34 สัปดาห์แล้ว นับถอยหลัง 30 วัน! 💕
น้ำหนักขึ้น 10 กิโลแล้ว อิอิ ทำไมเร็วแบบนี้ 🙈
ใครท้องอายุครรภ์เท่าไหร่กันแล้วบ้างคะ
หนักขึ้นเท่าไหร่ ซาวด์ลงลูกหนักเท่าไหร่มาแชร์กันน้า 💗
.
.
.
.
สำหรับใครที่เพิ่งติดตามย้อนดู EP.แรกตามนี้เลยนะคะ 👇🏻
ทำความรู้จักการทำเด็กหลอดแก้ว
https://youtu.be/9nxCZBtrppg
EP.0
https://youtu.be/Hvk5E0QgzPQ
EP.1
https://youtu.be/u07nLGcy_nk
EP.2
https://youtu.be/Evl_plazHGM
EP.3
https://youtu.be/S-gqGJAKf4w
EP.4
https://youtu.be/VxvL1mEKXzA
EP.5
https://youtu.be/mt6HIOh8svg
EP.6
https://youtu.be/JRrkUeZXmQQ
EP.7
https://youtu.be/c-qS5CQkCq0
EP.8
https://youtu.be/YeLVMVABnIo
EP.9
https://youtu.be/UQXqaL5NBds
EP.10
https://youtu.be/5gRUwjyuwGE
EP.11
https://youtu.be/N_P5SPus2i4
EP.12
https://youtu.be/g3c5C7Ex7KQ
EP.13
https://youtu.be/g3c5C7Ex7KQ
EP.14
https://youtu.be/9L7n5Gbs8I4
EP.15
https://youtu.be/W8TJDL-qZmo
Ep.16
https://youtu.be/PUr9lop5qSk
Ep.17
https://youtu.be/jNZ7kktgmt0
Ep.18
https://youtu.be/x0-sjVAyAKU
Ep.19
https://youtu.be/VA_ZBLU0cD8
Ep.20
https://youtu.be/_GdmW5b1bYI
Ep.21
https://youtu.be/5NahD4uvM20
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過11萬的網紅PRAEW,也在其Youtube影片中提到,คลิปใหม่ คลิก http://bit.ly/PRAEW สำหรับใครที่อยากติดตามขั้นตอนก่อนหน้านี้คลิ๊กลิ้งได้เลยค่ะ ทำความรู้จักการทำเด็กหลอดแก้ว https://youtu.be/9nxCZB...
「อายุครรภ์ 1 สัปดาห์」的推薦目錄:
- 關於อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 PRAEW Facebook 的最讚貼文
- 關於อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 นุ้ย สุจิรา อรุณพิพัฒน์ (Nui Sujira Aroonpipat) Facebook 的精選貼文
- 關於อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 Goodhealth สุขภาพดีอย่างมีกึ๋น Facebook 的精選貼文
- 關於อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 PRAEW Youtube 的最佳解答
- 關於อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 อาการตั้งครรภ์ 1 สัปดาห์เป็นอย่างไร? | หรือไม่ใช่การตั้งครรภ์ - YouTube 的評價
- 關於อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 BabyandMom.co.th - #สัปดาห์ที่ 4 การตั้งครรภ์ได้เริ่ม ... - Facebook 的評價
อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 นุ้ย สุจิรา อรุณพิพัฒน์ (Nui Sujira Aroonpipat) Facebook 的精選貼文
แม้พุงจะพุ่งมากแล้วแต่ชุดยังเอาอยู่ค่า @ilovenitan ปล.ร้องเท้านุ่มมาก @ilovenitan 😘 #อายุครรภ์35สัปดาห์
อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 Goodhealth สุขภาพดีอย่างมีกึ๋น Facebook 的精選貼文
ท้องแล้วออกกำลังกายได้ไหม?
ตั้งครรภ์ออกกำลังกายอย่างไรดี?
โดยทั่วไปจะแนะนำให้ออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของระบบหัวใจและหลอดเลือดรวมถึงความแข็งแรงของกล้ามเนื้อในทุกช่วงอายุ
ในช่วงตั้งครรภ์ก็เช่นเดียวกันหากไม่มีภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ แนะนำให้ออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความความแข็งแรงของระบบหัวใจและหลอดเลือด จิตใจแจ่มใสคลายเครียด แต่รูปแบบ ของการออกกำลังกายควรปรับให้เหมาะสมกับสรีระวิทยากายวิภาคที่เปลี่ยนไปในช่วงตั้งครรภ์และหลีกเลี่ยงการเกิดผลกระทบต่อทารกในครรภ์
++
ประโยชน์ของการออกกำลังกายในช่วงตั้งครรภ์
ในระยะยาวไม่แตกต่างจากคนทั่วไป
สำหรับแม่ที่แข็งแรงอยู่แล้วการออกกำลังกายช่วยคงสภาพความแข็งแรงของระบบปอด หัวใจและหลอดเลือด ความแข็งแรง ความทนทานและความยืดหยุ่น ของกล้ามเนื้อ
1. คงสภาพและเพิ่มการทรงตัว ความคล่องตัว พละกำลัง การตอบสนอง
2. คุมน้ำหนัก
3. ป้องกันอาการปวดหลัง ปวดอุ้งเชิงกราน
4. ป้องกันอาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
5. ลดความเสี่ยงการเป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ขณะตั้งครรภ์
6. ลดระยะเวลาของการเข้าสู่การคลอดในช่วงแรก
7. ลดความเสี่ยงของการต้องผ่าตัดคลอด
++
ความเสี่ยงมีอะไรบ้าง?
1. มีกระเทือนแม่ส่งผลต่อทารก
2. อุณหภูมิร่างกายสูง (hyperthermia) >39 องศาเซลเซียส ในช่วงสี่ถึงหกสัปดาห์แรกส่งผลให้มีโอกาสเกิดการผิดปกติของหลอดประสาท (neural tube) การวิ่งมาราธอนในสภาวะอากาศร้อน โยคะร้อน พีลาทีสร้อน ส่งผลให้อาจจะเกิดภาวะอุณหภูมิร่างกายสูงและไม่ปลอดภัยต่อทารกได้
3. เลือดถูกส่งไปเลี้ยงบริเวณมดลูกและรกน้อยลงในช่วงออกกำลังกาย
มีการศึกษาพบว่าในช่วงที่คุณแม่ออกกำลังกายนั้นอัตราการเต้นหัวใจของทารกจะสูงขึ้น 10 ถึง 30 ครั้งต่อนาทีขึ้นกับอายุครรภ์ ความหนักของการออกกำลังกาย
โดยการเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้นหัวใจของทารกเป็นการตอบสนองทางสรีระวิทยาโดยปกติเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงบริเวณ มดลูกลดลง
.
อย่างไรก็ตามการลดลงของเลือดที่ไปเลี้ยงมดลูกและรกนั้นต่อเนื่องเป็นเวลานานอาจส่งผลให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกได้
.
แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่าการออกกำลังกายของเราในขณะนี้ หนักเกินไปหรือไม่
มีการติดตามการทดลองศึกษาในนักกีฬาelite ที่ตั้งครรภ์ โดยให้ปั่นจักรยานในระดับ 60% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด พบว่าอัตราการเต้นหัวใจ ของทารกอยู่ในเกณฑ์ปกติ
การศึกษาติดตามนักกีฬาระดับโอลิมปิคจำนวนหกคนพบว่ามีภาวะการเต้นของหัวใจช้าลงในทารก เมื่อนักกีฬา อายุครรภ์ 23 ถึง 29 สัปดาห์ออกกำลังกายในระดับมากกว่า 90% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด พบว่าค่าเฉลี่ยของเลือดที่ไปเลี้ยงทารก ลดลง50% และยังไม่มีงานวิจัยใดที่พบประโยชน์ของการออกกำลังกายในระดับที่หนักในคุณแม่ตั้งครรภ์
ดังนั้นถ้าเป็นระดับนักกีฬามืออาชีพออกกำลังกายในช่วงตั้งครรภ์ควรอยู่ในความดูแลของแพทย์เท่านั้น
4. การผิดปกติของการเติบโตของทารก มีการศึกษาพบว่าการออกกำลังกายส่งผลต่อน้ำหนักของทารกแรกคลอดแต่ไม่พบว่าทำให้คลอดก่อนกำหนด
การศึกษาโดยให้การออกกำลังกายในระดับเบา จำนวน 5 ครั้งต่อสัปดาห์ครั้งละ 15 -70 นาที ในช่วงอายุครรภ์ 6-33 สัปดาห์และหยุดออกกำลังกายในช่วงท้าย ของไตรมาสสุดท้าย
พบว่า น้ำหนักของทารกลดลงเล็กน้อยแต่ไม่มีนัยยะสำคัญทางสถิติที่เมื่อเทียบกับไม่ออกกำลังกาย
การออกกำลังกายที่มีการกระแทกอาจทำให้แท้งได้มากขึ้น เช่น การแข่งเทนนิสอย่างหนักหน่วง การวิ่งระยะยาว (long distance running) การยกน้ำหนักที่มากกว่า 20 กิโล
ดังนั้นการวิ่งมาราธอน.. ไม่เหมาะกับหญิงตั้งครรภ์นะคะ
แล้วจะออกกำลังกายอะไรดี
** อะไรก็ตามที่ไม่เกิดความเสี่ยงทั้งแม่และทารกในครรภ์**
1 ดูชนิด .. อะไรควรอะไรไม่ควร
2. ความหนักของการออกกำลังกาย
3. ความถี่และระยะเวลา
โดยทั่วไปแนะนำ
วอร์มอัพยืดเหยียด 5-10 นาที
ออกกำลังกาย 30 นาทีต่อครั้ง
(150 นาทีต่อสัปดาห์)
คลูดาวน์ 5- 10 นาที
ชนิด : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบหัวใจและหลอดเลือดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อโดยการให้ออกกำลังกายแบบแอโรบิก เป็นการใช้กลุ่มกล้ามเนื้อมัดใหญ่เป็นจังหวะและต่อเนื่องเช่น เดิน เต้นแอโรบิค ว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน จ๊อกเบา
หลีกเลี่ยงการกระแทก กระโดดหรือภาวะเสี่ยงให้ล้ม
โยคะ ช่วยเพิ่มการยืดหยุ่นกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น ลดความเครียดสามารถออกกำลังกายได้โดยไม่มีผลกระทบต่อแม่และทารกในครรภ์
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายในท่านอนหงายหลังจากพ้นระยะไตรมาสแรก
การออกกำลังกายแบบไม่ลงน้ำหนัก ( non wt bearing)
เช่นการออกกำลังกายในน้ำ สามารถช่วยลดอาการบวมของขาและมือได้ แรงกระแทกต่อข้อต่อต่างๆลดลง ลดความร้อนที่เกิดขึ้นไปกับน้ำ ลดภาวะเสี่ยงการล้ม
การออกกำลังกายที่ยาวนานอาจนำไปสู่ภาวะขาดน้ำและอุณหภูมิร่างกายสูงเนื่องจากในระยะตั้งครรภ์อัตราการเผาผลาญพื้นฐาน และการสร้างความร้อนมีมากขึ้น แนะนำให้ดื่มน้ำมากขึ้นในภาวะการออกกำลังกายในอากาศที่ร้อนหรือความชื้นสูง
++
กีฬาที่ไม่แนะนำ
*ดำน้ำ SCUBA ทารกในครรภ์มีภาวะเสี่ยงต่อความดันของน้ำ (decompression sickness) ระบบปอดของทารกยังไม่สามารถจัดการกับฟองอากาศที่เกิดขึ้นในกระแสเลือดเมื่อมีความเปลี่ยนแปลงของความดัน
*หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายในระยะสามถึงสี่วันแรก หลังจากเปลี่ยนความกดอากาศโดยเฉพาะขึ้นที่สูงกว่า 2500 เมตรจากระดับน้ำทะเล
เฝ้าระวังอาการที่เกิดจากการเปลี่ยนความกดอากาศเช่นปวดศีรษะนอนไม่หลับอ่อนเพลียเบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียนหรือหายใจ เหนื่อย
++
ความถี่และระยะเวลาของการออกกำลังกาย
30 นาทีต่อวันห้าถึงเจ็ดวันต่อสัปดาห์สำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เคยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอแนะนำให้เริ่มทีละน้อย ประมาณ 10 นาที แล้วค่อยค่อยเพิ่มระยะเวลา
ความหนักของการออกกำลังกาย
การวางแผนโปรแกรมควรขึ้นกับแต่ละบุคคลหากคุ้นเคยกับการออกกำลังกายอยู่เดิมสามารถออกกำลังในรูปแบบที่เคยทำ
โดยค่อยค่อยเพิ่มทีละน้อย
สำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เคยออกกำลังกายเลยแนะนำให้ออกกำลังกายเบาเบาอย่างเช่นเดินเร็ว แล้วค่อยๆเพิ่มความหนักขึ้นทีละน้อย
ไม่มีขอบเขตของความปลอดภัยในการออกกำลังกาย แต่ ถ้าออกกำลังกายสม่ำเสมอก่อนตั้งครรภ์และการตั้งครรภ์นั้นไม่มีภาวะแทรกซ้อนคุณแม่ตั้งครรภ์สามารถออกกำลังกายแบบหนัก (high intensity) เช่นการวิ่ง เต้นแอโรบิกได้โดยไม่ส่งผลกระทบใดใด แต่ความลดความหนักลงเมื่ออายุครรภ์มากขึ้น และดีที่สุดคืออยู่ในความดูแลของแพทย์
ตัวชี้วัดโดยดูจากบ้าง?
ความเหนื่อย (perceived exertion)
แบ่ง ระดับเป็น 0 ถึง 20
โดยความเหนื่อยระดับปานกลางที่ 13 ถึง 14
หรือง่ายง่ายใช้ทอล์คเทส ยังสามารถพูดคุยเป็นประโยคได้ในขณะออกกำลังกายระดับปานกลาง
อัตราการเต้นหัวใจ (HR)
โดยส่วนใหญ่ หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นนักกีฬามาก่อนมักใช้ HR ในการบอกzone การออกกำลังกาย แต่มักไม่ค่อยใช้แพร่หลาย
หรืออัตราการใช้พลังงาน (METs)
6-7 METs ยังปลอดภัย
..ประมาณเดิน 3.5 mile/ชม ขึ้นเนิน
++
การดื่มน้ำและพลังงาน
เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำขณะออกกำลังกายที่ยาวนาน ดื่มน้ำทดแทน 500 cc กับทุกๆ0.5 กก น้ำหนักตัวที่หายไป
สิ่งที่ต้อง ระวังคือภาวะน้ำตาลต่ำขณะออกกำลังกาย เพราะอัตราการใช้พลังงานของหญิงตั้งครรภ์ในระยะไตรมาสที่สามมากกว่าผู้หญิงทั่วไป และมีแนวโน้มที่จะมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 70 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรหลังจาก 45 นาทีของการออกกำลังกายในระดับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
ภาวะคีโตนในปัสสาวะ
พบได้ในหญิงตั้งครรภ์ที่ออกกำลังกายอย่างหนักรุนแรงและเป็นเวลานาน
เมื่อไหร่ควรหยุดออกกำลังกาย?
เลือดออกทางช่องคลอด
มดลูกเกร็งตัวอย่างต่อเนื่อง
น้ำเดิน
เหนื่อยก่อนออกกำลังกาย
มึนหัวปวดศรีษะ
เจ็บหน้าอก
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ปวดน่องหรือขาบวม
เมื่อนักกีฬาตั้งครรภ์?
ลดความเร็ว ความหนักของการ ซ้อม เพราะมีความเสี่ยงที่จะเกิดการบาดเจ็บของข้อต่อต่างๆเนื่องจากฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงในช่วงระยะเวลาตั้งครรภ์ทำให้ข้อต่อมีความยืดหยุ่นมากขึ้นและความเสี่ยงของovertraining syndrome
ภาวะขาดน้ำอาจกระตุ้นให้มดลูกแข็งตัวก่อนเวลาได้ จึงควรดื่มน้ำและระวังการออกกำลังกายในอากาศที่ร้อนและมีความชื้นสูง
นักกีฬาที่ออกกำลังกายอย่างหนักและเป็นเวลานานมีแนวโน้มที่จะทำให้ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่าคนไม่ออกกำลังกาย
แต่ไม่ได้ส่งผลต่ออายุครรภ์
ยาวไปแล้ว..
สรุป..ท้องออกกำลังกายได้แต่ให้ทำแต่พอดีเฉพาะบุคคล
+++
ไว้ติดตาม
การออกกำลังกายใน หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อ
การออกกำลังกายหลังคลอดและในระยะให้นมบุตร
หมอเมย์
8.40pm
เรื่องราวของ Alysia Montano
นักกีฬาวิ่งระยะ 800 เมตรแชมป์ห้าสมัยกับอายุครรภ์ 34 สัปดาห์
https://spikes.iaaf.org/post/alysia-montano-reveals-why-she-trained-and-co
Ref.. Uptodate in exercise during pregnancy
อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 PRAEW Youtube 的最佳解答
คลิปใหม่ คลิก http://bit.ly/PRAEW
สำหรับใครที่อยากติดตามขั้นตอนก่อนหน้านี้คลิ๊กลิ้งได้เลยค่ะ
ทำความรู้จักการทำเด็กหลอดแก้ว
https://youtu.be/9nxCZBtrppg
EP.0
https://youtu.be/Hvk5E0QgzPQ
EP.1
https://youtu.be/u07nLGcy_nk
EP.2
https://youtu.be/Evl_plazHGM
EP.3
https://youtu.be/S-gqGJAKf4w
EP.4
https://youtu.be/VxvL1mEKXzA
EP.5
https://youtu.be/mt6HIOh8svg
EP.6
https://youtu.be/JRrkUeZXmQQ
EP.7
https://youtu.be/c-qS5CQkCq0
EP.8
https://youtu.be/YeLVMVABnIo
EP.9
https://youtu.be/UQXqaL5NBds
EP.10
https://youtu.be/5gRUwjyuwGE
EP.11
https://youtu.be/N_P5SPus2i4
EP.12
https://youtu.be/g3c5C7Ex7KQ
EP.13
https://youtu.be/g3c5C7Ex7KQ
EP.14
https://youtu.be/9L7n5Gbs8I4
EP.15
https://youtu.be/W8TJDL-qZmo
Ep.16
https://youtu.be/PUr9lop5qSk
Ep.17
https://youtu.be/jNZ7kktgmt0
Ep.18
https://youtu.be/x0-sjVAyAKU
Ep.19
https://youtu.be/VA_ZBLU0cD8
Ep.20
https://youtu.be/_GdmW5b1bYI
Ep.21
https://youtu.be/5NahD4uvM20
#ท้อง34Weeks #การดิ้นของทารก8เดือน #ท้อง2เตรียมตัวคลอด
อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 BabyandMom.co.th - #สัปดาห์ที่ 4 การตั้งครรภ์ได้เริ่ม ... - Facebook 的推薦與評價
▶️ไปดูกันค่ะว่าช่วงเดือนที่ 1 ของการตั้งครรภ์ พัฒนาการครรภ์เป็นอย่างไรบ้าง ใน 4 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ คุณแม่จะพบว่าร่างกายของ ... ... <看更多>
อายุครรภ์ 1 สัปดาห์ 在 อาการตั้งครรภ์ 1 สัปดาห์เป็นอย่างไร? | หรือไม่ใช่การตั้งครรภ์ - YouTube 的推薦與評價
ตั้งครรภ์ #อายุครรภ์1สัปดาห์. ... <看更多>