🇭🇰 #HongKong
💉 สรุปข่าวนอกรอบ เรื่อง #ฉีดวัคซีนโควิด
.
เมื่อวานเจอ 2 ข่าว เป็นข่าวจากรัฐบาลฮ่องกง 🇭🇰 เลย
จะว่าสำคัญมากก็ไม่ใช่ ไม่สำคัญก็ไม่เชิง
แต่อยากเอามาเม้า 😆 เอ๊ย เล่าสู่กันฟัง
.
==================
#ข่าวแรก รัฐบาลตอบโต้สื่อนอกบิดเบือนข้อมูล
==================
ข่าวบอกว่า เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา (12 กค) มีสื่อนอก (ไม่ระบุชื่อ) ออกข่าวว่า
.
รัฐบาลฮ่องกง 🇭🇰 ให้ผู้จัดจำน่ายวัคซีน #BioNTech (หรือ #Pfizer) ในฮ่องกง เก็บข้อมูลส่วนตัวผู้ฉีดวัคซีนได้
.
ซึ่งในข่าวระบุว่า มีการระบุอยู่ในเนื้อหาสัญญาซื้อขายระหว่างรัฐบาลกับผู้จัดจำหน่ายเลย ซึ่งก็คือ บริษัท Fosun Industrial ของจีนแผ่นดินใหญ่ 🇨🇳
.
รัฐบาลฮ่องกงก็ออกมาตอบโต้ว่า #ไม่เป็นความจริงโดยสิ้นเชิง
.
ในสัญญาระหว่างรัฐบาลกับ Fosun
ไม่มีการระบุให้ Fosun หรือ third party ใดๆ เข้าถึงหรือนำข้อมูลส่วนตัวของผู้ฉีดวัคซีนไปใช้
.
===================
#ข่าวที่สอง รพ ออกมาขอโทษผู้ฉีดวัคซีนโควิด หลังจากปักเข็มเปล่าแต่ไม่มีวัคซีนข้างใน 😅 (ยังไม่ได้ฉีดลมเข้าไปนะ)
===================
โฆษก รพ Prince of Wales (Sha Tin) ออกมาแถลงการณ์ขอโทษ และให้รายละเอียดเกี่ยวกับเคสฉีดวัคซีนโควิดรายหนึ่ง เรื่องมีอยู่ว่า
.
เมื่อตอนบ่ายวันจันทร์ที่ผ่านมา (12 กค)
มีผู้หญิงคนนึงไปฉีดวัคซีนโควิดที่ Ma On Shan Family Medicine Centre
ในข่าวไม่ได้ระบุชื่อวัคซีน แต่เท่าที่พี่แป๋วเช็คข้อมูล เข้าใจว่า ที่นี่ฉีดซิโนแวค
.
ความพีค คือ นางพยาบาลตาดีมาก ปักเข็มลงไปที่แขนแล้ว #เจอวัคซีนทิพย์ 😆 ในไซรินจ์มันไม่มีวัคซีน 😱 ก็เลยรีบดึงเข็มออก แล้วเริ่มกระบวนการฉีดใหม่อีกครั้ง
.
ทีนี้ คุณผู้หญิงที่ฉีดวัคซีนคนนี้ ก็คอมเพลนว่า
เธอรู้สึกมึนหัว ซีกซ้ายชา และอ่อนล้าเป็นเวลา 10 นาทีหลังฉีดเสร็จ
ซึ่งแพทย์ก็วินิจฉัยว่า ไม่มีภาวะเกี่ยวกับถุงลมนะ (No apparent swelling or surgical emphysema)
.
แต่คุณผู้หญิงคนนี้ ก็ยังคงรู้สึกไม่สบาย ก็เลยถูกส่งตัวมาที่ รพ Prince of Wales แผนกฉุกเฉิน
รพ เลยจัดตรวจชุดใหญ่ไฟกระพริบให้
.
ทั้งเอ็กซเรย์ปอด, ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, CT สแกนสมอง และอื่นๆ
.
สรุป ไม่พบอะไรผิดปกติเลย คุณผู้หญิงคนนี้ ก็เลยตัดสินใจกลับบ้าน
.
ยังไงก็ตาม รพ ก็ออกมาขอโทษคุณผู้หญิงคนนี้ พร้อมจะติดตามผลกับเธอต่อไป
และยังย้ำว่า จะกลับไปตรวจสอบกระบวนการฉีดวัคซีนร่วมกับองค์กร รพ ของฮ่องกง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์อย่างนี้อีก
.
ใครจะไปฉีดวัคซีน ก็อย่ากลัวเข็มจนหลับตาปิ๊ดปี๋กันนะ 😆
ลองสอดส่ายสายตาดูบ้าง เผื่อจะเจออะไรผิดปกติเหมือนเคสนี้
.
Source:
https://www.info.gov.hk/gia/general/202107/13/P2021071300803.htm
.
https://www.info.gov.hk/gia/general/202107/13/P2021071300857.htm
.
#EatwithPalLi #พี่แป๋วพากินเที่ยวสิงคโปร์ฮ่องกง 🇸🇬🇭🇰
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「emphysema」的推薦目錄:
- 關於emphysema 在 Eat with Pal Li - พี่แป๋วพากินเที่ยวสิงคโปร์ฮ่องกง Facebook 的最讚貼文
- 關於emphysema 在 Facebook 的精選貼文
- 關於emphysema 在 康康醫師超音波共筆 Facebook 的最讚貼文
- 關於emphysema 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於emphysema 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於emphysema 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
- 關於emphysema 在 Emphysema (chronic obstructive pulmonary disease) 的評價
emphysema 在 Facebook 的精選貼文
社會中有疑問,為什麼先替老弱打疫苗?可以看看邏輯和外面例子。
香港疫苗供應,依賴外來供應,一句到尾,無人敢保證。
社會是我們市民的家,老人家與長期病患者,中了新冠肺炎,死亡率比其他人高,是大家都知道的。
因此,若茂叔只可以偷運幾劑的疫苗,到自己家中,被執法者拘捕之前,一定先替風險高的家人注射。
美國也是先幫老弱、醫護、和部分維持社會運作人員打針。CDC 公佈: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/vaccines/recommendations.html
還有,在外國,煙民爭取打針,不是離開,也不是「被離開」。
Here’s Chicago’s full list of health conditions that qualify recipients for a COVID-19 vaccination starting March 29:
Cancer (current diagnosis)
Cardiac, cardiovascular, and cerebrovascular disorders (including heart disease, coronary artery disease, and hypertension or high blood pressure)
Chronic Kidney Disease
Chronic respiratory disorders (including cystic fibrosis, moderate to severe asthma, pulmonary fibrosis, and chronic obstructive pulmonary disease/emphysema [COPD])
Diabetes (Type 1 and Type 2)
Disability: physical, developmental, visual, hearing, or mental
Neurologic conditions (including dementia)
Down Syndrome
Immunocompromised state (weakened immune system) including from blood or bone marrow transplant, immune deficiencies, HIV, use of corticosteroids, or use of other immune weakening medicines
Liver disease (including hepatitis)
Pregnancy
Obesity: BMI ≥30 kg/m2
Schizophrenia spectrum disorders
Sickle Cell Disease
emphysema 在 康康醫師超音波共筆 Facebook 的最讚貼文
#先天性構造異常
從關乎著我們出生後的重要器官之一---#肺臟 🫁先來說起
寶寶出生後要先能呼吸才是重點阿!!!
(當然心臟也是特別重要,但是先天性心臟病實在是太多太多太多了......無限♾️)
#寶寶的肺成熟與否超音波能診斷嗎
大家比較常聽到的說法是,過了34週之後,胎兒的肺臟相對成熟,就算早產,也比二十幾周的寶寶好很多。
因此有很多安胎的媽媽在照超音波時會問: 醫師,那肺部成熟了嗎? 看得出來嗎?🧐
❌❌❌很抱歉,沒有辦法。
超音波有個限制,能看各個器官的構造外觀異常,但是肺臟成熟與否,呼吸功能如何,沒有辦法產期判斷。
那...肺🫁在超音波下看得到嗎? 又要看甚麼勒?
肺部在超音波底下,應該要在胸腔裡,且看起來是均勻的偏灰色,旁邊緊鄰著一個很重要的器官也就是心臟🫀。
通常超音波會focus在心臟是否有先天性心臟病,針對肺臟通常瞄一眼就過去了。
但是肺臟偶爾也是會出現問題的!
—-
以下為常見的肺部病灶:
#先天性肺部呼吸道畸形
先天性肺部呼吸道畸形(congenital pulmonary airway malformation, #CPAM),以前叫做先天性囊腫性腺瘤樣畸形(congenital cystic adenomatoid malformation, #CCAM)。
產前最常見的肺部異常之一,占了先天性肺部病灶的1/4。
肺部正常組織被或大或小的泡泡所取代,有可能導致肺部發育受限,或是容易發炎感染,出生後需手術治療。
比較常見的三類: (Stocker classification)
✔️Type 1: (大泡)最常見,超音波底下會有明顯的大泡泡,2-10公分都有。
✔️Type 2: (中泡)第二常見,較小的泡泡,大部分都小於兩公分。這種type有可能合併游離肺。
✔️Type 3: (迷你泡)非常小,<5mm的泡泡們組成,超音波底下看起來反而是整塊很亮偏白的病灶。
✏️在產前的追蹤來說,我們會量測病灶的大小,並和頭圍相比得到一個數值(CVR),再藉由CVR的大小來決定之後追蹤的密集程度。
✏️長大速度到30週左右漸緩,通常不會再更大了。(會縮小的比例大概20%)
✏️通常有很大一顆泡泡的病灶會容易發生胎兒水腫,要特別小心。
✏️預後跟病灶的大小比較相關,分類其次。
#游離肺
Pulmonary sequestration是個單獨離開肺葉的病灶,沒有用的肺組織。
分成肺葉內(intralobar)或是肺葉外(extralobar)兩種。
肺葉內的病灶通常埋在肺中;肺葉外的病灶通常長在腹主動脈附近,大部分在左邊,也是靠近縱膈腔後或是腎上腺附近。
但是超音波下看來的病灶本身型態和CPAM很難區分,其實根本是非常類似的外貌。如何區分請看下一段~
✏️通常是偶發,不用特別做染色體檢查。
✏️要想到CDH, Scimitar syndrome。
✏️有三分之二在產前會縮小。
🔎🔎🔎如何區分上述兩種異常🔎🔎🔎
基本上超音波看起來有可能是非常相似的! 這時候要怎麼區分呢? 主要是看支配病灶的血管從哪兒來?
簡單來說,CPAM是由肺部血管(肺動脈)支配;游離肺的血流供應是直接由主動脈來的。
但是,這兩種病灶其實是好朋友,因為他們也很常一起發生! 對於之後的治療大同小異,所以大家不用太擔心沒辦法區分這兩種唷!
—-
以下為少見之肺部異常
#先天性肺葉氣腫
Congenital lobar emphysema為肺葉的過度充氣。超音波底下通常是 #亮白色的病灶(echogenic),可能有泡泡狀也可能沒有。
沒有額外支配的血管。如果太大,有可能造成縱膈腔偏移,羊水過多或胎兒水腫。另外14%合併有先天性心臟異常。
✏️最常發生的肺葉: 左上>右中>右上
✏️大約只有5%會影響兩個肺葉以上
#支氣管囊腫
Bronchogenic cysts產前少見。通常是 #一大顆單一的水泡。
在肺門、縱膈腔及肺實質都有,好發於下肺葉,通常在體檢時被意外檢查出來。
#先天性高位氣道阻塞綜合症
Congenital high airway obstruction syndrome (#CHAOS),發生率極低,先天性喉閉鎖,或許合併有食道氣管瘺管。
超音波下會看到氣管擴張,#雙側肺部變大變白,把橫膈膜往下壓,甚至也會壓迫到心臟的位置。
✏️可以藉由MRI來判斷阻塞的位置
✏️通常建議做染色體晶片檢驗
🔎🔎🔎怎麼跟 #CPAM 或是 #肺葉氣腫 分別?🔎🔎🔎
✔️CPAM較常發生在單側,肺葉氣腫也是較常發生在單一肺葉。
✔️CHAOS通常是雙側且所有肺葉都影響。
#CPAM
#lungsequestration
#CHAOS
#才講一個器官就真的混亂chaos了
#附圖為之前整理的CPAM
emphysema 在 Emphysema (chronic obstructive pulmonary disease) 的推薦與評價
... <看更多>