“ทศพิศราชธรรมของกษัตริย์ในปรัชญากฎหมายไทย”
ทศพิศราชธรรม เป็นเสมือนหลักธรรมที่สำคัญในการใช้อำนาจการปกครองของกษัตริย์โดยชนชั้นปกครองทั้งหลายโดยที่ผู้ใช้อำนาจปกครองนี้ มิได้หมายเฉพาะกษัตริย์เท่านั้นแต่หมายถึงบุคคลทั้งหลายที่ใช้อำนาจในการปกครองด้วย ซึ่งจะเป็นการตีความในลักษณะของการขยายความให้เข้าสังคมปัจจุบัน ในยุคปัจจุบันเราจะนำมาใช้กับคนที่เป็น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรือผู้ว่าราชการจังหวัดและแม้กระทั่งในระดับครอบครัว
ทศพิศราชธรรม ในฐานะความคิดทางศีลธรรมการเมืองมีรากฐานที่มาจากคัมภีร์ชาดกในพุทธศาสนา นับเนื่องมาจากที่พุทธศาสนาได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการเมืองการปกครองสมัยพระยาลิไทย คติความคิดนี้ก็ย่อมได้รับการเผยแพร่โดยผ่านทางสื่อต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในงานเขียนหรือศิลาจารึก หลักธรรมอันสำคัญยิ่งสำหรับกษัตริย์หรือผู้ปกครองประกอบด้วยเนื้อหา10 ประการ ดังนี้คือ
1. ทาน หมายถึง การแจกวัตถุสิ่งของ การให้วิชาความรู้เพื่อเกื้อกูลผู้อื่นและการให้ประการอื่น ๆ เช่น กำลังกาย กำลังความคิดตลอดจนคำแนะนำ
2. ศีล หมายถึงการควบคุมพฤติทางกาย วาจา และใจ ให้เป็นปกติ
3. ปริจจาจะ หมายถึง การเสียสละประโยชน์สุขส่วนตัวเพื่อระโยชน์สุขส่วนรวม
4. อาธชวะ หมายถึง ความซื่อตรง
5. มัทธวะ หมายถึง ความสุภาพอ่อนโยน
6. ตยะ หมายถึง ความเพียรพยายาม ในหน้าที่การงานจนกว่าจะสำเร็จโดยไม่ลดละ
7. อักโกธะ หมายถึง ความไม่แสดงการเกรี้ยวกราดโกรธแค้นต่อใคร ๆ
8. อวิหิงสา หมายถึง ความไม่เบียดเบียนผู้อื่นไม่เกิดทุกข์เดือดร้อน
9. ขันติ หมายถึงความอดทนต่อความยากลำบาก
10. อวิโรธะนะ หมายถึง ความไม่ประพฤติผิดไปจากทำนองคลองธรรม
หลักทั้ง 10 ประการ อาจสรุปให้เป็น 5 ประการ ได้ดังนี้คือ
1. การให้เสียสละ (ทาน และปริจจาจะ)
2. ความซื่อสัตย์สุจริต (ศีล และอาธชนะ)
3. ความมีไมตรีจิต (มัทธวะ และอักโกธะ)
4. ความอดทน ความเพียร (ตยะ และขันติ)
5. ความถูกต้องและยุติธรรม (อวิโรธนะ)
การตีความทศพิศราชธรรมให้เป็นดั่งหลักอุดมคติทางกฎหมายดังกล่าวอาจเทียบเคียงได้กับความในเชิงปรัชญากฎหมายธรรมในชาติของตะวันตก ในแง่ทศพิศราชธรรมอาจจัดให้มีค่าเสมือนรูปธรรมหนึ่งแห่งกฎหมายธรรมชาติตามแบบเสรีวิธีคิดของตะวันตก จริงอยู่ที่ในปรัชญากฎหมายของไทยเราไม่ถ้อยคำที่เรียกว่า “กฎหมายธรรมชาติ” (Notural Law) แบบตะวันตกในความของกฎหมาย ซึ่งกำหนดแยกแยะว่าอะไรถูกอะไรผิดและเป็นกฎหมายที่ได้รับอำนาจหรือความสมบูรณ์จากธรรมชาติมิได้เกิดจากอำนาจสร้างสรรค์ของมนุษย์ แต่หลักธรรมสำคัญทางพุทธศาสนาที่กำกับการใช้อำนาจรัฐทั้งในทางการเมืองและในทางกฎหมายของไทยก็จัดได้เป็นหลักธรรมที่มาจากธรรมชาติได้เช่นกัน เมื่อตีความผ่านการวิเคราะห์ รากศัพท์ คำว่า ธรรมะ ที่หมายรวมถึงธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ ดังที่เคยกล่าวมาแล้ว ในเมื่อธรรมะคือธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ ทศพิศราชธรรมในฐานะหลักธรรมทางการเมืองหรือกฎหมายก็ย่อมจักเข้าเป็นกฎธรรมชาติเช่นกัน หรืออีกนัยหนึ่งก็เป็นธรรมะที่มีอยู่แล้วโดยธรรมชาติ มิได้เกิดจากการประดิษฐ์สร้างของมนุษย์ มนุษย์ (ผู้เป็นศาสดา) เป็นเพียงผู้ค้นพบธรรมนี้เท่านั้น แล้วประกาศธรรมนี้ให้แพร่หลายไปโดยเฉพาะหมู่ผู้ปกครองหรือราชาที่ต้องการ “ ทรง “ ทั้งอำนาจตนและสังคมที่ตนปกครองให้เป็นไปปกติสุข
「ความอดทน ธรรมะ」的推薦目錄:
- 關於ความอดทน ธรรมะ 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
- 關於ความอดทน ธรรมะ 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
- 關於ความอดทน ธรรมะ 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答
- 關於ความอดทน ธรรมะ 在 "บุคคลผู้สามารถดำรงขันติธรรม คือความอดทนอดกลั้นไว้ได้ ย่อม ... 的評價
- 關於ความอดทน ธรรมะ 在 “ความอดทน อดกลั้น จะพาให้เกิดเป็นขันติ #ธรรมะคือกัลยาณมิตร # ... 的評價
ความอดทน ธรรมะ 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
"ทศพิศราชธรรมของกษัตริย์ในปรัชญากฎหมายไทย"
ทศพิศราชธรรม เป็นเสมือนหลักธรรมที่สำคัญในการใช้อำนาจการปกครองของกษัตริย์โดยชนชั้นปกครองทั้งหลายโดยที่ผู้ใช้อำนาจปกครองนี้ มิได้หมายเฉพาะกษัตริย์เท่านั้นแต่หมายถึงบุคคลทั้งหลายที่ใช้อำนาจในการปกครองด้วย ซึ่งจะเป็นการตีความในลักษณะของการขยายความให้เข้าสังคมปัจจุบัน ในยุคปัจจุบันเราจะนำมาใช้กับคนที่เป็น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรือผู้ว่าราชการจังหวัดและแม้กระทั่งในระดับครอบครัว
ทศพิศราชธรรม ในฐานะความคิดทางศีลธรรมการเมืองมีรากฐานที่มาจากคัมภีร์ชาดกในพุทธศาสนา นับเนื่องมาจากที่พุทธศาสนาได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการเมืองการปกครองสมัยพระยาลิไทย คติความคิดนี้ก็ย่อมได้รับการเผยแพร่โดยผ่านทางสื่อต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในงานเขียนหรือศิลาจารึก หลักธรรมอันสำคัญยิ่งสำหรับกษัตริย์หรือผู้ปกครองประกอบด้วยเนื้อหา10 ประการ ดังนี้คือ
1. ทาน หมายถึง การแจกวัตถุสิ่งของ การให้วิชาความรู้เพื่อเกื้อกูลผู้อื่นและการให้
ประการอื่น ๆ เช่น กำลังกาย กำลังความคิดตลอดจนคำแนะนำ
2. ศีล หมายถึงการควบคุมพฤติทางกาย วาจา และใจ ให้เป็นปกติ
3. ปริจจาจะ หมายถึง การเสียสละประโยชน์สุขส่วนตัวเพื่อระโยชน์สุขส่วนรวม
4. อาธชวะ หมายถึง ความซื่อตรง
5. มัทธวะ หมายถึง ความสุภาพอ่อนโยน
6. ตยะ หมายถึง ความเพียรพยายาม ในหน้าที่การงานจนกว่าจะสำเร็จโดยไม่ลดละ
7. อักโกธะ หมายถึง ความไม่แสดงการเกรี้ยวกราดโกรธแค้นต่อใคร ๆ
8. อวิหิงสา หมายถึง ความไม่เบียดเบียนผู้อื่นไม่เกิดทุกข์เดือดร้อน
9. ขันติ หมายถึงความอดทนต่อความยากลำบาก
10. อวิโรธะนะ หมายถึง ความไม่ประพฤติผิดไปจากทำนองคลองธรรม
หลักทั้ง 10 ประการ อาจสรุปให้เป็น 5 ประการ ได้ดังนี้คือ
1. การให้เสียสละ (ทาน และปริจจาจะ)
2. ความซื่อสัตย์สุจริต (ศีล และอาธชนะ)
3. ความมีไมตรีจิต (มัทธวะ และอักโกธะ)
4. ความอดทน ความเพียร (ตยะ และขันติ)
5. ความถูกต้องและยุติธรรม (อวิโรธนะ)
การตีความทศพิศราชธรรมให้เป็นดั่งหลักอุดมคติทางกฎหมายดังกล่าวอาจเทียบเคียงได้กับความในเชิงปรัชญากฎหมายธรรมในชาติของตะวันตก ในแง่ทศพิศราชธรรมอาจจัดให้มีค่าเสมือนรูปธรรมหนึ่งแห่งกฎหมายธรรมชาติตามแบบเสรีวิธีคิดของตะวันตก จริงอยู่ที่ในปรัชญากฎหมายของไทยเราไม่ถ้อยคำที่เรียกว่า “กฎหมายธรรมชาติ” (Notural Law) แบบตะวันตกในความของกฎหมาย ซึ่งกำหนดแยกแยะว่าอะไรถูกอะไรผิดและเป็นกฎหมายที่ได้รับอำนาจหรือความสมบูรณ์จากธรรมชาติมิได้เกิดจากอำนาจสร้างสรรค์ของมนุษย์ แต่หลักธรรมสำคัญทางพุทธศาสนาที่กำกับการใช้อำนาจรัฐทั้งในทางการเมืองและในทางกฎหมายของไทยก็จัดได้เป็นหลักธรรมที่มาจากธรรมชาติได้เช่นกัน เมื่อตีความผ่านการวิเคราะห์ รากศัพท์ คำว่า ธรรมะ ที่หมายรวมถึงธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ ดังที่เคยกล่าวมาแล้ว ในเมื่อธรรมะคือธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ ทศพิศราชธรรมในฐานะหลักธรรมทางการเมืองหรือกฎหมายก็ย่อมจักเข้าเป็นกฎธรรมชาติเช่นกัน หรืออีกนัยหนึ่งก็เป็นธรรมะที่มีอยู่แล้วโดยธรรมชาติ มิได้เกิดจากการประดิษฐ์สร้างของมนุษย์ มนุษย์ (ผู้เป็นศาสดา) เป็นเพียงผู้ค้นพบธรรมนี้เท่านั้น แล้วประกาศธรรมนี้ให้แพร่หลายไปโดยเฉพาะหมู่ผู้ปกครองหรือราชาที่ต้องการ “ ทรง “ ทั้งอำนาจตนและสังคมที่ตนปกครองให้เป็นไปปกติสุข
ความอดทน ธรรมะ 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答
ไตรภูมิพระร่วงกับแนวคิดแบบพุทธรมนิยมของพระยาลิไทย
ไตรภูมิพระร่วงหรือชื่อตามต้นฉบับเดิมคือ “เตภูมิกถา” เป็นงานวรรณกรรมเชิงปรัชญาเรื่องแรกของไทย นักวิชาการบางท่านจัดไตรภูมิพระร่วงว่าทำหน้าที่แทนกฎหมายในยุคสมัยสุโขทัย
ศิลาจารึกหลักที่ 4 หลักที่ 5 ของพระยาลิไทยมีการกล่าวถึงสิ่งที่เป็นปณิธานเจตนารมณ์ของพระยาลิไทย ซึ่งมุ่งที่จะเป็นพระพุทธเจ้า นำสัตว์ทั้งหลายให้ข้ามพ้นสังขารทุกข์ (เป็นหลักฐานที่ปรากฏเกี่ยวกับแนวคิดเชิงอุดมการณ์) ไตรภูมิพระร่วงเป็นหนังสือที่กล่าวถึงเรื่องไตรสาม สามภูมิ สามภพ สามโลก ได้อธิบายเรื่องการกำเนิดโลกเช่นเดียวกับอัคคัญสูตร แต่มีการเปลี่ยนสิ่งเป็นคุณสมบัติของผู้ปกครองในแง่ที่ว่าในอัคคัญสูตรไม่ได้ระบุว่า คนที่เป็นผู้ปกครองจะต้องเป็นพระโพธิสัตว์ ส่วนไตรภูมิพระร่วง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงใหม่ให้บุคคลที่บรรดาสัตว์ทั้งหลายเข้าไปเชื้อเชิญเป็นผู้ปกครองต้องมีคุณสมบัติเป็นพระโพธิสัตว์ เมื่อนำความคิดนี้มาใช้กษัตริย์ (หรือพระโพธิสัตว์) ก็เลยกลายเป็นบุคคลที่ภาระสำคัญในการที่จะนำประชาชนให้ก้าวไปสู่การหลุดพ้นและบุคคลที่จะต้องปลดเปลื้องทุกข์ของประชาชนไม่ใช่เพียงแค่การดูแลให้เกิดความสงบเรียบร้อยของสังคมอย่างเดียว
ในไตรภูมิพระร่วงยังกล่าวถึงคุณสมบัติของผู้ปกครองว่าต้องอยู่ใน “ทศพิศราชธรรม” แนวคิดเรื่องทศพิศราชธรรมเป็นแนวคิดที่สำคัญตัวหนึ่งในเรื่องที่เกี่ยวกับการใช้อำนาจการปกครอง ซึ่งไตรภูมิพระร่วงได้กล่าวไว้ ได้นำมาจากพระไตรปิฎกในมหาหังตชาดา
หลักทศพิศราชธรรม
ทศพิศราชธรรม เป็นเสมือนหลักธรรมที่สำคัญในการใช้อำนาจการปกครองของกษัตริย์โดยชนชั้นปกครองทั้งหลายโดยที่ผู้ใช้อำนาจปกครองนี้ มิได้หมายเฉพาะกษัตริย์เท่านั้นแต่หมายถึงบุคคลทั้งหลายที่ใช้อำนาจในการปกครองด้วย ซึ่งจะเป็นการตีความในลักษณะของการขยายความให้เข้าสังคมปัจจุบัน ในยุคปัจจุบันเราจะนำมาใช้กับคนที่เป็น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรือผู้ว่าราชการจังหวัดและแม้กระทั่งในระดับครอบครัว
ทศพิศราชธรรม ในฐานะความคิดทางศีลธรรมการเมืองมีรากฐานที่มาจากคัมภีร์ชาดกในพุทธศาสนา นับเนื่องมาจากที่พุทธศาสนาได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการเมืองการปกครองสมัยพระยาลิไทย คติความคิดนี้ก็ย่อมได้รับการเผยแพร่โดยผ่านทางสื่อต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในงานเขียนหรือศิลาจารึก หลักธรรมอันสำคัญยิ่งสำหรับกษัตริย์หรือผู้ปกครองประกอบด้วยเนื้อหา 10 ประการ ดังนี้คือ
1. ทาน หมายถึง การแจกวัตถุสิ่งของ การให้วิชาความรู้เพื่อเกื้อกูลผู้อื่นและการให้ประการอื่น ๆ
เช่น กำลังกาย กำลังความคิดตลอดจนคำแนะนำ
2. ศีล หมายถึงการควบคุมพฤติทางกาย วาจา และใจ ให้เป็นปกติ
3. ปริจจาจะ หมายถึง การเสียสละประโยชน์สุขส่วนตัวเพื่อระโยชน์สุขส่วนรวม
4. อาธชวะ หมายถึง ความซื่อตรง
5. มัทธวะ หมายถึง ความสุภาพอ่อนโยน
6. ตยะ หมายถึง ความเพียรพยายาม ในหน้าที่การงานจนกว่าจะสำเร็จโดยไม่ลดละ
7. อักโกธะ หมายถึง ความไม่แสดงการเกรี้ยวกราดโกรธแค้นต่อใคร ๆ
8. อวิหิงสา หมายถึง ความไม่เบียดเบียนผู้อื่นไม่เกิดทุกข์เดือดร้อน
9. ขันติ หมายถึงความอดทนต่อความยากลำบาก
10. อวิโรธะนะ หมายถึง ความไม่ประพฤติผิดไปจากทำนองคลองธรรม
หลักทั้ง 10 ประการ อาจสรุปให้เป็น 5 ประการ ได้ดังนี้คือ
1. การให้เสียสละ ( ทาน และปริจจาจะ )
2. ความซื่อสัตย์สุจริต ( ศีล และอาธชนะ )
3. ความมีไมตรีจิต ( มัทธวะ และอักโกธะ )
4. ความอดทน ความเพียร ( ตยะ และขันติ )
5. ความถูกต้องและยุติธรรม ( อวิหิงสาและอวิโรธนะ )
การตีความทศพิศราชธรรมให้เป็นดั่งหลักอุดมคติทางกฎหมายดังกล่าวอาจเทียบเคียงได้กับความในเชิงปรัชญากฎหมายธรรมในชาติของตะวันตก ในแง่ทศพิศราชธรรมอาจจัดให้มีค่าเสมือนรูปธรรมหนึ่งแห่งกฎหมายธรรมชาติตามแบบเสรีวิธีคิดของตะวันตก จริงอยู่ที่ในปรัชญากฎหมายของไทยเราไม่ถ้อยคำที่เรียกว่า “กฎหมายธรรมชาติ” (Natural Law) แบบตะวันตกในความของกฎหมาย ซึ่งกำหนดแยกแยะว่าอะไรถูกอะไรผิดและเป็นกฎหมายที่ได้รับอำนาจหรือความสมบูรณ์จากธรรมชาติมิได้เกิดจากอำนาจสร้างสรรค์ของมนุษย์ แต่หลักธรรมสำคัญทางพุทธศาสนาที่กำกับการใช้อำนาจรัฐทั้งในทางการเมืองและในทางกฎหมายของไทยก็จัดได้เป็นหลักธรรมที่มาจากธรรมชาติได้เช่นกัน เมื่อตีความผ่านการวิเคราะห์ รากศัพท์ คำว่า ธรรมะ ที่หมายรวมถึงธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ ดังที่เคยกล่าวมาแล้ว ในเมื่อธรรมะคือธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ ทศพิศราชธรรมในฐานะหลักธรรมทางการเมืองหรือกฎหมายก็ย่อมจักเข้าเป็นกฎธรรมชาติเช่นกัน หรืออีกนัยหนึ่งก็เป็นธรรมะที่มีอยู่แล้วโดยธรรมชาติ มิได้เกิดจากการประดิษฐ์สร้างของมนุษย์ มนุษย์ (ผู้เป็นศาสดา) เป็นเพียงผู้ค้นพบธรรมนี้เท่านั้น แล้วประกาศธรรมนี้ให้แพร่หลายไปโดยเฉพาะหมู่ผู้ปกครองหรือราชาที่ต้องการ “ทรง” ทั้งอำนาจตนและสังคมที่ตนปกครองให้เป็นไปปกติสุข
ดังนั้นเมื่อเราเทียบเคียงกับตะวันตก จะมีสิ่งที่เรียกว่า บัญญัติ 10 ประการ นักบุญ (St. Thomas Aquinas) เซนต์ โทมัส อไควนัส เคยอธิบายว่าบัญญัติ 10 ประการ ก็คือ หลักกฎหมายธรรมชาติ โดยเนื้อหาสาระของบัญญัติ 10 ประการ เป็นเรื่องคุณธรรมส่วนตัว เช่น ให้คนเคารพพระเจ้า อย่าฆ่าคนอย่าโกหก อย่าไปผิดลูกผิดเมียเขา ซึ่งถ้ามองในรายละเอียด จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับคุณธรรมส่วนตัวมนุษย์ที่ควรจะประพฤติปฏิบัติ มากกว่าจะเป็นคุณธรรมที่วางระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แต่คุณธรรมพวกนี้นักปรัชญากฎหมายธรรมชาติตะวันตกบอกว่าเป็นรากฐานกฎหมายธรรมชาติ เพราะกฎหมายธรรมชาติในยุคกลางถือว่าเอาเจตจำนงของพระเจ้าเป็นที่มาของกฎหมาย ดังนั้นถ้ามีการจัดให้มีบัญญัติ 10 ประการ เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายธรรมชาติในเชิงคริสต์ศาสนา (Christian Natural Law) แล้วทศพิศราชธรรมก็น่าจะเป็นส่วนกฎหมายธรรมชาติในเชิงพุทธ ( Buddhist Natural Law ) เพราะทศพิศราชธรรมเป็นคุณธรรมสำคัญ ที่คัมภีร์พุทธศาสนา กล่าวว่ากษัตริย์ต้องปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรม
ความอดทน ธรรมะ 在 “ความอดทน อดกลั้น จะพาให้เกิดเป็นขันติ #ธรรมะคือกัลยาณมิตร # ... 的推薦與評價
ธรรมะ คือ กัลยาณมิตร • on Instagram: “ความอดทน อดกลั้น จะพาให้เกิดเป็นขันติ #ธรรมะคือกัลยาณมิตร #ธรรมะ #ธรรมทาน #สาธุ”. • ธรรมะ คือ กัลยาณมิตร • on ... ... <看更多>
ความอดทน ธรรมะ 在 "บุคคลผู้สามารถดำรงขันติธรรม คือความอดทนอดกลั้นไว้ได้ ย่อม ... 的推薦與評價
"บุคคลผู้สามารถดำรงขันติธรรม คือความอดทนอดกลั้นไว้ได้ ย่อมได้ชื่อว่าเป็นผู้เสงี่ยมงดงาม ถือธรรมะเป็นใหญ่ กิเลสตัณหาไม่อาจทำอันตราย" ... <看更多>