ Youtube 的最佳貼文
เพลง ก ไก่ - ฮ นกฮูก พยัญชนะไทย 44 ตัว
ก เอ๋ย ก ไก่
ข ไข่ อยู่ในเล้า
ฃ ขวด ของเรา
ค ควาย เข้านา
ฅ คน ขึงขัง
ฆ ระฆัง ข้างฝา
ง งู ใจกล้า
จ จาน ใช้ดี
ฉ ฉิ่ง ตีดัง
ช ช้าง วิ่งหนี
ซ โซ่ ล่ามที
ฌ เฌอ คู่กัน
ญ หญิง โสภา
ฎ ชฎา สวมพลัน
ฏ ปฏัก หุนหัน
ฐ ฐาน เข้ามารอง
ฑ นางมณโฑ หน้าขาว
ฒ ผู้เฒ่า เดินย่อง
ณ เณร ไม่มอง
ด เด็ก ต้องนิมนต์
ต เต่า หลังตุง
ถ ถุง แบกขน
ท ทหารอดทน
ธ ธง คนนิยม
น หนู ขวักไขว่
บ ใบไม้ ทับถม
ป ปลา ตากลม
ผ ผึ้ง ทำรัง
ฝ ฝา ทนทาน
พ พาน วางตั้ง
ฟ ฟัน สะอาดจัง
ภ สำเภา กางใบ
ม ม้า คึกคัก
ย ยักษ์ เขี้ยวใหญ่
ร เรือพายไป
ล ลิง ไต่ราว
ว แหวน ลงยา
ศ ศาลา เงียบเหงา
ษ ฤาษี หนวดยาว
ส เสือ ดาวคะนอง
ห หีบ ใส่ผ้า
ฬ จุฬา ท่าผยอง
อ อ่าง เนืองนอง
ฮ นกฮูก ตาโต
#เพลงกไก่indysong #indysongKids #นิทานindysong
ติดตามช่อง Indysong Kids https://www.youtube.com/user/indysong
แฟนเพจ Facebook Fanpage https://www.facebook.com/IndysongKids
Playlist รวมผลงานของเราสำหรับน้องๆหนูๆ
? เพลงและการ์ตูนความรู้สำหรับน้องๆ ?
เพลงเด็กอนุบาลดั้งเดิม ►► http://bit.ly/23Mlj6f
เพลงเด็กน่ารักแต่งใหม่ ►► http://goo.gl/ZrH7Xb
เพลงสอนลูกให้เป็นเด็กดี ►► https://goo.gl/cp2ovT
เพลงเด็กมีเนื้อเพลงคาราโอเกะ ►► https://goo.gl/RmQqoM
เพลงเด็กภาษาอังกฤษ ►► https://goo.gl/C91x14
รวมเพลง ก.ไก่ ►► http://bit.ly/1YpnUlf
รวมเพลงเป็ด ►► https://goo.gl/uWXeQo
รวมเพลงไก่กุ๊กๆ ►► https://goo.gl/TJ3vdB
รวมเพลง ABC คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ►► http://bit.ly/1Ta8ddX
สอนนับเลข คณิตศาตร์อนุบาล ►► https://goo.gl/pmmLNz
►►นิทานสำหรับเด็ก
นิทานสอนใจ https://goo.gl/Ni13Tj
นิทานอีสป นิทานสนุกๆ http://bit.ly/1VVlFrP
นิทานจากเพลงเด็ก https://goo.gl/FTYoCB
รวมนิทานน้องไข่เจียว https://goo.gl/LzChHu