ขยายความอันนี้ มันมาจากคลิปที่แชร์เตือนกันในไลน์ว่าชาวมุสลิมให้ระวังการฉีดวัคซีน covid-19 เพราะทำจากไขมันหมู
อันนี้ก็เป็นประเด็นที่มีทางประเทศที่มีชาวมุสลิมอยู่อาศัยเยอะกังวลมาพักนึงแล้ว เพราะวัคซีนเนี่ย โดยปรกติ จะมีการใช้ เจลาติน มาทำหน้าที่เป็นอิมัลซิไฟเออร์เพื่อช่วยในการคงสภาพวัคซีน
ทีนี้ เจลาตินที่ว่านี่ ก็สกัดได้จากหลายแหล่ง ทั้งจาก หนังหมู กระดูกหมู รวมไปถึงสัตว์อื่นๆ เช่น วัว ควาย ซึ่งที่ผ่านมา มีวัคซีนหลายตัวที่ใช้เจลาตินที่ผลิตจากหมูเป็นส่วนประกอบ ซึ่งวัคซีนพวกนี้จะไม่มีฮาลาล (ไม่มีสิ่งของต้องห้ามตามหลักศาสนาอิสลาม) แต่เป็น ฮารอม (คือมีสิ่งที่ขัดกับหลักศาสนาเจือปน)
ทีนี้พอ covid-19 ระบาดทั่วโลก วัคซีนที่จะผลิตก็ต้องฉีดให้ชาวมุสลิมทั่วโลกด้วย องค์กรหลายๆองค์กรของชาวมุสลิม ก็ไปคุยถึงข้อกังวลนี้กับทางบริษัทผู้พัฒนาวัคซีน สรุปคือ ทางบริษัทผู้ผลิตรายใหญ่ทั้งหมด ยืนยันว่า วัคซีนที่ผลิต จะไม่ใช้เจลาตินที่ผลิตจากหมูมาเป็นองค์ประกอบอย่างแน่นอน
และหลายๆประเทศ ก็เริ่มให้ฮาลาล กับวัคซีนเหล่านั้นแล้ว เช่น อินโดประกาศให้ฮาลาลกับวัคซีนของซิโนแวค ดังนั้น เข้าใจความกังวลของพ่อแม่พี่น้องชาวมุสลิม แต่ประเด็นนี้ถือว่าปลอดภัย สามารถฉีดวัคซีนได้ไม่ผิดหลักศาสนาอย่างแน่นอน
ล่าสุด ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.อมร ลีลารัศมี นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ กล่าวกับ "ทีมข่าวอิศรา" ว่า วัคซีนโควิดไม่เกี่ยวอะไรกับสารสกัดจากน้ำมันหมู ยืนยันว่าวัคซีนตัวนี้ไม่มีส่วนผสมของหมู ไม่ได้นำมาจากไขมันหมู ไม่มีส่วนผสมของสัตว์ เป็นสารสังเคราะห์ในระดับโมเลกุล
ด้าน ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์เฟสบุ๊กส่วนตัว ชี้แจงข้อข้องใจเรื่องวัคซีนฮาลาลหรือไม่ สรุปว่า ในบรรดาคนไทยเกือบ 70 ล้านคน มีประมาณ 4-5 ล้านคนเป็นมุสลิม คำถามที่เกิดขึ้นไม่เฉพาะในประเทศไทย แต่กับมุสลิมประมาณ 2 พันล้านคนทั่วโลกก็มีคำถามเหมือนกันว่า วัคซีนโควิด-19 ฮาลาลสำหรับมุสลิมหรือไม่
เรื่องวัคซีนฮาลาลเคยเป็นประเด็นกับวัคซีนตัวอื่นมาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นวัคซีนโปลิโอ คอตีบ หรือแม้กระทั่งไข้กาฬหลังแอ่น ชาวบ้านในปากีสถาน บังคลาเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย หรือแม้แต่ประเทศไทย เกิดคำถามถึงขนาดผู้ปกครองบางส่วนปฏิเสธที่จะให้ลูกหลานรับวัคซีนกลุ่มนี้ ความที่เป็นประเด็นมาก่อน ทำให้ทางการของอินโดนีเซียและมาเลเซียส่งนักวิชาการศาสนาอิสลามเข้าร่วมตรวจสอบวัคซีนโควิด-19 อีกทั้งบริษัทผู้ผลิตวัคซีนได้พากันปรับสูตรการผลิตกันยกใหญ่ เนื่องจากตลาดมุสลิมใหญ่โตมโหฬารจำเป็นต้องรักษาไว้
สิ่งที่เป็นข้อห้ามในทางศาสนาอิสลามที่เป็นประเด็นในกรณีวัคซีน คือการใช้เจลาติน (Gelatin) จากสุกรเพื่อรักษาสภาพของวัคซีน (Stabilizer) วิธีนี้ใช้กันทั่วไป เหตุนี้ "ซิโนแวค" และ "แอสตร้าเซนเนก้า" ที่เป็นผู้ผลิตวัคซีนส่งให้ประเทศไทยต่างยืนยันว่าใช้เจลาตินที่ปลอดสุกร โดยอินโดนีเซียส่งนักวิชาการศาสนาอิสลามเข้าไปร่วมตรวจกระบวนการผลิตวัคซีนของซิโนแวคที่ประเทศจีน ก็ยืนยันตรงกัน เช่นเดียวกับแอสตร้าเซนเนก้า โดยในส่วนของการรับรองฮาลาล คาดว่าคงให้นักวิชาการศาสนาอิสลามในอังกฤษซึ่งมีอยู่หลายหน่วยงานเข้าไปตรวจสอบ
อ้างอิง
https://www.youtube.com/watch?v=b3yo52iGjVs
https://www.isranews.org/.../sout.../96691-halalvaccine.html
https://www.matichonweekly.com/column/article_387365
同時也有210部Youtube影片,追蹤數超過48萬的網紅AZA555,也在其Youtube影片中提到,อัพคลิปใหม่ วันละ3คลิป เช้า กลางวัน เย็น ฝากเพื่อนๆ กด ติดตาม และ กระดิ่ง ด้วยนะ Gorilla cow buffalo turtle กอริลลา วัว ควาย มาเล่นที่ข้างสระน้ำต้นเห็...
วัว และ ควาย 在 Drama-addict Facebook 的最佳貼文
มีคนแจ้งเบาะแสว่า มีการแชร์คลิปเตือนกันในไลน์ว่าชาวมุสลิมให้ระวังการฉีดวัคซีน covid-19 เพราะทำจากไขมันหมู
อันนี้ก็เป็นประเด็นที่มีทางประเทศที่มีชาวมุสลิมอยู่อาศัยเยอะกังวลมาพักนึงแล้ว เพราะวัคซีนเนี่ย โดยปรกติ จะมีการใช้ เจลาติน มาทำหน้าที่เป็นอิมัลซิไฟเออร์เพื่อช่วยในการคงสภาพวัคซีน
ทีนี้ เจลาตินที่ว่านี่ ก็สกัดได้จากหลายแหล่ง ทั้งจาก หนังหมู กระดูกหมู รวมไปถึงสัตว์อื่นๆ เช่น วัว ควาย ซึ่งที่ผ่านมา มีวัคซีนหลายตัวที่ใช้เจลาตินที่ผลิตจากหมูเป็นส่วนประกอบ ซึ่งวัคซีนพวกนี้จะไม่มีฮาลาล (ไม่มีสิ่งของต้องห้ามตามหลักศาสนาอิสลาม) แต่เป็น ฮารอม (คือมีสิ่งที่ขัดกับหลักศาสนาเจือปน)
ทีนี้พอ covid-19 ระบาดทั่วโลก วัคซีนที่จะผลิตก็ต้องฉีดให้ชาวมุสลิมทั่วโลกด้วย องค์กรหลายๆองค์กรของชาวมุสลิม ก็ไปคุยถึงข้อกังวลนี้กับทางบริษัทผู้พัฒนาวัคซีน สรุปคือ ทางบริษัทผู้ผลิตรายใหญ่ทั้งหมด ยืนยันว่า วัคซีนที่ผลิต จะไม่ใช้เจลาตินที่ผลิตจากหมูมาเป็นองค์ประกอบอย่างแน่นอน
และหลายๆประเทศ ก็เริ่มให้ฮาลาล กับวัคซีนเหล่านั้นแล้ว เช่น อินโดประกาศให้ฮาลาลกับวัคซีนของซิโนแวค ดังนั้น เข้าใจความกังวลของพ่อแม่พี่น้องชาวมุสลิม แต่ประเด็นนี้ถือว่าปลอดภัย สามารถฉีดวัคซีนได้ไม่ผิดหลักศาสนาอย่างแน่นอน
ล่าสุด ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.อมร ลีลารัศมี นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ กล่าวกับ "ทีมข่าวอิศรา" ว่า วัคซีนโควิดไม่เกี่ยวอะไรกับสารสกัดจากน้ำมันหมู ยืนยันว่าวัคซีนตัวนี้ไม่มีส่วนผสมของหมู ไม่ได้นำมาจากไขมันหมู ไม่มีส่วนผสมของสัตว์ เป็นสารสังเคราะห์ในระดับโมเลกุล
ด้าน ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์เฟสบุ๊กส่วนตัว ชี้แจงข้อข้องใจเรื่องวัคซีนฮาลาลหรือไม่ สรุปว่า ในบรรดาคนไทยเกือบ 70 ล้านคน มีประมาณ 4-5 ล้านคนเป็นมุสลิม คำถามที่เกิดขึ้นไม่เฉพาะในประเทศไทย แต่กับมุสลิมประมาณ 2 พันล้านคนทั่วโลกก็มีคำถามเหมือนกันว่า วัคซีนโควิด-19 ฮาลาลสำหรับมุสลิมหรือไม่
เรื่องวัคซีนฮาลาลเคยเป็นประเด็นกับวัคซีนตัวอื่นมาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นวัคซีนโปลิโอ คอตีบ หรือแม้กระทั่งไข้กาฬหลังแอ่น ชาวบ้านในปากีสถาน บังคลาเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย หรือแม้แต่ประเทศไทย เกิดคำถามถึงขนาดผู้ปกครองบางส่วนปฏิเสธที่จะให้ลูกหลานรับวัคซีนกลุ่มนี้ ความที่เป็นประเด็นมาก่อน ทำให้ทางการของอินโดนีเซียและมาเลเซียส่งนักวิชาการศาสนาอิสลามเข้าร่วมตรวจสอบวัคซีนโควิด-19 อีกทั้งบริษัทผู้ผลิตวัคซีนได้พากันปรับสูตรการผลิตกันยกใหญ่ เนื่องจากตลาดมุสลิมใหญ่โตมโหฬารจำเป็นต้องรักษาไว้
สิ่งที่เป็นข้อห้ามในทางศาสนาอิสลามที่เป็นประเด็นในกรณีวัคซีน คือการใช้เจลาติน (Gelatin) จากสุกรเพื่อรักษาสภาพของวัคซีน (Stabilizer) วิธีนี้ใช้กันทั่วไป เหตุนี้ "ซิโนแวค" และ "แอสตร้าเซนเนก้า" ที่เป็นผู้ผลิตวัคซีนส่งให้ประเทศไทยต่างยืนยันว่าใช้เจลาตินที่ปลอดสุกร โดยอินโดนีเซียส่งนักวิชาการศาสนาอิสลามเข้าไปร่วมตรวจกระบวนการผลิตวัคซีนของซิโนแวคที่ประเทศจีน ก็ยืนยันตรงกัน เช่นเดียวกับแอสตร้าเซนเนก้า โดยในส่วนของการรับรองฮาลาล คาดว่าคงให้นักวิชาการศาสนาอิสลามในอังกฤษซึ่งมีอยู่หลายหน่วยงานเข้าไปตรวจสอบ
อ้างอิง
https://www.youtube.com/watch?v=b3yo52iGjVs
https://www.isranews.org/article/south-news/south-slide/96691-halalvaccine.html
https://www.matichonweekly.com/column/article_387365
วัว และ ควาย 在 Drama-addict Facebook 的最佳解答
โรค SFTS เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ severe fever with thrombocytopenia syndrome virus (SFTSV) เป็นเชื้อไวรัสใหม่ ชนิด RNA อยู่ใน genus phlebovirus, family Bunyaviridae1
การติดเชื้อ SFTSV พบมากใน 3 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ อุบัติการณ์การเกิดโรคสูงสุดในประเทศจีน คือ 0.12 – 0.73 ต่อแสนประชากร2 รองลงมาคือ เกาหลีใต้ (0.07 ต่อแสนประชากร)3 และญี่ปุ่น (0.05 ต่อแสนประชากร)4 ตามลำดับ ยังไม่มีรายงานโรคนี้ในประเทศไทย
ผู้ป่วยติดเชื้อ SFTSV พบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2549 ที่มณฑลอานฮุน ประเทศจีน5 หลังจากนั้นก็มีการระบาดอีกครั้งในปี พ.ศ. 2552 พบผู้ป่วยที่ติดเชื้อดังกล่าวทั้งหมด 171 ราย ระบาดไปทั่วทั้ง 6 มณฑล ได้แก่ มณฑลเหลียวหนิง ซานตง เหอหนาน อานฮุน เจียงซู และหูเป่ย์6 ต่อมาก็มีการระบาดอย่างต่อเนื่องทุกปีในพื้นที่ทางตอนกลางและตะวันออกของประเทศ (รูปที่ 1) ในช่วงปี พ.ศ.2556 - 2559 พบผู้ป่วยถึง 7,419 ราย เสียชีวิต 355 ราย อัตราการตายเฉลี่ยร้อยละ 5.35
การติดต่อของโรค1,5
เชื้อ SFTSV ติดต่อโดยมีเห็บ (tick) เป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ ผู้ป่วยส่วนหนึ่งมีประวัติถูกเห็บกัดก่อนเกิดอาการ และ สามารถตรวจพบเชื้อ SFTSV จากเห็บ และจากสัตว์ที่อยู่บริเวณที่อยู่อาศัยของผู้ป่วย เชื้อชนิดนี้มีวงจรการติดต่อแบบ enzootic tick - vertebrate - tick cycle มีการวนเวียนของเชื้อระหว่างเห็บและสัตว์ที่เป็นรังโรค ชนิดของเห็บที่เป็นพาหะนำโรคที่สำคัญคือ H. longicornis ส่วนสัตว์ที่เป็นรังโรค ได้แก่ แพะ แกะ หมู วัว ควาย สุนัข ไก่ นกบางชนิด หนู และสัตว์ป่าชนิดต่างๆ แต่ยังไม่มีหลักฐานการก่อโรคในสัตว์
การติดต่อจากคนสู่คนยังไม่มีหลักฐานชัดเจน แต่มีการรายงานการเกิดโรคในครอบครัวเดียวกัน และมีประวัติสัมผัสผู้ป่วยก่อนเกิดอาการของโรค7-9
https://www.pidst.or.th/A581.html
วัว และ ควาย 在 AZA555 Youtube 的最讚貼文
อัพคลิปใหม่ วันละ3คลิป เช้า กลางวัน เย็น
ฝากเพื่อนๆ กด ติดตาม และ กระดิ่ง ด้วยนะ
Gorilla cow buffalo turtle กอริลลา วัว ควาย มาเล่นที่ข้างสระน้ำต้นเห็ด
วัว และ ควาย 在 AZA555 Youtube 的精選貼文
ฝากเพื่อนๆ กด ติดตาม และ กระดิ่ง ด้วยนะ
ทำความสะอาด อาบน้ำวัวควาย ช้างม้าก็มาวิ่งเล่น Cow Buffalo Lion Elephant
วัว และ ควาย 在 AZA555 Youtube 的最佳解答
ละครสั้น คิงคองหิว วัวและควายเพื่อนแสนดีหากล้วยให้กิน KINGKONG BUFFALO COW
ฝากเพื่อนๆ กด ติดตาม และ กระดิ่ง ด้วยนะ