ทำไมถึงบอกว่า “ความฝัน” สำคัญกว่า “แผนการ” ? คุณเคยสังเกตไหมคนส่วนใหญ่มักพูดว่า “ฉันมีฝัน” มากกว่า “ฉันมีแผน” หรือแม้แต่คนอื่นที่มาถามคุณ ก็มักถามคุณด้วยเช่นกันว่า ฝันคืออะไร แล้วค่อยถามว่า แล้วแผนเป็นอย่างไร
.
นั่นก็เพราะพวกเขาไม่ได้สนใจว่าแผนของคุณจะสวยงามหรือยิ่งใหญ่แค่ไหน เพราะสุดท้ายแล้ว หากไม่เป็นไปตามแผนแรก คนส่วนใหญ่โดยเฉพาะคนรวย มหาเศรษฐี เขาเลือกที่จะเปลี่ยนไปใช้แผนอื่น แล้วยังคงยึดความฝันเดิมเอาไว้!
.
อย่างไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีชายคนหนึ่ง ประกาศด้วยความมุ่งมั่นว่า เขาจะพามนุษยชาติไปเหยียบดาวอังคาร และตั้งรกรากที่นั่นให้ได้ แม้มันจะเป็นความคิดที่ไร้สาระสุดๆ เพราะก่อนหน้านี้ก็มีหลายคนคิดแบบเดียวกันมานานแล้ว แต่สุดท้ายก็ล้มเลิกเพราะคิดว่า มันไกลตัวเกินไป ไม่มีทางเป็นไปได้แน่นอน แต่สำหรับชายคนนี้ แม้ปัจจุบันจะยังไม่บรรลุความฝัน จรวดที่เขาสร้างล้มเหลวซ้ำแล้วซ้ำเล่า เขาก็ยังไม่ลดละความพยายามที่จะทำให้มันสำเร็จ ไม่มีใครไม่รู้จักเขา ชื่อของเขาคือ “อีลอน มัสก์”
.
“แผนการสร้างความไม่ลงรอยกันได้ แต่ความฝันมักสร้างความสามัคคี”
.
คุณคิดว่าที่คนอยากทำงานกับคุณ เพราะอะไร? แน่นอนส่วนหนึ่งเพราะมีความฝันเดียวกับคุณ และอยากทำความฝันนั้นให้เป็นจริง แต่คุณจะมั่นใจได้อย่างไรว่า แผนการเพื่อไปให้ถึงความฝันนั้น จะถูกใจพวกเขาทุกคน หลายครั้งที่เรามักเห็นคนพูดว่า อยากให้งานออกมาเป็นแบบนี้, อยากให้บริษัทเติบโตหรือโด่งดัง
.
แต่เมื่อทำตามแผนการ นอกจากงานไม่สำเร็จแล้ว คนทำงานยังมีปัญหาไม่เข้าใจกันด้วย บางคนโทษความฝัน บางคนก็โทษแผนการ แต่ไม่อย่างไรก็ตาม แม้แผนการจะสร้างความไม่ลงรอย แต่ก็เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ ไม่เช่นนั้นความฝันก็คงเป็นเพียงความปรารถนาที่จับต้องไม่ได้ต่อไป ดังนั้นที่คุณต้องปรับคือ อย่ายึดติดกับแผนของคุณ เพราะมันสามารถเปลี่ยนได้ตลอดเวลา หากแผนเดิมไม่สำเร็จ คุณแค่ทิ้งมัน แล้วเริ่มคิดแผนใหม่เพื่อไปให้ถึงความฝันนั้นแทน
.
หรือเมื่อไหร่ก็ตามที่คุณเริ่มสงสัยในความฝันของตัวเอง เพราะมันล้มเหลวไม่เป็นท่าหลายต่อหลายครั้ง จงย้อนกลับไปนึกถึงวันแรกอีกครั้งว่า ความฝันของคุณคืออะไร และมันยิ่งใหญ่ขนาดไหน จะล้มเลิกมันง่ายๆ เพียงเพราะไม่เป็นไปตามแผนการจริงๆ หรอ? อย่าเบื่อที่จะต้องพูดเรื่องเดิมซ้ำๆ หากมันทำให้คุณและทีมงานมีพลังมากขึ้น
.
“คุณจะเข้าใกล้ความฝันมากขึ้น หากรู้จักยืดหยุ่น และลองเพิ่มความไว้ใจมอบอำนาจ เติบพลังให้คนอื่น แทนการกดเขาให้ต่ำลง”
.
ระหว่างทางไปสู่ความฝัน นอกจากฝันและแผนการ ยังมีอีกหนึ่งสิ่งที่คุณต้องให้ความสำคัญ คือ ทีมงานของคุณ แทนที่จะต่อว่า หรือกดเขาให้ต่ำลง เปลี่ยนเป็นการเพิ่มพลังให้พวกเขาแทน เพราะสุดท้ายแล้ว ผลลัพธ์จะออกมาเป็นอย่างไร คุณไปถึงฝันนั้นได้หรือไม่ ก็อยู่ที่ว่าคุณไปถึงจุดนั้นได้อย่างไร ใครที่คอยอยู่เคียงข้างคุณบ้าง
.
“จะไล่ตามความฝัน แต่คิดแผนการใหม่ไม่ออก ลองเปลี่ยนไปคุยกับคนแปลกหน้าดูบ้าง คุณอาจเจอไอเดียบางอย่างที่คุณไม่คาดคิด”
.
บางครั้งการพูดคุยหรือเจอกับคนเดิมๆ อาจไม่ทำให้คุณผุดไอเดียใหม่ๆ ได้ ลองหันไปคุยกับคนแปลกหน้าดูบ้าง แล้วคุณจะต้องประหลาดใจว่า โลกนี้แตกต่างจากที่คุณคิดไว้มากแค่ไหน ยิ่งคุณลองคุยกับเขามากเท่าไหร่ คุณก็จะยิ่งมองเห็นโอกาสมากขึ้นเท่านั้น หรือคุณจะแลกเปลี่ยนความฝันของคุณและเขา ก็อาจยิ่งทำให้คุณได้ไอเดียแปลกๆ มาปรับใช้ในการแผนการใหม่ของคุณได้อีกด้วย
.
สรุปก็คือ แม้ความฝันจะสำคัญกว่าแผนการ แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองอย่างต้องมาควบคู่กันเสมอ ความฝันควรเป็นเรื่องที่ชัดเจนและแน่วแน่ แต่แผนการต้องยืดหยุ่น และพร้อมปรับเปลี่ยนได้เสมอเมื่อทำแล้วไม่ประสบความสำเร็จ จงจำไว้ว่า หากคุณเป็นนักวางแผนเพียงอย่างเดียว โอกาสล้มเหลว แล้วเลิกทำมีมากกว่า แต่หากคุณคือ นักล่าฝัน ไม่ว่าคุณจะเจอปัญหาอะไร คุณจะยังคงเป็นคนที่เข้มแข็งและเดินต่อไปได้ แม้มันจะไม่สมเหตุสมผลก็ตาม
.
ที่มา : https://medium.com/rich-culture/your-dream-is-more-important-than-your-plan-423958b5396f
.
#อายุน้อยร้อยล้านNEWS #อายุน้อยร้อยล้าน #ryounoi100lan #ความฝัน #แผนการ #Inspiration #Plan #Psychology
同時也有6部Youtube影片,追蹤數超過3萬的網紅Sena Shimotsuma,也在其Youtube影片中提到,In this video, I'm going to talk about how I apply Stoicism into my life. Follow me on Twitter and Instagram! Twitter: https://twitter.com/Sena_Shim...
「culture psychology」的推薦目錄:
- 關於culture psychology 在 อายุน้อยร้อยล้าน Facebook 的最佳貼文
- 關於culture psychology 在 Hero Athletes Facebook 的精選貼文
- 關於culture psychology 在 Scholarship for Vietnamese students Facebook 的精選貼文
- 關於culture psychology 在 Sena Shimotsuma Youtube 的最佳解答
- 關於culture psychology 在 Point of View Youtube 的最佳解答
- 關於culture psychology 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最佳解答
culture psychology 在 Hero Athletes Facebook 的精選貼文
ว่าด้วยความช้าของวงการฟิตเนสไทย Part.6 'การนินทา และความเกรงใจที่สื่อไม่ได้'
มีใครทราบไหมครับว่า คำว่า 'เกรงใจ' ในภาษาอังกฤษ แปลว่าอะไร ให้เวลาคิด .....
ติ้กต่อก ติ้กต่อก
ติ้กต่อก
ติ้ก
หมดเวลา
ตอบ
ไม่มีคำแปลครับ
ไม่มีคำแปลหมายความว่ายังไง หมายความว่า ยากมากที่จะมีคนเข้าใจศัพท์คำว่าเกรงใจ ต้องใช้เป็นพหุคำเช่น ' I don't want to bother you' ซึ่งความหมายก็จะไม่ตรงกับคำว่า 'เกรงใจ' ซะทีเดียว ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าประเทศที่แปลคำว่าเกรงใจได้ จะเกรงใจเสมอไป แล้วไม่ได้หมายความว่า ประเทศที่แปลคำว่าเกรงใจไม่ได้ จะไม่เกรงใจเสมอไป
ก็นั่นอีกแหละ สมัยที่เรียนโทอยู่สวิสเซอร์แลนด์ วิชา Sociology ประเทศไทยถูกจัดในหมวดหมู่ประเทศที่เป็น Feminine ไม่ใช่ประเทศที่เป็น Masculine หมายความว่า เป็นประเทศผู้ตาม ไม่มีปากไม่มีเสียง ไม่กล้าเปิดเผย อนุรักษ์นิยม อย่างมากก็เออๆออๆไปตามเรื่อง และได้แต่เก็บเงียบ ไม่ค่อยเปิดเผยความคิดเห็นของตนในที่สาธารณะ แต่จะเก็บไปเล่าให้บุคคลที่สนิทใจฟัง หรือว่า นินทานั่นเอง
ตอนที่เรียน Psychology ที่สวิสเช่นกัน ได้มีโอกาสทำรีเสิชเรื่อง 'Asian Gossip Culture' ซึ่งกลายมาเป็นหัวข้อย่อยหนึ่งในวิทยานิพนธ์ของผมนั้น กล่าวคร่าวๆสืบเนื่องจากว่า ความไม่มั่นใจในตนเองของคนไทยและประเทศแถบเอเชีย จากที่เคยเขียนบทความถึงเรื่อง การอนุมัติ (Authority) สังคมเราต้องการคนอื่น (Others) มารองรับและยอมรับ (Acceptance) ในความเป็นตัวตนของเรา ซึ่งความที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม หมู่คณะ เพื่อตอบสนองความต้องการลึกๆตรงนี้ กลับกลายเป็นว่าผสมผสมกับความไม่มั่นใจในตนเองในกลุ่ม การนินทาจึงเหมือนเป็นการสำเร็จความใคร่ทางจิตใจอย่างนึง (Mind-Masturbation) และการที่สมาชิกในกลุ่มได้เห็นร่วมไปในทางเดียวกันกับเรา ยิ่งถือเป็นการถึงจุดสุดยอดทางตัวตน (Self-Image Orgasm) และเกิดการยอมรับในกลุ่มของตนมากขึ้น เกิดเป็นตัวกูของกู เกิดการยอมรับในกลุ่ม เกิดการมีอิทธิพลอำนาจกลวงๆขึ้นมา
ทีนี้ทำไมสองนิสัยนี้ถึงมีความสำคัญอะไรกับความช้าของการพัฒนาวงการฟิตเนสไทย (และประเทศไทย)
1. ยกตัวอย่างเช่น ลูกค้าอยากออกกำลังกาย จึงได้มีการตัดสินใจสมัครคอร์สเทรนเนอร์ (ใช่สิ หาความรู้และแรงบันดาลใจเองมันยากนี่) แต่เนื่องด้วยเกิดอาการไม่มั่นใจในตนเอง เก้ๆกังๆที่จะออกกำลังกายครั้งแรก ทำถูกบ้างผิดบ้าง ต่างฝ่ายต่างเกรงใจกันไปกันมา ไม่กล้าถาม ไม่กล้าบอก จึงได้แต่ ชมว่า 'เก่งมากคับ ดีมากทำถูกแล้ว' ไอ้ห่ากูนั่งดูมึงสอนกันผิดอยู่มีงยังจะบอกว่าถูก ผิดก็คือผิดสิวะ จะไปบอกถูกได้ยังไง แต่ฝ่ายเทรนเนอร์อาจจะด้วย มาตรฐานไม่ถึง และด้วยความเกรงใจ ไม่กล้าตำหนิ เนื่องจากได้มีการกลัว เสีย Self ว่า ตัวเองสอนไม่ดี สอนไม่ถูกต้อง เกรงใจเงินที่ลูกค้าจ่ายมาแล้ว ลูกค้าทำไม่ได้ก็ไม่กล้าบอก เกิดการเพิกเฉยต่อเนื่อง จนไม่เกิดการพัฒนา
2. ฝ่ายลูกค้าเองก็เกรงใจกันไปกันมา ไม่กล้าบอกว่า เฮ้ย กูว่ามันแปลกๆว่ะที่มึงสอนมา ทำไมกูรู้สึกเหมือนเข่ากูจะพัง หลังกูจะหัก ทำไมอะไรคือการที่กูต้องมานั่งชั่งตวงอาหารเป็นกรัม พ่อแม่ให้กำเนิดกูมา 30 ปี ไม่เคยสั่งเคยสอนให้กูชั่งอาหาร ทำไมกูต้องมาทำ กูก็ใช้ชีวิตรอดมาถึงทุกวันนี้ แข่งก็ไม่ได้แข่ง ประกวดก็ไม่ได้ประกวดถ่ายรูปกูไปลงเฟสอีกบอกว่า 'ลูกเทรนผม กับการบ้านของเขา' แต่ก็ไง พอโพสลงสังคม Social แล้วเกิดอาการถึงจุดสุดยอดทางตัวตนว่า (Self-Image Orgasm) เฮ้ย มีคนมากด Like แสดงว่าสิ่งที่กูทำมันต้องถูกต้องแน่ๆ สิ่งที่เทรนเนอร์สอนกูมันต้องถูกต้องแน่ๆ เพราะคนกดไลค์เยอะมาก
3. ฟิตเนสไอดอลลงท่าออกกำลังกายผิดๆในโลกโซเชียล แต่เหล่า Follower ก็เกรงใจที่จะบอกว่า เออ มันดูไม่ค่อยถูก มันดูไม่ค่อย Healthy เลย ก็เกรงใจหน้าตาตัวเองว่า จะเป็นความคิดเห็นที่แตกแยกหรือไม่ เพราะคนส่วนใหญ่เค้ากด Like กัน ไม่มีการติเพื่อก่อที่แท้จริง
ป่าวเลย ถูกก็คือถูก ผิดก็คือผิด ใช่ก็คือใช่ ไม่ใช่ก็คือไม่ใช่ สังคมเราขาดตรงนี้ มันมาเป็นรากฐาน ตั้งแต่เรื่องตัวตนและความมั่นใจตัวเองแล้ว ต้องรอให้คนมาอนุมัติการกระทำของตนเอง โดนเฉพาะ 'คนอื่น'
ทีนี้นิสัยนินทาก็ไม่ต่างกันมาก เป็นเรื่องรากฐานของสังคมที่อยู่รวมกันเป็นหมู่คณะ ไม่ได้รับการยอมรับทางสังคมเช่น
จับกลุ่มกันดึงคนอื่นลง รวมกลุ่มกันเนื่องด้วยตัวเองทำเป้าหมายที่ต้องการกระทำไม่ได้ ความพยายามอะไรต่างๆนาๆไม่มากพอก็ว่าไป เช่นลดน้ำหนักยังไงก็ไม่ได้ ตัวใหญ่ยังไงก็ไม่เท่า หุ่นดีก็ไม่เท่า พอเห็นคนอื่นทำได้ ได้ดีกว่า เกิดอาการแทนที่จะพัฒนาตนเอง แต่ด้วยรูปสังคมและอุปนิสัยของสังคมนั้น ต้องได้รับการยอมรับจากกลุ่มมาก่อน จึงเกิดการจับกลุ่มนินทาว่าร้ายนำตนเองเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่พอ ยังจะดึงสมาชิกในกลุ่มให้เพิ่มขึ้นอีกเรื่อยๆ เป็นธรรมดาของผู้ที่สภาพจิตใจอ่อนแอ ใครเล่าเรื่องคนอื่นให้ฟัง ก็จะเกิดความสำคัญตัวเองว่า 'เออมันมาเล่าเรื่องนี้ให้กูฟัง มันต้องไว้ใจกูแน่ๆ' สรุปแล้วก็ไม่มีใครพัฒนาตนเองจริงๆจังๆสักที มีแต่สำเร็จความใคร่ทางความคิดไปวันๆ ว่า " เออ พอใจละ มีพวกละ กูไม่จำเป็นต้องดีก็ได้ "
สองนิสัยนี้ชี้ให้เห็นถึงรากฐานทางความคิดของผู้คนในแถบเอเชียเป็นส่วนใหญ่ ไม่ใช่แค่ประเทศไทยแต่เป็นมากในประเทศรอบๆที่เป็น Feminine Country โดยยากมากแก่การที่จะแก้ไขในส่วนนี้ ทำให้วงการฟิตเนสซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยอยู่แล้ว ช้ามากเข้าไปอีก
เพราะความที่เราต้องการยอมรับจากคนส่วนมาก ต้องการให้ใครมา 'อนุมัติ' การกระทำของเรา โดยที่เราไม่สนเลยว่า มันเป็น การกระทำที่ก่อให้เกิดการพัฒนา (Productive Action) หรือไม่
ที่เขียนให้อ่านเนี่ย
เขียนให้คิด
ไม่ได้เขียนแบบเกรงใจหรอกนะ
#KnowledgeisPower
#TeamHeroAthletes
culture psychology 在 Scholarship for Vietnamese students Facebook 的精選貼文
[Sydney, Úc] [Thạc sĩ/Tiến sĩ]
HỌC BỔNG TOÀN PHẦN TỪ ĐẠI HỌC MACQUARIE!
Đại học Macquarie, tọa lạc tại Sydney, Úc, đã nhiều năm liền nằm trong top 1% đại học tốt nhất trên toàn thế giới. Nhiều ngành của trường còn nằm trong top 50 thế giới, như Philosophy, History, Linguistics, ... nữa đó. Macquarie còn nằm ở một thành phố cực cực kỳ đáng sống, chính là Sydney xinh đẹp với nhà hát con sò nổi tiếng nè. Macquarie vừa mở đơn cho học bổng toàn phần bậc cử nhân và thạc sĩ, đa ngành. Học bổng sẽ bao trọn học phí và thêm $30,000 mỗi năm tiền ăn ở nữa nè. Ôi hào phóng không sao kể hết luôn á! Mau mau share và apply nhé.
Các ngành được cover:
Biological sciences
Business and management
Chemical and biomolecular sciences
Creative arts, communication, literature and culture
Earth sciences
Education
Engineering
Environmental sciences
Health sciences
History and archaeology
Human society
Information and computing sciences
Languages and linguistics
Law and legal studies
Mathematical sciences and statistics
Medicine and health sciences
Philosophy
Physics and astronomy
Psychology and cognitive science
Urban and regional planning
Deadline: 31.7.2020
Xem chi tiết: https://www.mq.edu.au/research/phd-and-research-degrees/scholarships/scholarship-search/data/iMQRES_international_main_round
<3 Like page, tag và share bạn bè nhé <3
#HannahEd #sanhocbong #duhoc #scholarshipforVietnamesestudnets
culture psychology 在 Sena Shimotsuma Youtube 的最佳解答
In this video, I'm going to talk about how I apply Stoicism into my life.
Follow me on Twitter and Instagram!
Twitter: https://twitter.com/Sena_Shimotsuma
Instagram: https://www.instagram.com/sena_shimotsuma/?hl=ja
The books that have made a positive impact on my life↓↓
Atomic Habits: https://amzn.to/3aCF2mQ
Who Moved My Cheese? : https://amzn.to/3nIhKj4
Thank you so much for taking the time to watch this video!
culture psychology 在 Point of View Youtube 的最佳解答
อ้างอิง
- born in the purple. (n.d.). TheFreeDictionary.Com. https://idioms.thefreedictionary.com/born+to+the+purple
- British Library. (n.d.). Elizabethan dress codes. https://www.bl.uk/learning/timeline/item126628.html
- Cartwright, M. (2016, July 21). Tyrian Purple. World History Encyclopedia. https://www.ancient.eu/Tyrian_Purple/
- Clair, S. K. (2017). The Secret Lives of Color (Later Printing ed.). Penguin Books.
- Grovier, K. (2018, August 1). Tyrian Purple: The disgusting origins of the colour purple. BBC Culture. https://www.bbc.com/culture/article/20180801-tyrian-purple-the-regal-colour-taken-from-mollusc-mucus
- Hastings, C. (2020, June 4). How lavender became a symbol of LGBTQ resistance. CNN. https://edition.cnn.com/style/article/lgbtq-lavender-symbolism-pride/index.html
- Hotchkiss, S. (2019, June 13). Armed with Ink, 1960s Activists “Struck Back” Against Homophobic Media. KQED. https://www.kqed.org/arts/13859570/friday-purple-hand-gay-liberation-1969
- Mcguire, S. (2017, July 28). What Disney Villains Can Tell Us About Color Psychology [Infographic]. Venngage. https://venngage.com/blog/disney-villains/
- MDF. (2020, May 9). Purple - The color of evil. Medium. https://medium.com/@mdfcreative/purple-the-color-of-evil-9a934ad66051
- Resnick, B. (2018, March 12). How William Henry Perkin accidentally discovered synthetic purple. Vox. https://www.vox.com/science-and-health/2018/3/12/17109258/sir-william-henry-perkin-google-doodle-birthday-180-mauveine-purple-dye
- Reutersvard, O. (1950). The “Violettomania” of the Impressionists. The Journal of Aesthetics and Art Criticism, 9(2), 106. https://doi.org/10.2307/426328
- Tager, A. (2018). Why Was the Color Violet Rarely Used by Artists before the 1860s? Journal of Cognition and Culture, 18(3–4), 262–273. https://doi.org/10.1163/15685373-12340030
- - - - - - - - - - - - - -
ติดต่องาน : [email protected] (งานเท่านั้น)
ทางไปซื้อสติกเกอร์ line http://line.me/S/sticker/1193089 และ https://line.me/S/sticker/1530409
ทางไปซื้อ วรรณคดีไทยไดเจสต์ http://godaypoets.com/thaidigest
ติดตามคลิปอื่นๆ ที่ http://www.youtube.com/c/PointofView
ติดตามผลงานอื่นๆได้ที่
https://www.facebook.com/pointoofview/
twitter @pointoofview
หรือ
IG Point_of_view_th
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ฟัง นิทานไทย วรรณคดีไทย สนุกๆ https://www.youtube.com/playlist?list=PLfqt6BlTNYnWUtrSsqOEiTjxVsJH_WBJl
ฟังเรื่องเกี่ยวกับ รามเกียรติ์ รามายณะ https://www.youtube.com/playlist?list=PLfqt6BlTNYnXfrgoQ5GVLgbjpzgOWplHi
Timestamp
สีม่วง
00:00 ทำไมเล่า
00:37 สีม่วงในธงชาติ
01:47 สีม่วงกับ LGBTQ+
04:11 ความหมายของสีม่วง
05:41 ประวัติสีม่วง
10:31 สีม่วงสังเคราะห์
culture psychology 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最佳解答
✔︎ 成為七七會員(幫助我們繼續日更,並享有會員專屬福利):http://bit.ly/shasha77_member
✔︎ 購買黃臭泥周邊商品: https://reurl.cc/Ezkbma 💛
✔︎ 訂閱志祺七七頻道: http://bit.ly/shasha77_subscribe
✔︎ 追蹤志祺IG :https://www.instagram.com/shasha77.daily
✔︎ 來看志祺七七粉專 :http://bit.ly/shasha77_fb
✔︎ 如果不便加入會員,也可從這裡贊助我們:https://bit.ly/support-shasha77
(請記得在贊助頁面留下您的email,以便我們寄送發票。若遇到金流問題,麻煩請聯繫:service@simpleinfo.cc)
#七宗罪 #貪吃 #大餓
各節重點:
00:00 前導
00:49「志祺七七徵企劃夥伴」廣告段落
01:49 人類可以多貪吃?
03:36 中世紀時的貪食之惡
05:11 其他宗教與文化對貪食的看法
06:24 貪吃會受到懲罰?
07:59 貪食是生物本能
09:19「貪吃罪」的沒落
10:20 我們的觀點
11:58 提問
12:19 結尾
【 製作團隊 】
|企劃:蛋糕說話時屑屑請閉嘴
|腳本:蛋糕說話時屑屑請閉嘴
|編輯:土龍
|剪輯後製:Pookie
|剪輯助理:歆雅
|演出:志祺
——
【 本集參考資料 】
→Florent Quellier,《饞:貪吃的歷史》。台北,馬可孛羅,2015。
→The English Standard Version Bible: Containing the Old and New Testaments with Apocrypha. (2009). Oxford University Press.
→Prose F. Gluttony. Oxford University Press. 2003.
→Hill, S. E. (2011). Eating to Excess: The Meaning of Gluttony and the Fat Body in the Ancient World: The Meaning of Gluttony and the Fat Body in the Ancient World. abc-clio.
→Hull, E. M. (2011). Sex, drugs and gluttony: how the brain controls motivated behaviors. Physiology & behavior, 104(1), 173-177.
→The Evolution of Human Gluttony:hhttps://bit.ly/3f8G7VV
→Mythbusting Ancient Rome – the truth about the vomitorium:https://bit.ly/2Pb66kd
→Gluttony: rise, fall, and resurgence of a capital sin”:https://bit.ly/3r0NQaJ
→Gluttony, Gastronomy, and the Origins of ‘French’ Food:https://bit.ly/3s36XSR
→Our gigantic problem with portions: why are we all eating too much?:https://bit.ly/30Uv4qO
→Cargill, K. (2015). The psychology of overeating: food and the culture of consumerism. Bloomsbury Publishing.
→《史記.五帝本紀》:https://bit.ly/3cMAZnn
→Hill, S. E. (2011). Eating to Excess: The Meaning of Gluttony and the Fat Body in the Ancient World: The Meaning of Gluttony and the Fat Body in the Ancient World. abc-clio.
→Schwartz, H. (1986). Never satisfied: A cultural history of diets, fantasies, and fat. New York: Free Press.
→Smith T. (2013) Gluttony. In: Thompson P., Kaplan D. (eds) Encyclopedia of Food and Agricultural Ethics. Springer, Dordrecht. https://bit.ly/3cIkDw4
→破紀錄!28歲男改名「愛台灣鮑鮪鮭魚松葉蟹干貝龍蝦...」36字全台最長 :https://bit.ly/3cMWW5F
→《大餓》正式預告╱11.15 自然就素美!:https://bit.ly/310Fd5g
→「105公斤就該死嗎?」《大餓》血淋淋呈現胖女孩的辛酸減肥史引起熱烈共鳴!5大重點道出社會「微霸凌」:https://bit.ly/2P8L8T4
【 延伸閱讀 】
→饕餮書 蔡珠兒 聯合文學 2006:https://bit.ly/3tAHO23
\每週7天,每天7點,每次7分鐘,和我們一起了解更多有趣的生活議題吧!/
🥁七七仔們如果想寄東西關懷七七團隊與志祺,傳送門如下:
106台北市大安區羅斯福路二段111號8樓
🟢如有引用本頻道影片與相關品牌識別素材,請遵循此規範:http://bit.ly/shasha77_authorization
🟡如有業務需求,請洽:hi77@simpleinfo.cc
🔴如果影片內容有誤,歡迎來信勘誤:hey77@simpleinfo.cc
culture psychology 在 Cultural Psychology: Studying More Than the 'Exotic Other' 的相關結果
What Is Cultural Psychology? Cultural psychology is an interdisciplinary field that unites psychologists, anthropologists, linguists, and ... ... <看更多>
culture psychology 在 Culture & Psychology - SAGE Journals 的相關結果
Culture & Psychology addresses the centrality of culture necessary for a basic understanding of the psychology of human beings: their identity, ... ... <看更多>
culture psychology 在 Cultural psychology - Wikipedia 的相關結果
Cultural psychology is the study of how cultures reflect and shape the psychological processes of their members. The main tenet of cultural psychology has ... ... <看更多>