與🇩🇰哥本哈根實驗電子音樂廠牌 posh isolation 主理製作人Vanity Productions 合作一首Ambient 數位單曲"Whirlpool" 可以在Spotify, Bandcamp 等等上收聽。
寫了一首中文詩詞與我的歌唱:
是深, 是淺 — Deep, shallow
我會化為那道漩渦 — I become a whirlpool
是高 是低 — High, low
我會化為那座峽谷 — I am a deep gorge
讓時間 — Let time
融化你的記憶 — Melt your memories
讓宇宙的混沌 — Let chaos of cosmos
讓末日消融的身軀 — Melt your body in apocalypse
而宇宙的最後 — The end of universe
則是無限的慈悲 — Is boundless kindness
融化你的記憶 — Melting your memories
-
"Whirlpool"
ft. Meuko Meuko & Yunus Rosenzweig
https://lnk.to/pi263_VP_Whirlpool
Whirlpool is a new sonic tale of love and loss by Vanity Productions. This time Christian Stadsgaard strikes with a special collaboration with Meuko Meuko and Yunus Rozenzweig blending music and poetry. A fragile feeling grows like a seed into a whirlpool of emotions that elevates you and fuses separate worlds into a body full of beauty and quiet contemplation. Until the dream abruptly ends with the whisper of outlandish winds.
Posh Isolation 263
同時也有16部Youtube影片,追蹤數超過1萬的網紅translation,也在其Youtube影片中提到,#'94年10月にソニックチーム、STIが開発、セガが発売したソニックシリーズの4作目であり「3」の分割された続編。主となるシステムはソニック・ザ・ヘッジホッグ3の項に準ずる。 対戦モードでのみ操作可だったナックルズが正式に採用、ボーナスステージは「3」と合わせると3つ全て出現、「2」を差せばナック...
「chaos sonic」的推薦目錄:
- 關於chaos sonic 在 Facebook 的最佳貼文
- 關於chaos sonic 在 GamingDose Facebook 的精選貼文
- 關於chaos sonic 在 低分少年 Low Score Boy Facebook 的最讚貼文
- 關於chaos sonic 在 translation Youtube 的最佳貼文
- 關於chaos sonic 在 translation Youtube 的最佳解答
- 關於chaos sonic 在 translation Youtube 的最讚貼文
- 關於chaos sonic 在 When people pluralize "chao" as "chaos" - Sonic The Hedgehog 的評價
- 關於chaos sonic 在 29 Chaos sonic ideas | sonic, sonic the hedgehog, sonic art 的評價
chaos sonic 在 GamingDose Facebook 的精選貼文
พลานุภาพของเกม กับพิธีเปิดโตเกียวโอลิมปิก 2021
.
หลังจากที่เตรียมการมานานหลายปี ผ่านการตัดสินใจอย่างยากลำบากที่จะเลื่อนออกไปหนึ่งปีเนื่องด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) ในที่สุดมหกรรมการแข่งขันกีฬานานาชาติ โตเกียวโอลิมปิก 2021 ก็เปิดฉากอย่างยิ่งใหญ่ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2564
.
พิธีเปิดครั้งนี้มีไฮไลท์ที่น่าจดจำมากมาย แม้ว่าบนอัฒจันทร์จะว่างเปล่าปราศจากคนดู เนื่องด้วยมาตรการเคร่งครัดช่วงโควิด-19 แต่ในบรรดาไฮไลท์ทั้งหมดนั้น ไม่น่ามีอะไรที่ทำให้คอเกมตื่นเต้น ตื้นตัน และประทับใจเท่ากับการบรรเลงเมดเลย์ดนตรีประกอบจากเกมยอดนิยมของญี่ปุ่น เป็นเซาน์ด์แทร็กประกอบการเดินพาเหรดเข้ามาในสนามของทัพนักกีฬาจากประเทศต่างๆ ที่เข้าร่วมชิงชัยในโตเกียวโอลิมปิก
.
ย้อนกลับไปที่พิธีปิดโอลิมปิกเกมส์ครั้งก่อน ห้าปีที่แล้วในกรุง ริโอ เดอ จาไนโร เมืองหลวงบราซิล ชินโสะ อาเบะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ทำเซอร์ไพรส์คนดูทั้งสนามด้วยการแต่งตัวเป็น ซุปเปอร์มาริโอ พระเอกจากซีรีส์เกมยอดฮิตของค่ายนินเทนโด รับไม้ต่อเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกครั้งต่อไป
.
จากจุดนั้นคงไม่มีใครสงสัยว่า “เกม” จะเป็นส่วนสำคัญของพิธีเปิดโอลิมปิกที่ญี่ปุ่นเป็นเจ้าภาพ แต่ไม่มีใครคาดคิดว่า เจ้าภาพจะ “จัดเต็ม” ขนาดนี้
.
พิธีเปิดโอลิมปิกเกมส์ 2021 ในโตเกียว ไม่มีมาริโอแล้ว (และก็ไม่มีเกมไหนสักเกมจากค่ายนินเทนโดด้วย) แต่เราได้ยินดนตรีประกอบคุ้นหูในเกมชื่อดังของแดนอาทิตย์อุทัยอย่างเต็มอิ่มสิบกว่าเกม และเมดเลย์นี้ก็ไม่ได้มาเล่นๆ แต่ถูกเรียบเรียงและบรรเลงโดยวงออเคสตราเต็มวง และเกมที่เลือกดนตรีมาเล่นนั้นก็ครอบคลุมประวัติศาสตร์เกม ตั้งแต่ Gradius เกมตู้ชื่อดังปี 1985 กว่าสามทศวรรษที่แล้ว เรื่อยมาจนถึงเกมสมัยใหม่อย่าง NieR และ Monster Hunter ในศตวรรษที่ 21
.
การประพันธ์เพลงและดนตรีประกอบเกมแบบ “จัดเต็ม” เป็นส่วนสำคัญของวงการเกมญี่ปุ่นมาช้านาน เกมเมอร์จำนวนมากเป็นแฟนพันธุ์แท้ของนักประพันธ์ดนตรีประกอบเกมชื่อดัง คอยติดตามผลงานอย่างติดหนึบไม่แพ้เพลงของนักร้องคนโปรด และในญี่ปุ่นเองก็มีการจัดคอนเสิร์ตดนตรีประกอบเกม (ดูแหล่งข้อมูลเช่น https://ultimatepopculture.fandom.com/wiki/Orchestral_Game_Music_Concerts) มาแล้วหลายครั้ง
.
แต่แน่นอนว่า การใช้ออเคสตราบรรเลงเมดเลย์ที่เรียงร้อยดนตรีประกอบเกม 14 เกม ต่อหน้าผู้ชมผ่านจอหลายล้านคนทั่วโลก ในพิธีเปิดมหกรรมการแข่งขันที่โด่งดังที่สุดของมวลมนุษยชาติ ยาวนานเป็นชั่วโมงๆ ต้องนับเป็นจุดสูงสุดครั้งหนึ่งที่ต้องจารึกในประวัติศาสตร์เกมเลยทีเดียว
.
ด้วยความที่ญี่ปุ่นคือญี่ปุ่น จะทำอะไรต้องผ่านการคิดใครครวญอย่างรอบคอบมาก่อนเสมอ เราลองมาไล่เรียงดนตรีจากเกมแต่ละเกมที่เลือกมาบรรเลงออเคสตราในพิธีเปิดโอลิมปิกกัน (ฟังเรียงเพลงได้จาก https://www.classicfm.com/discover-music/periods-genres/video-game/tokyo-2020-opening-ceremony/)
.
(ตัวเลขในวงเล็บ บอกลำดับของการเล่นเพลงนั้นๆ ในพาเหรดนักกีฬา)
.
1. Dragon’s Quest – Overture: Roto’s Theme (1)
เมดเลย์ประกอบพาเหรดนักกีฬาเปิดฉากด้วยเพลงติดหู Roto’s Theme จากเกม Dragon Quest ภาคแรก และธีมนี้ก็ปรากฎในเกมทุกเกมในซีรีส์เดียวกัน เพลงนี้ฟังดูยิ่งใหญ่ เชิดชูฮีโร่ เสียงกลองปลุกความฮึกเหิม สมกับใช้เปิดฉากพาเหรดนักกีฬาโอลิมปิก
.
2. Final Fantasy - Victory Fanfare (2), Main Theme: Prelude (13)
เพลงหลักสองเพลงในซีรีส์ Final Fantasy ที่คุ้นหูคอเกมเป็นอย่างดี โนบูโอะ อุเอมัตสึ ผู้ประพันธ์ Main Theme: Prelude เคยให้สัมภาษณ์ว่า ถ้าทั้งชีวิตของเขาจะมีคนจำผลงานเขาได้เพียงชิ้นเดียว เขาอยากให้เป็น Prelude นี่เอง เพลงเพราะเพลงนี้ครบเครื่องทุกรสชาติ ทั้งฮึกเหิม บุกตะลุย เศร้าโศก โรมานซ์ และอ้อยอิ่ง เหมือนกับทั้งเรื่องราวในซีรีส์เกมมหากาพย์ และเรื่องราวความเป็นมนุษย์ที่ฉายผ่านโอลิมปิกเกมส์
.
เวอร์ชันที่เลือกมาเรียบเรียงและให้ออเคสตราบรรเลงในพิธีเปิดโตเกียวโอลิมปิกมาจาก Final Fantasy VII เกมที่ได้รับความนิยมสูงสุดในซีรีส์ และดังนั้นจึงน่าจะติดหูคนมากที่สุด
.
3. Tales Of Zestiria - Sorey's Theme (The Shepherd) (3), Royal Capital ( 8 )
โมโตอิ ซากุราบะ นักประพันธ์ดนตรีประกอบเพลง อยู่เบื้องหลังเพลงติดหูในซีรีส์เกมมากมาย อาทิ Dark Souls, Mario Golf และ Star Ocean แต่ผลงานที่สร้างชื่อให้กับเขาที่สุดคือดนตรีประกอบซีรีส์ Tales จากค่าย Bandai Namco ด้วยความไพเราะและ “จัดเต็ม” เหมาะกับการเล่นแบบออเคสตราเต็มวง
.
4. Monster Hunter - Proof of Hero (4), Wind of Departure (9)
ธีมหลักของเกมซีรีส์ Monster Hunter ทุกเกม ปลุกเร้าให้ตื่นเต้น ฮึกเหิม และลุ้นระทึกในคราวเดียว บรรเลงระหว่างการต่อสู้กับสัตว์ประหลาดและเตรียมตัวก่อนออกเดินทางไปผจญภัย เฉกเช่นนักกีฬาที่กำลังจะเข้าสู่สังเวียนประลองกำลัง
.
5. Kingdom Hearts - Olympus Coliseum (5), Hero’s Fanfare (15)
ดนตรีบรรเลงจากสนามกีฬาโอลิมปิกในเกม Kingdom Hearts เกมแรก (และก็ใช้ในเกมต่อๆ มาในซีรีส์นี้ด้วย) นับว่าเหมาะเจาะกับพิธีเปิดโอลิมปิกเกมส์โดยไม่ต้องตีความใดๆ โดยเฉพาะในเมื่อ โยโกะ ชิโมมูระ ผู้ประพันธ์เกมนี้ นำแรงบันดาลใจจากกรีกโบราณมาใช้ในการรังสรรค์ผลงานชิ้นนี้
.
6. Chrono Trigger - Frog's Theme (6), Robo’s Theme (10)
เชื่อว่าคอเกมรุ่นเก๋าหลายคนน่าจะได้น้ำตาซึมเมื่อได้ยินดนตรีจาก Chrono Trigger เกม JRPG คลาสสิกขึ้นหิ้ง บรรเลงคลอพาเหรดนักดนตรี หลายคนคงหวนนึกถึงตอนที่เจอ Frog (กบ) อัศวินร่างกบที่เราได้มาเป็นพวกในช่วงแรกๆ ของเกม เพราะ Frog’s Theme คือเพลงประจำตัวของเขา ส่วน Robo’s Theme ก็เป็นเพลงคึกจังหวะสนุกอีกเกมที่ฟังครั้งเดียวก็ติดหูเลย เกม Chrono Trigger ทั้งเกมมีเพลงเพราะยอดนิยมมากมาย และทีมงานประพันธ์เมดเลย์ก็บรรเลงให้เราฟังอย่างจุใจด้วยการสอดแทรกธีมนี้ในหลายจุดของเมดเลย์
.
7. Ace Combat - First Flight (7)
ครึ่งทางของเมดเลย์ ออเคสตราสลับฉากออกจากเกมแนว JRPG (เกมสวมบทบาทแบบญี่ปุ่น) มาทางเกมแนวอื่นๆ บ้าง เริ่มจากเกมเพราะจากซีรีส์ Ace Combat เกมขับเครื่องบินรบสไตล์เกมตู้จากค่าย Bandai Namco เพลงนี้อาจไม่คุ้นหูคอเกมเท่ากับเพลงจากซีรีส์ JRPG ยอดฮิตทั้งหลาย แต่พอใส่มาในเมดเลย์ช่วงครึ่งทาง เพลงต่อสู้เร้าใจจากเกมนี้ก็เหมาะเจาะเลยทีเดียว
.
8. Sonic The Hedgehog - Starlight Zone (11)
จากความเร้าใจของ Ace Combat สลับฉากมาเป็นจังหวะชิลๆ ของเพลงจาก Sonic the Hedgehog เกมแอ็กชั่น 2D คลาสสิกค้างฟ้าจากค่าย SEGA ติดหูคอเกมมาตั้งแต่เจ้าเฮดจ์ฮอกจอมซ่า คู่แข่งมาริโอ ปรากฎตัวครั้งแรกในปี 1991 มาซาโตะ นาคามูระ นักประพันธ์เพลง วันนี้ผันตัวมาเน้นการแต่งเพลงประกอบโฆษณาโทรทัศน์และภาพยนตร์มากกว่าเกมแล้ว แต่ผลงานที่เขาฝากไว้ในเกมพิภพก็จะติดหูไปอีกนานแสนนาน
.
9. Winning Eleven - eFootball Walk-On Theme (12)
เกมเด่นจาก Winning Eleven ซีรีส์เกมฟุตบอลชื่อดัง (วันนี้เปลี่ยนชื่อเป็น eFootball) ทั้งเพราะและเหมาะสมด้วยความที่เป็นเกม “กีฬา” เกมเดียวในเมดเลย์ชุดนี้
.
10. Phantasy Star Universe – Guardians (14)
เกมเพราะจาก Phantasy Star ซีรีส์ JRPG ที่ดังเป็นพลุแตกในญี่ปุ่น แต่นอกประเทศคนไม่รู้จักเท่า Chrono Trigger และ Final Fantasy ดึงอารมณ์คนฟังเข้าสู่แดนผจญภัย แม้อาจฟังดูไม่ยิ่งใหญ่และครบรสเท่ากับเพลงจาก JRPG ช่วงแรกในเมดเลย์
.
11. Gradius - 01 ACT I-1 (16)
เซอร์ไพรส์ที่ผู้เขียนบทความนี้ชอบมากเป็นการส่วนตัว การเลือกเสียงเปียโนจังหวะสนุกๆ จากเกมตู้คลาสสิกของ Konami มาอยู่ในเมดเลย์ออเคสตราที่บรรเลงประกอบพาเหรดนักกีฬา นับเป็นการให้เกียรติเกมตู้ (arcade) จากยุคที่ “เกม” ยังถูกมองว่าเป็น “เรื่องไร้สาระ” หรือ “อบายมุข” (ซึ่งผ่านมาหลายทศวรรษแล้วบางสังคมก็ยังมีทัศนคติแบบนี้อยู่)
.
12. NieR - Song of The Ancients (17)
เพลงเพราะจาก NieR ซีรีส์ action RPG ชื่อดัง ซีรีส์นี้มีเพลงเพราะหลายเพลง แต่ที่น่าสนใจคือทีมประพันธ์เมดเลย์เลือกเพลง Song of the Ancients ซึ่งกลายเป็นเพลงเดียวในเมดเลย์นี้ที่ไม่ได้มีแต่เสียงดนตรีอย่างเดียว แต่มี “เนื้อร้อง” ด้วย เวอร์ชันในเกมขับร้องโดย เอมิโกะ อีวานส์ และประพันธ์โดย เคนิอิชิ โอกาเบะ
.
เนื้อร้องของเพลงนี้ไม่ใช่ภาษาใดๆ ที่ใครจะฟังออกเลย เพราะเขียนในภาษาปลอมที่ไม่มีอยู่จริงในโลก เรื่องราวของเกมบอกว่าภาษานี้คือ Chaos เกิดจากการผสมภาษาต่างๆ ในโลกเข้าด้วยกัน
.
การเลือกเพลงนี้จึงคล้ายจะสื่อว่า การเล่นกีฬานั้นเป็น “ภาษาสากล” ของคนทุกชาติในโลก ไม่ว่าจะแตกต่างกันมากเพียงใด
.
13. SaGa - The Minstrel's Refrain (เมดเลย์ฉบับปี 2016) (18)
ผลงานเด่นอีกชิ้นของ โนบุโอ อุเอมัตสึ นักประพันธ์ที่ดังเป็นพลุแตกจากเพลงที่เขาแต่งให้กับซีรีส์ Final Fantasy แต่ Romancing SaGa (ซึ่งจริงๆ ก็เป็นเกมที่เริ่มต้นจากการแตกแขนงมาจาก Final Fantasy) ก็เป็น JRPG อีกหนึ่งซีรีส์ที่มีเพลงเพราะๆ มากมายที่ อุเอมัตสึ ฝากผลงานเอาไว้ เวอร์ชันที่ออเคสตราบรรเลงในพิธีเปิดคือเวอร์ชันเมดเลย์ปี 2016 ที่ “จัดเต็ม” ในเกมด้วยวงออเคสตราเช่นกัน
.
14. SoulCalibur - The Brave New Stage of History (19)
เหมาะสมกับการเป็นเพลงปิดเมดเลย์ประกอบพาเหรดนักกีฬาด้วยประการทั้งปวง ผลงาน จูนิชิ นาคัทซึรุ เพลงนี้เป็นธีมหลักของ SoulCalibur VI เกมต่อสู้จากค่าย Bandai Namco เพลงให้อารมณ์ชวนออกไปผจญภัยเกมนี้บรรเลงประกอบฉากเลือกคู่ต่อสู้ 2 คน ที่จะมาประมือกันในสนามประลอง ราวกับจะบอกเราว่า ขอเชิญรับชมการประลองฝีมือของนักกีฬาจากทั่วโลก ได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป!
.
เมดเลย์ดนตรีประกอบเกมญี่ปุ่นที่บรรเลงแบบ “จัดเต็ม” โดยวงออเคสตรา ไม่เพียงป่าวประกาศให้โลกรู้ว่า ญี่ปุ่นเป็น “ชาติมหาอำนาจ” เพียงใดในวงการเกมโลก หากแต่ยังเป็นการแสดงไมตรีจิตและความคารวะต่อเกม นักออกแบบเกม และการยกย่องเกมในฐานะสื่อสมัยใหม่ที่เป็นส่วนสำคัญในชีวิตของคนหลายล้านคนทั่วโลก
.
รวมถึงแสดงพลานุภาพของ “เกม” ในการเป็นเครื่องมือที่สามารถผนึกความสมัครสมานสามัคคี มิตรภาพที่เบ่งบานระหว่างการต่อสู้หรือขับเคี่ยวแข่งขัน สะท้อนความมุมานะไม่เลิกราของมนุษย์ และชวนให้ขบคิดถึง “ความเหมือน” มากกว่า “ความต่าง” ระหว่างคนชาติต่างๆ
.
“เกม” ทั้ง 14 เกมที่ถูกเลือกดนตรีมาบรรเลงในพิธีเปิดโตเกียวโอลิมปิก และเกมอีกมากมาย มีจุดร่วม “กีฬาโอลิมปิก” ในแง่นี้เอง
chaos sonic 在 低分少年 Low Score Boy Facebook 的最讚貼文
Steam 正在進行 SEGA 60 周年紀念特賣,10月10日至20日期間《音速小子2》限時免費領取!
https://store.steampowered.com/app/71163/Sonic_The_Hedgehog_2/
同時今天也是高分少女大野晶的生日,祝大野生日快樂!
chaos sonic 在 translation Youtube 的最佳貼文
#'94年10月にソニックチーム、STIが開発、セガが発売したソニックシリーズの4作目であり「3」の分割された続編。主となるシステムはソニック・ザ・ヘッジホッグ3の項に準ずる。
対戦モードでのみ操作可だったナックルズが正式に採用、ボーナスステージは「3」と合わせると3つ全て出現、「2」を差せばナックルズが使用可状態の「2」がプレイ可、「3」を挿しカオスエメラルドをスーパーエメラルドに進化させる事でハイパーソニック、スーパーテイルス、ハイパーナックルズへの変身が可能等の特徴を持つ。また、「1」、あるいはその他のMD用カセットを挿しむと単独のスペシャルステージ・ブルースフィア(自動生成で2億6千通り通り以上)が遊べる、ソニック2、3以外のカセットを挿して起動するとタイトルに「NO WAY!」と表示されるので
A・B・Cボタンを同時に押せばそのカセットに応じたステージを1つだけ
プレイ可と言う事になる。
BGMは「3」の作曲者に加え、Howard Drossin氏が、またサウンドプロジェクトコーディネーターとして荷宮尚樹氏が参加した。
作曲:上保徳彦氏、香嶋良昭氏、瀬上純氏、澤田朋伯氏、前田龍之氏、小河幸男氏、長尾優進氏、小林美代子さん,Howard Drossin氏
Manufacturer: 1994.10.18 SEGA / Sonic Team,Sega Technical Institute
Computer: Mega drive / Genesis
Sound: YM2612,SN76489
Sound Project Coordinator: Hisaki Nimiya
Composer: Tokuhiko Uwabo,Sachio Ogawa,Yoshiaki Kashima,Masaru Setsumaru,Tatsuyuki Maeda,Tomonori Sawada,Masayuki Nagao,Jun Senoue,Howard Drossin
------------------------------------------------------------------------------
00:00 01.Title Screen
00:19 02.Mushroom Hill Zone 1
03:13 03.Mushroom Hill Zone 2
06:00 04.Flying Battery Zone 1
08:48 05.Flying Battery Zone 2
11:36 06.Sandopolis Zone 1
14:36 07.Sandopolis Zone 2
17:45 08.Lava Reef Zone 1
20:23 09.Lava Reef Zone 2
23:23 10.Sky Sanctuary Zone
27:26 11.Death Egg Zone 1
30:12 12.Death Egg Zone 2
32:52 13.The Doomsday Zone (ナックルズ編のスーパーメカソニックでも 使用)
36:29 14.Knuckles' Theme
37:07 15.Invincible
37:37 16.EXTRA LIFE
37:41 17.Act Complete
37:47 18.Miniboss
38:46 19.Robotnik
39:57 20.No Way!
40:25 21.Bonus Stage 1 (Magnetic Orbs)
43:50 22.Bonus Stage 2 (Slot Machine)
47:00 23.Special Stage (Blue Spheres)
51:27 24.Game Complete
51:38 25.Staff Roll
54:29 26.Drowning
54:41 27.Game Over
54:50 28.Continue
54:56 29.Chaos Emerald
55:00 30.All Chaos Emeralds
55:04 31.Title Screen (Beta)
55:25 32.Game Complete (Beta)
------------------------------------------------------------------------------
chaos sonic 在 translation Youtube 的最佳解答
#'94年にセガが発売したMD用ACT作品「ソニック・ザ・ヘッジホッグ3」のプロトタイプ版。
The Cutting Room FloorとHidden Palaceのdrx氏によりEPROMのダンプが行われ、2019年11月16日に一般公開された。
ソニック&ナックルズも含むデータとして作られており、未完成ゆえのスプライトやパレットの違い、バグをはじめとした、多くのデータの違いが見られる。
BGMはマイケル・ジャクソン氏が参加する前に作曲されていた曲で、全くの同曲から、差し替え別曲、音色違い曲などで構成され、未使用曲もロム内に含まれている。
作曲:前田龍之氏、澤田朋伯氏、小河幸男氏、長尾優進氏、曳地正則氏、高岡美代子さん、瀬上純氏、瀬津丸勝氏、牧野幸文氏、香嶋良昭氏
Year: 1993.11.03
Manufacturer: SEGA / Sonic Team,Sega Technical Institute
Computer: Mega drive / Genesis
Sound: YM2612,SN76489
Composer: Tatsuyuki Maeda,Tomonori Sawada,Sachio Ogawa,
Masayuki Nagao,Masanori Hikichi,Miyoko Takaoka,Jun Senoue,
Masaru Setsumaru,Yukifumi Makino,Yoshiaki Kashima
------------------------------------------------------------------------------
00:00 01.Title Screen
00:17 02.Data Select
02:46 03.Angel Island Zone Act 1
05:26 04.Angel Island Zone Act 2
08:07 05.Hydrocity Zone Act 1
10:15 06.Hydrocity Zone Act 2
12:15 07.Marble Gardens Zone Act 1
14:29 08.Marble Gardens Zone Act 2
16:40 09.Carnival Night Zone Act 1 *Proto ver.
18:54 10.Carnival Night Zone Act 2 *Proto ver.
20:59 11.Flying Battery Zone Act 1 *音色が違う
22:31 12 Flying Battery Zone Act 2 *音色が違う
24:44 13.IceCap Zone Act 1 *Proto ver.
27:23 14.IceCap Zone Act 2 *Proto ver.
30:08 15.Launch Base Zone Act 1 *Proto ver.
32:29 16.Launch Base Zone Act 2 *Proto ver.
34:56 17.Knuckles' Theme *Proto ver.
35:33 18.Mushroom Valley Zone Act 1 *Proto ver.
37:10 19.Mushroom Valley Zone Act 2 *Proto ver.
38:42 20.Sandopolis Zone Act 1
40:24 21.Sandopolis Zone Act 2
42:13 22.Lava Reef Zone Act 1 *音色が違う
43:41 23.Lava Reef Zone Act 2, Hidden Palace Zone *音色が違う
45:47 24.Sky Sanctuary Zone *パート抜け
48:10 25.Death Egg Zone Act 1
49:41 26.Death Egg Zone Act 2
51:10 27.The Doomsday Zone
53:14 28.Invincible
53:59 29.EXTRA LIFE
54:03 30.Game Over
54:13 31.Bonus Stage: Gumball Machine
55:56 32.Bonus Stage: Magnetic Orbs
57:49 33.Bonus Stage: Slot Machine
59:49 34.Special Stage
01:02:14 35.Act Complete
01:02:20 36.BOSS 1 *Proto ver.
01:03:50 37.BOSS 2
01:05:12 38.BOSS 3
01:07:46 39.Staff Roll *Proto ver.
01:10:41 40.Competition Menu *Proto ver.
01:12:28 41.Azure Lake
01:14:31 42.Balloon Park *音色が違う
01:16:32 43.Chrome Gadget
01:18:44 44.Desert Palace *音色が違う
01:20:27 45.Endless Mine
01:22:35 46.Continue race Results (Vs.Mode)
01:23:18 47.Drowning
01:23:30 48.Chaos Emerald
01:23:35 49.Unused (Track 2E)
------------------------------------------------------------------------------
chaos sonic 在 translation Youtube 的最讚貼文
#'94年にソニックチーム、STIが開発、セガが発売したソニックシリーズの4作目(含ソニックCD)。
「2」の最終面、空中要塞デスエッグが落ちたエンジェルアイランドが舞台。
主な特徴としては、新アクション、バリアの属性、ボーナス面、セーブ機能、難易度がやや低下、2人対戦専用モード等の特徴がある。
開発当初はSVP(3Dポリゴン演算処理用の特殊チップ)を組み込む予定だったが、チップ開発の遅れと共に本作の開発も遅延、北米では既にマクドナルドとのタイアップで発売日確定だった為、中裕司氏はSVP版ソニック3開発を断念し、新たに作り直すが、時間の問題から内容のほぼ半分を削った。
マップ上にナックルズルートがあるが裏技・バグを使用しない限り侵入不可で、同年10月発売された「ソニック&ナックルズ」を購入しロムカセットをドッキングさせて初めて収録予定だったステージ、ナックルズが使用可能となる。
また、ロム製作費用が膨らんだゆえの弊害で、初期の企画段階ではソニック&ナックルズとソニック3は一本となるはずだった。
BGMはあのポップ界のレジェンドMJがBrad氏と共に原曲を作曲したのだが、マイケル自身がMDのopn2+pcmの音源に満足せず、EDのクレジットロールに名前を入れられるのを拒み、セガスタッフもこの件は公はしたがらなかった。
マイケル氏が関与しない残りのステージ等はセガのサウンドスタッフが作曲した。
作曲:上保徳彦氏、香嶋良昭氏、瀬上純氏、澤田朋伯氏、前田龍之氏、小河幸男氏、長尾優進氏、小林美代子さん
Year: 1994.02.02(U),1994.02.07(K),1994.02.24(EU),1994.05.27(J)
Manufacturer: SEGA / Sonic Team,Sega Technical Institute
Computer: Mega drive / Genesis
Sound: YM2612,SN76489
Composer: Tokuhiko Uwabo,Sachio Ogawa,Yoshiaki Kashima,Masaru Setsumaru,Tatsuyuki Maeda,Tomonori Sawada,Masayuki Nagao,Jun Senoue
------------------------------------------------------------------------------
00:00 01.Title Screen
00:16 02.Data Select
02:23 03.Angel Island Zone Act 1
04:41 04.Angel Island Zone Act 2
06:54 05.Hydrocity Zone Act 1
08:54 06.Hydrocity Zone Act 2
10:45 07.Marble Gardens Zone Act 1
12:51 08.Marble Gardens Zone Act 2
14:56 09.Carnival Night Zone Act 1
17:17 10.Carnival Night Zone Act 2
19:38 11.IceCap Zone Act 1
22:33 12.IceCap Zone Act 2
25:53 13.Launch Base Zone Act 1
28:07 14.Launch Base Zone Act 2
30:16 15.Knuckles' Theme
31:32 16.Invincible
32:20 17.EXTRA LIFE
32:24 18.Game Over
32:33 19.Bonus Stage (Gumball Machine)
33:48 20.Special Stage (Blue Spheres)
36:08 21.Act Complete
36:14 22.Miniboss (ANGEL ISLAND ZONE ACT1のボス等)
38:23 23.Robotnik (ANGEL ISLAND ZONE ACT2のボス等/ソニック&ナックルズでは各ゾーンACT2ボス固定)
39:34 24.Final Boss (Big Arms) (ソニック3ラストボス/巨大エッグマンロボ、ナックルズ編メカソニック)
41:20 25.Game Complete
41:31 26.Staff Roll (Unreleased) (*未発表)
44:28 27.Staff Roll
46:39 28.Competition Menu
48:33 29.Azure Lake
50:31 30.Balloon Park
52:24 31.Chrome Gadget
54:31 32.Desert Palace
56:07 33.Endless Mine
58:10 34.CONTINUE RACE Results (Vs.Mode)
58:57 35.Drowning
59:08 36.Continue
59:14 37.Chaos Emerald
59:18 38.All Chaos Emeralds
------------------------------------------------------------------------------
chaos sonic 在 29 Chaos sonic ideas | sonic, sonic the hedgehog, sonic art 的推薦與評價
Sep 20, 2018 - Explore Gduartealcazar's board "chaos sonic" on Pinterest. See more ideas about sonic, sonic the hedgehog, sonic art. ... <看更多>
chaos sonic 在 When people pluralize "chao" as "chaos" - Sonic The Hedgehog 的推薦與評價
Complicating web searches since Sonic Adventure 1. 1 年 举报. Francesco Esposito, profile picture. Francesco Esposito. When a new Sonic game with Chao? ... <看更多>