韓國開了「亞洲升息第一槍」!
上個月,韓國央行宣布基準利率將從 0.5% 上調 1 碼至 0.75%
是韓國近 3 年來首次 #升息
同時也調升今年的 #通貨膨脹預測,從 1.8% 升至 2.1%
韓國央行的通貨膨脹目標為 2%,他們預期今年會超過
也重申今年的 #經濟成長率(GDP)可達 4%,維持預測
(順帶一提,台灣則是預測 5.5~6% 的 GDP 成長)📈
💡 韓國為何要升息呢?
當實質利率「過度負值」時,一個自然影響是資金會流向 #房市
一方面房貸便宜,另一方面投資人擔心錢存銀行會被通膨吃掉 🏗
因此積極地做資產配置 💸💸💸
韓國 7 月房價年增率為 14.3%,為 2002 年來年增最快的一個月
比起疫情及經濟,更憂資產泡沫化,因此才「讓它升、讓它升」
💡 韓國還會繼續升息嗎?
疫情爆發後韓國降息了 2 次,共 3 碼(台灣則降了 1 次,1 碼)
市場預期這 3 碼會被逐漸升回,8 月一次、11 月一次,明年再一次
回到疫情發生前的 1.25%,之後再看經濟狀況及美國 FED 的動作 🤓
升息對經濟的影響是什麼?台灣呢?大家覺得也會跟進嗎?
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過84萬的網紅BLV Anh Quân,也在其Youtube影片中提到,FOOTBALL EXTRA | NHỮNG PHI VỤ CHI PHỐI ĐÌNH ĐÁM CỦA FIFA VỚI WORLD CUP Trận chung kết đáng nhớ, bê bối và gây tranh cãi nhất trong lịch sử World Cup...
「korea2002」的推薦目錄:
- 關於korea2002 在 StockFeel 股感,來自生活 Facebook 的最佳貼文
- 關於korea2002 在 Facebook 的精選貼文
- 關於korea2002 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於korea2002 在 BLV Anh Quân Youtube 的精選貼文
- 關於korea2002 在 BLV Anh Quân Youtube 的最佳貼文
- 關於korea2002 在 Totti's red card against Korea 2002 | World Cup ... 的評價
- 關於korea2002 在 Germany - Korea 2002 | Full Extended Highlights 1080i HD 的評價
- 關於korea2002 在 Ronaldinho's free kick goal against England at World Cup ... 的評價
korea2002 在 Facebook 的精選貼文
100 PHIM CHÂU Á XUẤT SẮC
1. Tokyo Story (Ozu Yasujiro, 1953) – Japan
2. Rashomon (Kurosawa Akira, 1950) – Japan
3. In the Mood for Love (Wong Kar Wai, 2000) – Hong Kong
4. The Apu Trilogy (Satyajit Ray) – India
5. A City of Sadness (Hou Hsiao-hsien, 1989) – Taiwan
6. Seven Samurai (Kurosawa Akira, 1954) – Japan
7. A Brighter Summer Day (Edward Yang, 1991) – Taiwan
8. Spring in a Small Town (Fei Mu, 1948) – China
9. Still Life (Jia Zhang Ke, 2006) – China
10. The Housemaid (Kim Ki-young, 1960) – Korea
11. Close Up (Abbas Kiarostami, 1990) – Iran
12. A One and a Two (Edward Yang, 2000) – China
13. Spring, Summer, Fall, Winter… and Spring (Kim Ki-duk, 2003) – Korea
14. Oldboy (Park Chan-Wook, 2003) – Korea
15. Late Spring (Ozu Yasujiro, 1949) – Japan
16. A Taste of Cherry (Abbas Kiarostami, 1998) – Iran
17. Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives (Apichatpng Weerasethakul, 2010) – Thailand
18. Ugetsu Monogatari (Mizoguchi Kenji, 1953) – Japan
19. The Music Room (Satyajit Ray, 1958) – India
20. The Cloud-capped Star (Ritwik Ghatak, 1960) – India
21.Where is the Friend’s Home (Abbas Kiarostami, 1987) – Iran
22. Raise the Red Lantern (Zhang Yimou, 1991) – China
23. Sopyonje (Im Kwon Taek, 1993) – Korea
24. Crouching Tiger Hidden Dragon (Ang Lee, 2000) – Taiwan
25. Spirited Away (Miyazaki Hayao, 2001) – Japan
26. Tropical Malady (Apichatpong Weerasethakul, 2004) – Thailand
27. Mother (Bong Joon-ho, 2008) – Korea
28. Poetry (Lee Chang-dong, 2010) – Korea
29. A Separation (Asghar Farhadi, 2011) – Iran
30. A Touch of Zen (King Hu, 1969) – Taiwan
31. Manila in the Claws of Light (Lino Brocka, 1975) – Philippines
32. Mandala (In Kwon Taek, 1981) – Korea
33. A Moment of Innocence (Mohsen Makhmalbaf, 1981) – Iran
34. Happy Together (Wong Kar Wai, 1997) – Hong Kong
35. The River (Tsai Ming-Liang, 1997) – Taiwan
36. Blissfully Yours (Apichatong Weerasethakul, 2002) – Thailand
37. Awaara (Raj Kapoor, 1951) – India
38. Floating Clouds (Naruse Mikio, 1955) – Japan
39. Pyaasa (Guru Dutt, 1957) – India
40. The Lonely Wife (Satyajit Ray, 1964) – India
41. The Cow (Dariush Mehrjui, 1969) – Iran
42. Red Sorghum (Zhang Yimou, 1987) – China
43. Days of Being Wild (Wong Kar Wai, 1990) – Hong Kong
44. Farewell My Concubine (Chen Kaige, 1993) – China
45. Vive l’amour (Tsai Ming Liang, 1994) – Taiwan
46. The Adopted Son (Aktan Abdykalykov, 1998) – Kyrgyzstan
47. Peppermint Candy (Lee Chang-dong, 1999) – Korea
48. I Was Born, But… (Ozu Yasujiro, 1932) – Japan
49. The Story of the last Chrysanthemums (Mizoguchi Kenji, 1939) – Japan
50. Living [Ikiru] (Kurosawa Akira, 1952) – Japan
51. Sansho The Bailiff (Mizoguchi Kenji, 1954) – Japan
52. The House is Black (Forough Farrokhzad, 1963) – Iran
53. Woman in the Dunes (Teshigahara Hiroshi, 1964) – Japan
54. Scattered Clouds (Naruse Mikio, 1967) – Japan
55. Daughter in Law (Khodzhakuli Narliyev, 1972) – Turkmenistan
56. Dersu Uzala (Kurosawa Akira, 1975) – Japan
57. In the Realm of the Senses (Oshima Nagisa, 1976) – Japan
58. A time to live and a time to die (Hou Hsiao-hsien, 1985) – Taiwan
59. Through the Olive Trees (Abbas Kiarostami, 1994) – Iran
60. Children of Heaven (Majid Majidi, 1997) – Iran
61. Osama (Siddiq Barmak, 2003) – Afghanistan
62. West of Tracks (Wang Bing, 2003) – China
63. Paradise Now (Hany Abu Assad, 2005) – Palestine
64. Mukhsin (Yasmin Ahmad, 2006) – Malaysia
65. Secret Sunshine (Lee Chang-dong, 2007) – Korea
66. The Goddess (Wu Yonggang, 1934) – China
67. Humanity and Paper Balloons (Yamanaka Sadao, 1937) – Japan
68. Street Angels (Yuan Mizhi, 1937) – China
69. The Life of Oharu (Mizoguchi Kenji, 1952) – Japan
70. Mother India (Mehboob Khan, 1957) – India
71. Floating Weeds (Ozu Yasujiro, 1958) – Japan
72. Good Morning (Ozu Yasujiro, 1959) – Japan
73. Paper Flowers (Guru Dutt, 1959) – India
74. The Naked Island (Shindo Kaneto, 1960) – Japan
75. Intentions of Murder (Imamura Shohei, 1964) – Japan
76. A Man Vanishes (Imamura Shohei, 1967) – Japan
77. Holiday (Lee Man-hee, 1968) – Korea
78. The Cruel Sea (Khaled Al Siddiq, 1972) – Kuwait
79. Insiang (Lino Brocka, 1976) – Philippines
80. Vengeance Is Mine (Imamura Shohei, 1979) – Japan
81. Batch ’81 (Mike de Leon, 1982) – Philipines
82. Taipei Story (Edward Yang, 1984) – Taiwan
83. The Runner (Amir Naderi, 1985) – Iran
84. My Neighbor Totoro (Miyazaki Hayao, 1988) – Japan
85. Ju Dou (Zhang Yimou, 1990) – China
86. Life, and Nothing More (and Life Goes on…) (Abbas Kiarostami, 1992) – Iran
87. The Puppetmaster (Hou Hsiao-hsien, 1993) – Taiwan
88. Chungking express (Wong Kar Wai, 1994) – Hong Kong
89. The Scent Of Green Papaya (Tran Anh Hung, 1994) – Vietnam, France
90. Gabbeh (Mohsen Makhmalbaf, 1995) – Iran
91. The White Balloon (Jafar Panahi, 1995) – Iran
92. The Day a Pig Fell into The Well ( Hong Sangsoo, 1996) – Korea
93. Hana-bi (Kitaro Takeshi, 1997) – Japan
94. Flowers of Shanghai (Hou Hsiao-hsien, 1998) – Taiwan
95. Chunhyang (Im Kwon Taek, 1999) – Korea
96. The Color of Paradise (Majid Majidi, 1999) – Iran
97. The Poet (Garin Nugroho, 1999) – Iran
98. Blackboards (Samira Makhmalbaf, 2000) – Iran
99. The Circle (Jafar Panahi, 2000) – Iran
100. The Day I became a Woman (Marzieh Meshkini, 2000) – Iran
#whatever
korea2002 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
ทำไม แบรนด์อิเล็กทรอนิกส์ญี่ปุ่น ได้รับความนิยม ลดลง /โดย ลงทุนแมน
ย้อนกลับไปในช่วง 10 ถึง 20 ปีก่อน
ประเทศญี่ปุ่น ถือเป็นเจ้าแห่งการสร้างสรรค์สินค้าอิเล็กทรอนิกส์
ที่ได้สร้างความฮือฮาให้กับทั่วโลกไว้มากมาย ยกตัวอย่างเช่น
เครื่องเล่นเทปคาสเซตต์แบบพกพา หรือ Walkman
เครื่องเล่นแผ่นซีดีและดีวีดี
เครื่องเล่นเกมอย่าง Game Boy และ PlayStation
เครื่องคิดเลขทางวิทยาศาสตร์อย่าง Casio
แต่ปัจจุบัน สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะที่เป็นนวัตกรรมระดับโลก
อย่างเช่น สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต หรือพวกเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เติมคำว่าสมาร์ตเข้าไป
กลับถูกคิดค้นและพัฒนาโดยสหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ และจีน เป็นส่วนใหญ่
แล้วทำไมสินค้าอิเล็กทรอนิกส์จากญี่ปุ่น ไม่ได้เป็นผู้นำเท่าเมื่อก่อน ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ช่วงทศวรรษ 1970s ประเทศญี่ปุ่นเริ่มมาเป็นผู้นำด้านสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ที่โดดเด่นของโลก
โดยเริ่มมาจากการรับเทคโนโลยีจากชาติตะวันตกในช่วงสงคราม และพัฒนาต่อยอด
จนกลายมาเป็นผู้คิดค้นเทคโนโลยีได้เอง อย่างเช่นตัวอย่างเหล่านี้
Sony ขายเครื่องเล่นเทปคาสเซตต์แบบพกพา หรือ Walkman เป็นเจ้าแรกของโลก
Toshiba และ Epson ขายแล็ปท็อปในตลาด Mass เป็นเจ้าแรกของโลก
Kyocera ขายโทรศัพท์มือถือที่มีกล้อง เป็นเจ้าแรกของโลก
หรือถ้าลองสังเกตจากสินค้าอิเล็กทรอนิกส์รอบตัวเรา ก็มีเป็นแบรนด์จากญี่ปุ่นอยู่มากมาย
ยิ่งถ้าเป็นเมื่อประมาณ 20 ปีก่อน ไอเทมนำสมัยที่ได้รับความนิยมสูงส่วนใหญ่ ก็เป็นแบรนด์จากญี่ปุ่นทั้งนั้น
แล้วอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบันเป็นอย่างไร ?
ถ้าแบ่งผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นสองกลุ่มใหญ่
จะแบ่งได้เป็น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
และวัตถุดิบสำคัญที่ใช้ในการผลิตอย่างเซมิคอนดักเตอร์
สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันในตลาดโลก ตัวอย่างเช่น
สมาร์ตโฟนและแท็บเล็ต เจ้าตลาดคือ Samsung และ Apple
แล็ปท็อป เจ้าตลาดคือ Lenovo และ HP
เครื่องซักผ้า เจ้าตลาดคือ Haier และ Whirlpool
ตู้เย็น เจ้าตลาดคือ Haier และ LG
โทรทัศน์ เจ้าตลาดคือ Samsung และ LG
ซึ่งแบรนด์ทั้งหมดที่ว่ามานี้ เป็นของประเทศสหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ และจีน
หรือแม้แต่อุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ของโลก ก็มีส่วนแบ่งตลาดหลัก ๆ มาจาก
TSMC ของไต้หวัน และ Samsung ของเกาหลีใต้
จะสังเกตได้ว่า สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน
เริ่มไม่เห็นชื่อแบรนด์จากประเทศญี่ปุ่นแล้ว
แล้วทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ?
จากมุมมองของอดีตผู้บริหารและพนักงานระดับสูงของบริษัทอิเล็กทรอนิกส์ในญี่ปุ่น
รวมไปถึงมุมมองจากนักวิเคราะห์ สามารถรวบรวมเป็นปัจจัย
ที่ทำให้ญี่ปุ่นเริ่มหายไปจากตำแหน่งผู้นำในตลาดอิเล็กทรอนิกส์ได้ 4 ปัจจัยหลัก
ปัจจัยแรก สินค้าคุณภาพสูง จนเกินความต้องการของผู้ซื้อ
สินค้าอิเล็กทรอนิกส์จากประเทศญี่ปุ่น ขึ้นชื่อเรื่องคุณภาพ
สะท้อนได้จากปรัชญาในการผลิตที่เรียกว่า “Monozukuri” หรือ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์
ที่มีคุณภาพสูงโดยใช้ทักษะและเทคโนโลยี
แต่คุณภาพของสินค้า ก็ต้องตามมาด้วยราคาขายที่สูงขึ้นตาม
ซึ่งคุณภาพบางอย่าง ก็สูงเกินความต้องการของผู้ใช้งานจริง
โดยที่หลายคนไม่รู้สึกว่าจำเป็นต้องจ่ายแพง เพื่อให้ได้ฟังก์ชันการใช้งานเหล่านั้น ยกตัวอย่างเช่น
Sony เป็นบริษัทแรก ๆ ของโลกที่ขายโทรทัศน์จอ LCD
ก่อนที่หนึ่งปีให้หลัง Samsung จะวางขายและใช้ชื่อว่าจอ LED แทน
ขณะที่ Sony ใช้กลยุทธ์สินค้าคุณภาพสูงมาก เทคโนโลยีหน้าจอสุดล้ำ
หน้าจอบางที่สุด ส่งผลให้ราคาขายก็สูงขึ้นตามไปด้วย
Samsung กลับเน้นการตั้งราคาแบบเข้าถึงคนส่วนใหญ่ มากกว่ากลุ่มที่มีกำลังซื้อสูง
จึงคุมต้นทุนการผลิต โดยเลือกเฉพาะฟังก์ชันการใช้งานที่จำเป็นแทน และเน้นที่ดีไซน์
ซึ่งกลยุทธ์แบบ Samsung ก็สามารถครองส่วนแบ่งตลาดไปได้มากที่สุด
หรือในการแข่งขันของสมาร์ตโฟน ที่มี iPhone ของ Apple เป็นผู้บุกเบิก
Sony และ Samsung ต่างเข้ามาแข่งขันด้วย ซึ่งทั้งคู่ยังคงใช้กลยุทธ์แบบเดิม
Sony Xperia มีฟังก์ชันการใช้งานครบครัน ในขณะที่ Samsung Galaxy มีหลายรุ่นให้เลือก โดยยอมลดทอนฟังก์ชันการใช้งานลงมา เพื่อให้ตั้งราคาขายแบบเข้าถึงง่าย จึงยืนระยะได้นานและยังคงเป็นแบรนด์สมาร์ตโฟนอันดับต้น ๆ ของโลก
ปัจจัยที่สอง ให้ความสำคัญเรื่องการตลาดน้อยเกินไป
บริษัทอิเล็กทรอนิกส์ในญี่ปุ่น เน้นการแข่งขันด้วยเทคโนโลยี เช่น การคิดค้นสินค้ารุ่นใหม่ที่บางสุด มีขนาดเล็กที่สุด แต่ยังขาดปัจจัยที่มีผลโดยตรงกับลูกค้า นั่นคือดีไซน์ ความง่ายในการใช้งาน และวิธีการสื่อสารกับลูกค้า ยกตัวอย่างเช่น
ปี 2004 Sony ขายอุปกรณ์อ่านอีบุ๊กที่ชื่อว่า Librie เป็นเจ้าแรกของโลก
ก่อนหน้าที่ Amazon จะขาย Kindle นานถึง 3 ปี
แต่เหตุผลที่ Kindle กลายมาเป็นเจ้าตลาดอุปกรณ์อ่านอีบุ๊ก
นอกเหนือจากการที่ใช้งานง่ายกว่าแล้ว
Amazon โฟกัสที่การขายอีบุ๊กมากกว่าตัวอุปกรณ์อ่าน
ในขณะที่ Sony โฟกัสที่การขายตัวอุปกรณ์อย่างเดียว
Kindle จึงเชื่อมโยงถึงผู้ซื้อได้มากกว่า
ในด้านของเหตุผลที่ว่าซื้ออุปกรณ์นี้ไปเพื่ออะไร
และกลายมาเป็นเจ้าตลาดในที่สุด
ปัจจัยที่สาม โดดเด่นในการพัฒนาฮาร์ดแวร์ แต่ไม่ถนัดพัฒนาซอฟต์แวร์
สินค้าที่แบรนด์จากญี่ปุ่นคิดค้นแล้วประสบความสำเร็จ มักเป็นการพัฒนาที่ตัวอุปกรณ์และเครื่องกล
อย่างเช่นเครื่องเล่น Walkman, เครื่องเล่นซีดี และเครื่องเล่นเกม ซึ่งได้รับความนิยมสูงมากในช่วงที่เริ่มวางขาย แต่สินค้าเหล่านี้ไม่ได้มีระบบปฏิบัติการ หรือระบบนิเวศที่ดึงให้ผู้ใช้งานยังคงใช้ฮาร์ดแวร์เหล่านั้นไปเรื่อย ๆ
ในขณะที่การคิดค้นระบบปฏิบัติการของ Apple เป็นตัวอย่างที่ดีในการทำฮาร์ดแวร์ให้เป็นมากกว่าฮาร์ดแวร์
iOS และ macOS ได้เข้ามามีบทบาททำให้ธุรกิจซอฟต์แวร์เติบโตแบบก้าวกระโดด
โดยประเทศญี่ปุ่นซึ่งยังไม่ถนัดในเรื่องนี้ จึงไล่ตามประเทศที่เป็นผู้นำด้านซอฟต์แวร์อย่างสหรัฐอเมริกาไม่ทัน
ปัจจัยสุดท้าย มุ่งพัฒนาเทคโนโลยี ด้วยตัวเอง
ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุด ก็คือผู้ผลิตเซมิคอนดักเตอร์ชั้นนำในญี่ปุ่น
ในทศวรรษ 1990s รู้หรือไม่ว่าบริษัทสัญชาติญี่ปุ่นอย่าง NEC ครองส่วนแบ่งตลาดเซมิคอนดักเตอร์
มากที่สุดในโลก และยังมี Toshiba กับ Hitachi ที่มีส่วนแบ่งตลาดรองลงมา
แต่ในทศวรรษ 2000s ผู้นำในตลาดเซมิคอนดักเตอร์กลายเป็น Intel จากสหรัฐอเมริกา
ขณะที่ Samsung จากเกาหลีใต้เริ่มไล่ตามมาติด ๆ
ปี 2002 Hitachi จึงจับมือกับ Mitsubishi ร่วมกันตั้งบริษัทผลิตชิปที่ชื่อว่า Renesas
เพื่อช่วยพัฒนาเซมิคอนดักเตอร์ไปด้วยกัน และปกป้องตำแหน่งผู้นำในตลาด
ก่อนที่ NEC จะเข้ามาควบรวมในอีก 7 ปีถัดมา
แต่การร่วมมือกันคิดค้นเทคโนโลยีผลิตชิปด้วยตัวเอง มีจุดอ่อนที่สำคัญคือ ช้า
ขณะที่ช่วงนั้น เกาหลีใต้ ไต้หวัน และจีน ใช้กลยุทธ์แบบที่ญี่ปุ่นเคยทำในอดีต
นั่นคือเรียนรู้เทคโนโลยีจากประเทศอื่น
แล้วนำมาต่อยอด ซึ่งกลยุทธ์แบบนี้มีจุดแข็งที่สำคัญคือ ความเร็ว
นั่นจึงทำให้ปัจจุบัน TSMC จากไต้หวัน และ Samsung จากเกาหลีใต้
กลายเป็นผู้นำในการผลิตชิปได้ในที่สุด
และทั้งหมดนี้ คือปัจจัยหลัก ที่ทำให้แบรนด์จากประเทศญี่ปุ่น
เริ่มหายไปจากตำแหน่งผู้นำในสินค้าอิเล็กทรอนิกส์
ยิ่งในช่วงหลังปี 2010 ที่สมาร์ตโฟนและแท็บเล็ตกลายมาเป็นสินค้าจำเป็น
และแบรนด์ที่เป็นเจ้าตลาดในสินค้าเหล่านั้น ก็พัฒนาสินค้าประเภทอื่น
จนเป็นผู้นำในตลาดสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ไปได้เกือบทุกประเภท
ขณะที่บริษัทอิเล็กทรอนิกส์ยักษ์ใหญ่ในญี่ปุ่น กลับต้องผ่านช่วงล้มลุกคลุกคลาน
บางบริษัทต้องเผชิญการขาดทุนอย่างหนัก จนต้องหาทางอยู่รอดกันต่อไป ยกตัวอย่างเช่น
Sharp ขายกิจการให้ Foxconn ของไต้หวันไปแล้ว
Panasonic ควบรวมกับ Sanyo
ขณะที่บริษัทที่ได้ไปต่อ ก็ยังคงมีผลประกอบการที่ตามหลังคู่แข่ง ซึ่งเรื่องนี้ก็ส่งผลให้งบลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา มีน้อยลงไปด้วย การเร่งความเร็วในการไล่ตามคู่แข่ง จึงทำได้ไม่ง่ายนัก
ก็ต้องติดตามกันต่อไปว่าแบรนด์อิเล็กทรอนิกส์ยักษ์ใหญ่ในญี่ปุ่น
จะแก้เกมจนกลับสู่การเป็นผู้นำในตลาดโลกได้อีกครั้งหรือไม่
หรือจะเสียตำแหน่งไป แบบไม่มีวันทวงคืน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.wsj.com/articles/SB10000872396390444840104577551972061864692
-https://www.bbc.com/news/world-asia-21992700
-https://money.cnn.com/2017/05/04/technology/japanese-companies-fall-toshiba-olympus-sanyo-sharp/index.html
-https://en.wikipedia.org/wiki/Electronics_industry
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_Japanese_inventions_and_discoveries#Audio_technology
-https://www.grandviewresearch.com/industry-analysis/appliances-market
-https://www.icinsights.com/news/bulletins/Lone-Japanese-Semiconductor-Supplier-Ranked-Among-Top-10-In-1H13/
-https://technology.inquirer.net/89835/from-sony-to-samsung-how-tech-leadership-migrated-from-japan-to-korea
korea2002 在 BLV Anh Quân Youtube 的精選貼文
FOOTBALL EXTRA | NHỮNG PHI VỤ CHI PHỐI ĐÌNH ĐÁM CỦA FIFA VỚI WORLD CUP
Trận chung kết đáng nhớ, bê bối và gây tranh cãi nhất trong lịch sử World Cup. Vậy chuyện gì đã xảy ra vào ngày 30 tháng 7 năm 1966? Tại sân Wembley, đội tuyển Anh đối đầu với Tây Đức để tranh chức vô địch đầu tiên trong lịch sử. Đội tuyển Anh đã có hành trình bất bại, thậm chí loại cả Bồ Đào Nha. Tuy nhiên, dưới góc nhìn của Nữ hoàng Elizabeth đệ nhị thì đội Anh đã bị làm nhục bởi Helmut Haller.....
LINK SUBSCRIBE : http://bit.ly/anhquanblv
------------------------------
Đừng quên theo dõi BLV Anh Quân trên:
• Youtube: www.youtube.com/c/BLVAnhQuan
• Instagram: www.instagram.com/BLVAnhQuan
----------------------------------------------------------------
© Bản quyền thuộc về BLV Anh Quân
© Do not Reup.
#BLVAnhQuan #FifaWorldCup #WorldCup2002 #Korea2002 #EnglandvsGermany #WorldCup2022 #Qatar #FootballExtra #Extra #HelmutHaller #WorldCup1966 #binhluanbongda #tintucbongda
korea2002 在 BLV Anh Quân Youtube 的最佳貼文
THE LOCKER ROOM NO.10 | HÀN QUỐC 2002 - DIỆU KÌ HAY VẾT GỢN WORLD CUP
Chuyến hành trình của Hàn Quốc ở World Cup 2002, sẽ được nhắc mãi trong lịch sử World Cup, về sự bất ngờ, vượt khó, hay cả những điều gì đó được gọi là khó hiểu. Nhiều người còn đặt tên cho nó là Scandal World Cup.
LINK SUBSCRIBE : http://bit.ly/anhquanblv
------------------------------
Đừng quên theo dõi BLV Anh Quân trên:
• Youtube: www.youtube.com/c/BLVAnhQuan
• Instagram: www.instagram.com/BLVAnhQuan
----------------------------------------------------------------
© Bản quyền thuộc về BLV Anh Quân
© Do not Reup.
#BLVAnhQuan #Worldcup2002 #Korea2002 #Koreascandal2002 #Worldcupscandal #KoreavsItalia2002 #KoreavsPortugal2002 #KoreavsSpain2002 #Southkorea2002 #Southkoreaworldcup #Disgraceworldcup #Koreamiracle2002 #Scandalworldcup2002 #Amazingmoments2002 #riggedworldcup2002 #Guushiddinkkorea2002 #Worlcup2002referee #Disgraceofsport #Consiparyworldcup2002 #Italiacry2002 #Ahnjunhwan2002 #Parkjisung2002 #KoreavsJapan2002 #Seolkiheonvsitalia #Southkoreamoments2002 #binhluanbongda #tintucbongda
korea2002 在 Germany - Korea 2002 | Full Extended Highlights 1080i HD 的推薦與評價
Germany - Korea 2002 | Full Extended Highlights 1080i HD |. 23K views · 1 year ago ...more. VintageHDtv. 69.4K. Subscribe. 69.4K subscribers. ... <看更多>
korea2002 在 Ronaldinho's free kick goal against England at World Cup ... 的推薦與評價
Ronaldinho's free kick goal against England at World Cup Korea2002 in amazing International Superstar Soccer view! ... <看更多>
korea2002 在 Totti's red card against Korea 2002 | World Cup ... 的推薦與評價
Perfect decision, korean player got the ball, and Totti decided to go down for the penalty. You can see that he is falling even before his foot ... ... <看更多>