【氣炸熱氣🔥狂爆瘡】
有朋友在睇波期間天天用空氣炸鍋,炸薯條、炸雞翼、焗果仁、炸燒賣……一星期後他得了喉嚨痛,我說:「原因是你連續七天都在BBQ啊!🔥🔥🔥」
-----------------
我常常強調,想吃得健康,要有好的材料、醬料,也要懂得配合適當的烹調方法。我喜歡以清蒸或白灼方式煮食😋👍🏻,因為水的沸點最高約100゚C,較能保留食物的營養,吃下去也原汁原味。2007年美國農業部做了實驗證明,蒸煮蔬菜所流失葉酸及維他命C的比率為15%;白灼方法則流失葉酸35%、維他命C 25%。英國營養學基金會營養學家丹尼也指,蒸是最好的煮食方式。
油炸只會增加油脂攝取量,維他命C破壞得更多,眾所周知維他命C 是抗氧化重要的成分。我一直最反對高溫油炸、燒烤等烹調方法,甚至現時很多人貪方便愛用的空氣炸鍋,就算廣告說是不用油,合乎健康,我都不建議使用。有朋友在睇波期間天天用空氣炸鍋,炸薯條、炸雞翼、焗果仁、炸燒賣……一星期後他得了喉嚨痛,我說:「原因是你連續七天都在BBQ啊!不喉嚨痛,才怪。😱🥵」
空氣炸鍋的原理是將鍋內空氣加熱,在密閉空間內形成循環熱流,於短時間內逼出食物的油脂,使食物變熟同時失去水分,變得像煎炸一樣酥脆。雖然用油量比傳統油炸大減八成,但中醫認為,任何經火烤的食物即「辛辣炙膊」之品,均會對身體產生內熱,亦即「熱氣」,常用空氣炸鍋煮食等於「日日在家BBQ」😅。
常用空氣炸鍋更有致癌風險。韓國消費者協會檢測市面10款氣炸鍋,測試過程中把冷凍薯條置於攝氏200度高溫,再按照產品說明書烹飪,結果發現,10款空氣炸鍋中4款炸出來的薯條,致癌物質「丙烯酰胺(Acrylamide, AA)」含量超出歐盟安全標準,最嚴重的超標兩倍多。其實多年前美國CNN新聞網、英國BBC及各大國際媒體都報道過2002年瑞典一份研究報告,顯示碳水化合物如麵粉澱粉馬鈴薯等,在高溫加熱過程中會釋出毒素丙烯醯胺,會引起神經毒性、生殖毒素,造成感覺喪失、發炎、早衰老、動脈硬化、膽固醇升高、腎功能衰退及癌症等。😱😱很多人以前久久吃一次炸物或燒烤,但自從買了空氣炸鍋,就可能一星期炸或烤幾次薯條、薯角、西多士、番薯,其實絕對不宜多吃。
澱粉質不宜高溫烹調,用來炸或烤肉類同樣會產生致癌物。動物肌肉含有肌肝酸,在快速加熱下便會釋出致癌物雜環胺(HA),空氣炸鍋的溫度可高達250゚C,高溫烹調最容易產生HA。肉類當中,以燒雞釋出的HA最高,是燒牛肉的10倍。
最後,亦是很重要的一點,高溫烹煮會破壞食物的酵素,令酵素變得沒活性。酵素對身體各機能都有功用,有助吸收、新陳代謝、排出體內毒素,最重要是令我們消化好,減輕腸胃負擔。所以,不想自煮「毒物」放入口,記得蒸、煮食物最安全,烹調溫度不超過100゚C就不會有毒素問題。假若你已買了空氣炸鍋,不用丟掉的,但別以為真的少油煙就無止境使用,改用它的低溫mode吧!😅
📽️更多健康資訊🎞️:
我的天然療法路:https://youtu.be/Nu1f9-nACDA
勿讓小朋友濫吃西藥:https://youtu.be/dMSn5CqnNto
#氣炸 #熱氣 #上火 #清熱 #癌症 #酵素 #健康 #唐安麒
------------------------------
大家記得like我的各個channel啦😁
Mewe:https://bit.ly/39KEGs6
IG 名:DR.ANGELTONG
YouTube:https://bit.ly/3ic4LDT
Blog:http://blog.angeltong.com.hk
KK Box:bit.ly/3r6x6Q3
Sound Cloud:bit.ly/3q8iI8x
SoundOn:bit.ly/2MFFiIg
Spotify:spoti.fi/3q57KB1
Listen Notes:bit.ly/3q61tom
------------------------------
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
acrylamide 在 營養師媽媽的生活筆記 Facebook 的精選貼文
本來洋芋片就是屬於丙烯醯胺含量很高的食物~
雖然我覺得可能會吃洋芋片的人應該不會太在乎增加,
但是還是幫大家科普一下~什麼是丙烯醯胺呢?
丙烯醯胺(acrylamide)的生成主要是透過「梅納反應」產生,
簡單地說就是糖類與胺基酸的化學反應。
當食物在溫度大於120度C以上的溫度環境下烹調,
如油炸、燒烤等過程時,
食物中的胺基酸與糖等就可能反應、形成丙烯醯胺,
因此通常發生在高溫加工的醣類食物上。
常見的高丙烯醯胺食物
1。黑糖 5615 ppb
2。洋芋片 2000~3000 ppb (此為國內外最高數值,台灣法規建議在1000 ppb以下)
3。薯條、薯餅 2000 ppb
4。油炸杏仁果 1000~2000ppb
5。油條 1225 ppb
6。麵茶 500~1000 ppb
7。穀粉 1000 ppb
建議大家在吃這些食物時,
還是少量攝取就好~~~
acrylamide 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
"อย่าเพิ่งตกใจ กับข่าว "หม้อทอดไร้น้ำมัน กับสารก่อมะเร็ง" ครับ ... ปัญหาหลักมันอยู่ที่ "มันฝรั่ง" และการให้ความร้อน ไม่ใช่ที่ตัวหม้อทอดครับ"
หลายคนเห็นคลิปข่าวตามภาพด้านล่าง (กำลังแชร์กันใหญ่เลย) ที่พูดถึงผลการสำรวจโดยองค์กรคุ้มครองผู้บริโภค ของฮ่องกง แล้วเข้าใจผิดว่า "หม้อทอดไร้น้ำมัน (air fryer)" เป็นสาเหตุทำให้เกิด "สารอะคริลาไมด์ (acrylamide)" ที่ก่อมะเร็ง
แต่จริงๆ ปัญหาอยู่ที่ "มันฝรั่ง" ซึ่งเมื่อนำมาให้ความร้อนสูงๆ เวลานานๆ ไม่ว่าจะไปทอดน้ำมัน หรือใช้หม้อทอดประเภทนี้ ก็เกิดสารอะคริลาไมด์ได้ง่ายทั้งนั้น (แต่ทีเฟรนช์ฟราย กินกัน ไม่เห็นกลัวเลย หึๆๆ) ซึ่งถ้าลดความร้อนลง และใข้เวลาทอดน้อยลง ก็จะมีสารนี้น้อยลง ตามไปด้วยนะครับ
1. จริงๆ ผมเคยเขียนเรื่องหม้อทอดไร้น้ำมัน ให้ความรู้เอาไว้ค่อนข้างละเอียดแล้วนะ ทั้งเรื่องข้อดีและข้อเสียของมัน รวมทั้งเรื่องสารอะคริลาไมด์นี้ด้วย ลองดูตามลิงค์รายการ ชัวร์แน่หรือแชร์มั่ว ตอนนี้ครับ (https://m.facebook.com/watch/?v=1416024501914514&_rdr)
2. ทางสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ก็เคยอธิบายเรื่องทำนองนี้เหมือนกัน (https://workpointtoday.com/anti-face-air-fryer/) ว่าการใช้หม้อทอดไร้น้ำมัน ไม่ได้เป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง แต่เป็นเพราะอาหารจำพวกแป้งและเนื้อสัตว์นั้น ไม่ว่าจะใช้อุปกรณ์ชนิดใดปรุงอาหาร หากใช้ความร้อนสูง เป็นเวลานาน ก็อาจส่งผลให้เกิดสารก่อมะเร็งได้
ประชาชนจึงไม่ควรตระหนกจนเกินเหตุ และควรปรุงอาหารด้วยความร้อนระดับปานกลางและใช้ระยะเวลาสั้นๆ ไม่ควรปิ้งย่างเนื้อสัตว์จนไหม้เกรียม และการลวกมันฝรั่งก่อนการทอด จะช่วยลดการเกิดสารอะคริลาไมด์ได้
3. สำหรับประเด็นเรื่องการเกิดสารอะคริลาไมด์ในหม้อทอดไร้น้ำมันนั้น ทางหน่วยงานการสาธารณสุขของฮ่องกงได้เคยแถลงถึงเรื่องนี้ไว้ตั้งแต่ปีที่แล้ว แล้วว่า
3.1 จากรายงานของกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศเกาหลี ที่ระบุว่า มันฝรั่งทอดเฟรนช์ฟรายซึ่งทำจากหม้อทอดไร้น้ำมันที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส นั้นทำให้เกิดสารอะคริลาไมด์ในระดับที่มีนัยสำคัญ .. ซึ่งทำให้หลายคนเป็นกังวล
3.2 สารอะคริลาไมด์นั้นเกิดขึ้นได้เอง เมื่ออาหารที่มีกรดอะมิโนชนิดแอสปาราจีน (asparagine) และน้ำตาลรีดิวซ์ส (reducing sugar) เช่น น้ำตาลกลูโคสและฟรุกโตส ถูกนำไปให้อุณหภูมิสูงมากกว่า 120 องศาเซลเซียส ... ยิ่งอุณหภูมิสูง แล้วยิ่งใช้เวลานาน ปริมาณของอะคริลาไมด์ก็ยิ่งสูงขึ้น ไม่ว่าจะใช้วิธีการใดก็ตาม
3.3 ดังนั้น ในอาหารที่อบหรือทอดหลายชนิด เช่น มันฝรั่งเฟรนช์ฟรายส์ มันฝรั่งแผ่นทอดกรอบ และพวกบิสกิต ก็มีสารอะคริลาไมด์อยู่ในปริมาณค่อนข้างสูงอยู่แล้ว
3.4 การที่จะลดสารอะคริลาไมด์ลงนั้น ก็ทำได้โดยไม่ทอด (ไม่ว่าจะด้วยการทอดในน้ำมัน หรือจะใช้หม้อทอดไร้น้ำมันก็ตาม) หรืออบ หรือปิ้งย่างอาหาร ด้วยอุณหภูมิที่สูงเกินไปและใช้เวลานานเกินไป .. อาหารที่ออกมา ควรจะมีแค่สีเหลืองทองจางๆ ก็พอแล้ว
4. ส่วนข่าวที่เพิ่งออกมาใหม่นั้น มาจากหน่วยงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคที่ชื่อว่า The Consumer Council ในฮ่องกง ซึ่งได้ทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยด้านไฟฟ้า ของหม้อทอดไร้น้ำมันที่จำหน่ายในฮ่องกง
4.1 ทาง Council รายงานผลว่า จาก 12 รุ่นที่นำมาทดสอบ (มีทั้งรุ่นถูกและรุ่นแพง ราคาตั้งแต่ $298 ถึง $2,080,) ตามมาตรฐานความปลอดภัยนานาชาติ international safety standard IEC 60335-1 และ 60335-2-9 รวมๆ แล้ว ทุกรุ่นก็ได้คะแนนรวมด้านความปลอดภัยพอๆ กัน คืออยู่ระหว่าง 3.5 ถึง 4.5 แต้ม
แต่ก็พบด้วยว่า มี 6 รุ่นนั้น ที่มีจุดที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้ใช้งาน ตั้งแต่บางส่วนของเครื่องมีอุณหภูมิสูงเกินไป มีระยะห่างของฉนวนกันความร้อนไม่เพียงพอ ต่อสายดินได้ไม่เหมาะสม รอยตำหนิต่างๆ คู่มือที่ไม่ดี ฯลฯ
4.2 ในเชิงการประกอบอาหารนั้น มีการทดลองทำอาหาร 3 อย่าง คือ มันฝรั่งเฟรนช์ฟราย (ชนิดแช่แข็ง) น่องไก่ทอด และปอเปี๊ยะทอด โดยทำตามคำแนะนำที่อยู่บนคู่มือของหม้อทอดแต่ละรุ่น ซึ่งประสิทธิภาพโดยรวมของทุกรุ่นนั้นคล้ายๆ กัน โดยมี 9 รุ่นจาก 12 รุ่นที่ได้คะแนน 3.5 แต้มขึ้นไป
4.3 แต่ผลการทอดเฟรนช์ฟรายนั้น เป็นการทดลองที่มีผลแตกต่างกันระหว่างยี่ห้อต่างๆมากที่สุด คือมีหม้อทอด 3 รุ่นที่ได้คะแนนดีมาก อยู่ระหว่าง 4.5 ถึง 5 แต้ม ขณะที่อีก 2 รุ่นได้คะแนนเพียงแค่ 2 แต้มเท่านั้นเนื่องจากทำออกมาแล้วไม่สุก และอีก 2 รุ่น ทอดออกมาได้สุกบ้างไม่สุกบ้าง ไม่ทั่วกันทั้งอัน
4.4 ส่วนการทดสอบเรื่องสารอะคริลาไมด์ที่เกิดขึ้นได้เมื่อทอดที่อุณหภูมิสูง ก็พบว่าให้ผลออกมาหลากหลาย คือพบสารตั้งแต่ระดับ 102 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ไปจนถึง 7,038 ไมโครกรัม/กิโลกรัม โดยมีหม้ออยู่ 6 รุ่นที่มีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานของสหภาพยุโรปหรืออียู (500 ไมโครกรัม/กิโลกรัม).
แต่ถ้าเอาหม้อรุ่นที่ทำให้เกิดสารอะคริลาไมด์สูงสุด มาทดสอบใหม่โดยการลดช่วงเวลาในการทอดหรือลดอุณหภูมิลง พบว่าปริมาณอะคริลาไมด์ลดลงมาอยู่ในช่วงที่อียูกำหนดไว้ แสดงว่า ไม่ควรใช้ทอดอาหารที่อุณหภูมิสูง
4.5 ทาง Councilได้แนะนำโดยภาพรวมไว้ว่า เวลาเลือกซื้อเลือกใช้หม้อทอดไร้นำมันนั้น ควรทำดังต่อไปนี้
- หม้อทอดไร้น้ำมัน มักจะใช้ไฟฟ้าเป็นปริมาณมาก จึงไม่ควรใช้ปลั๊กไฟร่วมกับอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่นๆ เพื่อความปลอดภัยจากไฟฟ้าช็อต
- ปริมาณอาหารที่จะใช้ทอดนั้น ต้องไม่มากเกินไปกว่าค่าที่ระบุไว้ที่เครื่อง และต้องไม่จัดวางอาหารให้แน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้อาหารไม่สุกได้
- อย่าปิดช่องระบายอากาศออก ระหว่างที่ใช้เครื่อง เพื่อหลีกเลี่ยงการกีดขวางการระบายความร้อน นอกจากนี้ ยังไม่ควรจะไปแตะต้องเครื่องระหว่างที่ทำงาน และไม่ให้เด็กจับต้องหรือใช้เครื่องพวกนี้โดยลำพัง
- ถอดปลั๊กหม้อทอดออกหลังจากใช้เสร็จแล้ว และรอให้เครื่องเย็นเสียก่อน ก่อนจะทำความสะอาด และนอกจากการล้างตะกร้าที่ใช้ทอดอาหาร ให้ใช้ผ้านุ่มเช็ดที่ส่วนให้ความร้อนและผิวสัมผัสด้านในเบาๆเ พื่อกำจัดคราบน้ำมันที่เหลืออยู่
-------
สรุปสั้นๆ อีกครั้งคือ หม้อทอดไร้น้ำมัน (จริงๆ มันใส่น้ำมันไปหน่อยนึง) นั้นมีส่วนดีในการช่วยลดปริมาณการบริโภคไขมัน จากการผัดทอดอาหารตามปรกติได้ และก็ให้สารพิษออกมาน้อยกว่าด้วย ... แต่อย่าตั้งเครื่องให้ใช้อุณหภูมิสูงหรือนานเกินไปในการทอด โดยเฉพาะพวกมันฝรั่ง ซึ่งอาจยังคงให้สารอะคริลาไมด์ออกมา (เหมือนกับการทอดด้วยน้ำมันโดยตรง)
ภาพประกอบจาก https://m.facebook.com/watch/?v=707087996646084&_rdr
ข้อมูลจาก https://www.cfs.gov.hk/english/multimedia/multimedia_pub/multimedia_pub_fsf_164_03.html และ https://www.consumer.org.hk/ws_en/news/press/532/air-fryers.html
acrylamide 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文
acrylamide 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
acrylamide 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
acrylamide 在 認識丙烯醯胺(Acrylamide) - 國家環境毒物研究中心 的相關結果
認識丙烯醯胺. (Acrylamide). Page 2. 甚麼是丙烯醯胺? 丙烯醯胺是一種化學物質,食物中的還原醣與游離胺基酸-天門冬醯胺(Asparginine). 經高溫烹調,例如: 油炸、烘 ... ... <看更多>
acrylamide 在 歐盟實施降低「丙烯醯胺」acrylamide)新規,薯條麵包太焦深 ... 的相關結果
歐盟自11日起實施新規定,食品業者需控制、減少食品中的丙烯醯胺(acrylamide)含量,包括薯條不能炸太焦、麵包也不能烤得太深色。 ... <看更多>
acrylamide 在 丙烯酰胺- 维基百科,自由的百科全书 的相關結果
Report about acrylamide in food and cancer risks. konsumentverket. 2002-04-23. (原始内容存档于2002-08-03). www.foodrisk.org/acrylamide (页面存档备份,存于 ... ... <看更多>