เรื่อง "ผงชูรสฆ่าคน" กลับมาแชร์กันใหม่อีกแล้วครับ ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องจริงเลยนะครับ เนื้อหาที่เขาเขียนมาก็ผิดทั้งนั้นเลย โดยเฉพาะเรื่องกระบวนการผลิต คนเขียนที่ลงในหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจนั้น ก็ไม่ได้เป็นผู้เชึ่ยวชาญอะไรทางวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์เลย แต่กลับหลงเชื่อกัน ... เอาเป็นว่า องค์กรทางอาหารทั่วโลกถือว่า ผงชูรสเป็นเพียงแค่เครื่องปรุงอาหารเท่านั้นครับ ไม่ใช่สารอันตรายอะไร
------
(เอาเนื้อหาเก่าที่เคยเขียนอธิบายไว้ มาให้ดูกันอีกครั้ง )
ยืนยันอีกครั้งว่า "ผงชูรสเป็นแค่เครื่องปรุงรสอาหาร ไม่ได้อันตรายถ้าบริโภคตามเหมาะสม" ครับ
เรื่อง "กินผงชูรสแล้วอันตราย" เนี่ย เป็นความเชื่อผิดๆ ที่ฝังลึกในใจคนไทยและคนทั่วโลกมานานมากๆๆ ทั้งๆ ที่มันเป็นเพียงแค่เกลือของกรดอะมิโน จัดเป็นเครื่องปรุงรสอาหารชนิดหนึ่ง และก็ไม่ได้จะมีอันตรายอะไรมากไปกว่าการกินเกลือแกงในปริมาณเท่าๆ กัน ผมเคยโพสต์อธิบายเรื่องนี้หลายครั้งแล้วนะ
อย่างเรื่องที่แชร์กันอีกแล้วนี่ ว่า "ผงชูรสฆ่าคน" อ้างว่า "วัตถุดิบในการทำผงชูรสนั้น ไม่ได้มาจากแป้งมันสำปะหลัง แต่ทำมาจากกระดูกวัวควาย โซดาไฟ และปุ๋ยยูเรีย" ก็นับมาเชื่อมโยงเรื่องได้มั่วมากทีเดียว (มีการใช้จริง แต่ไม่ได้เป็นอันตราย) เลยขอเอามาอธิบายสรุปวิธีการผลิตผงชูรสให้ฟังนะ
- ผงชูรส หรือ โมโนโซเดียมกลูตาเมต นั้น ถูกค้นพบครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2451 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น ได้สกัดผลึกสีน้ำตาลของกรดอะมิโน คือ "กรดกลูตามิก" จากสาหร่ายทะเลคอมบุ และจดสิทธิบัตรการผลิตผงชูรสเอาไว้
- ผงชูรสเริ่มผลิตขายเชิงพานิชย์ ใน พ.ศ. 2452 ภายใต้ชื่อการค้าว่า อายิโนะโมะโต๊ะ ด้วยการย่อยแป้งสาลีด้วยกรด เพื่อให้ได้กรดอะมิโน แล้วจึงแยกกลูตาเมตออก
- ในปัจจุบัน การผลิตผงชูรสใช้วิธีการหมักด้วยจุลินทรีย์ Corynebacterium ซึ่งในประเทศไทย ใช้แป้งมันสำปะหลังและกากน้ำตาลเป็นวัตถุดิบหลัก
- กระบวนการผลิตเริ่มจากการย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลกลูโคส ด้วยการใช้เอนไซม์อะมัยเลส และอะมัยโลกลูโคลซิเดส ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส
- จากนั้น หมักเปลี่ยนสารละลายน้ำตาลกลูโคสให้เป็นกรดกลูตามิก ด้วยเชื้อจุลินทรีย์ Corynebacterium glutamicum หรือ เชื้อ Brevibacterium lactofermentum โดยมีการปรับค่า pH ให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และเติมยูเรียหรือแอมโมเนีย เพื่อเป็นแหล่งอาหารไนโตรเจนของเชื้อจุลินทรีย์
- เมื่อหมักเสร็จแล้ว จะได้สารละลายกรดกลูตามิก ซึ่งต้องปรับ pH ด้วยกรดไฮโดรคลอริก เพื่อให้กรดกลูตามิกตกผลึก แล้วปรับให้เป็นกลาง ด้วยการเติมโซเดียมไฮดรอกไซด์ (โซดาไฟ) เพื่อให้กรดกลูตามิกกลายเป็นโมโนโซเดียมกลูตาเมต (หรือผงชูรส)
- ขั้นตอนสุดท้าย คือ การกำจัดสีและสิ่งเจือปน โดยการผ่านสารละลายไปในถังถ่านกัมมันต์ และตกผลึก ได้ผลึกผงชูรสบริสุทธิ์ เป่าผลึกให้แห้งด้วยลมร้อน คัดแยกขนาด แล้วแบ่งบรรจุถุง
ข้อมูลจาก https://th.wikipedia.org/…/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B…
「โมโนโซเดียมกลูตาเมต」的推薦目錄:
- 關於โมโนโซเดียมกลูตาเมต 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
- 關於โมโนโซเดียมกลูตาเมต 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
- 關於โมโนโซเดียมกลูตาเมต 在 โมโนโซเดียมกลูตาเมตหรือผงชูรสนั้น - Umami Lovers - Facebook 的評價
- 關於โมโนโซเดียมกลูตาเมต 在 ผงชูรส-ผงฟู สิ่งใดชื่อว่า โมโนโซเดียมกลูตาเมต ? | เกมกระชากล้าน ซี ... 的評價
โมโนโซเดียมกลูตาเมต 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
ยืนยันอีกครั้งว่า "ผงชูรสเป็นแค่เครื่องปรุงรสอาหาร ไม่ได้อันตรายถ้าบริโภคตามเหมาะสม" ครับ
เรื่อง "กินผงชูรสแล้วอันตราย" เนี่ย เป็นความเชื่อผิดๆ ที่ฝังลึกในใจคนไทยและคนทั่วโลกมานานมากๆๆ ทั้งๆ ที่มันเป็นเพียงแค่เกลือของกรดอะมิโน จัดเป็นเครื่องปรุงรสอาหารชนิดหนึ่ง และก็ไม่ได้จะมีอันตรายอะไรมากไปกว่าการกินเกลือแกงในปริมาณเท่าๆ กัน ผมเคยโพสต์อธิบายเรื่องนี้หลายครั้งแล้วนะ
อย่างเรื่องที่แชร์กันอีกแล้วนี่ ว่า "ผงชูรสฆ่าคน" อ้างว่า "วัตถุดิบในการทำผงชูรสนั้น ไม่ได้มาจากแป้งมันสำปะหลัง แต่ทำมาจากกระดูกวัวควาย โซดาไฟ และปุ๋ยยูเรีย" ก็นับมาเชื่อมโยงเรื่องได้มั่วมากทีเดียว (มีการใช้จริง แต่ไม่ได้เป็นอันตราย) เลยขอเอามาอธิบายสรุปวิธีการผลิตผงชูรสให้ฟังนะ
- ผงชูรส หรือ โมโนโซเดียมกลูตาเมต นั้น ถูกค้นพบครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2451 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น ได้สกัดผลึกสีน้ำตาลของกรดอะมิโน คือ "กรดกลูตามิก" จากสาหร่ายทะเลคอมบุ และจดสิทธิบัตรการผลิตผงชูรสเอาไว้
- ผงชูรสเริ่มผลิตขายเชิงพานิชย์ ใน พ.ศ. 2452 ภายใต้ชื่อการค้าว่า อายิโนะโมะโต๊ะ ด้วยการย่อยแป้งสาลีด้วยกรด เพื่อให้ได้กรดอะมิโน แล้วจึงแยกกลูตาเมตออก
- ในปัจจุบัน การผลิตผงชูรสใช้วิธีการหมักด้วยจุลินทรีย์ Corynebacterium ซึ่งในประเทศไทย ใช้แป้งมันสำปะหลังและกากน้ำตาลเป็นวัตถุดิบหลัก
- กระบวนการผลิตเริ่มจากการย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลกลูโคส ด้วยการใช้เอนไซม์อะมัยเลส และอะมัยโลกลูโคลซิเดส ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส
- จากนั้น หมักเปลี่ยนสารละลายน้ำตาลกลูโคสให้เป็นกรดกลูตามิก ด้วยเชื้อจุลินทรีย์ Corynebacterium glutamicum หรือ เชื้อ Brevibacterium lactofermentum โดยมีการปรับค่า pH ให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และเติมยูเรียหรือแอมโมเนีย เพื่อเป็นแหล่งอาหารไนโตรเจนของเชื้อจุลินทรีย์
- เมื่อหมักเสร็จแล้ว จะได้สารละลายกรดกลูตามิก ซึ่งต้องปรับ pH ด้วยกรดไฮโดรคลอริก เพื่อให้กรดกลูตามิกตกผลึก แล้วปรับให้เป็นกลาง ด้วยการเติมโซเดียมไฮดรอกไซด์ (โซดาไฟ) เพื่อให้กรดกลูตามิกกลายเป็นโมโนโซเดียมกลูตาเมต (หรือผงชูรส)
- ขั้นตอนสุดท้าย คือ การกำจัดสีและสิ่งเจือปน โดยการผ่านสารละลายไปในถังถ่านกัมมันต์ และตกผลึก ได้ผลึกผงชูรสบริสุทธิ์ เป่าผลึกให้แห้งด้วยลมร้อน คัดแยกขนาด แล้วแบ่งบรรจุถุง
ข้อมูลจาก https://th.wikipedia.org/…/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B…
โมโนโซเดียมกลูตาเมต 在 ผงชูรส-ผงฟู สิ่งใดชื่อว่า โมโนโซเดียมกลูตาเมต ? | เกมกระชากล้าน ซี ... 的推薦與評價
รายการ “เกมกระชากล้าน ซีซั่น 2” และพิธีกรคู่หูคู่ใหม่ของวงการ นำโดยสายฮาตัวพ่อ "วิลลี่ แมคอินทอช" และสาวสวยสายฮา "แพท ณปภา" คำถาม 10 ... ... <看更多>
โมโนโซเดียมกลูตาเมต 在 โมโนโซเดียมกลูตาเมตหรือผงชูรสนั้น - Umami Lovers - Facebook 的推薦與評價
โมโนโซเดียมกลูตาเมต หรือผงชูรสนั้น ดีต่อการควบคุมปริมาณโซเดียมในมื้ออาหาร เพราะมีส่วนประกอบของโซเดียมเท่ากับ 12% และ กลูตาเมตถึง 78% ... <看更多>