了解你的負能量,不要被杏仁核綁架
都市生活快速的生活步調引發人們許多負面情緒,如恐慌、焦慮和憂鬱等,甚至引起犯罪與暴力行為。跟大家分享一個有趣的研究,從研究人員分析發現都市化越高的地方心理健康問題越多,像是憂鬱症、焦慮症甚至精神分裂症狀。造成這樣現象的背後機制仍然不清楚,為了了解這個現象,德國研究團隊從腦科學角度探討都市化如何影響大腦,嘗試比較不同居住環境下對情緒的影響。人的情緒反應中樞在於腦部杏仁核(amygdala),是偵測外界威脅的雷達,負責掌管焦慮、驚嚇、恐懼等負面情緒。當現實生活遭遇引發強烈負面情緒的狀況時,杏仁核會直覺反應外界的刺激並依照慣性模式做出反應,這種狀況被稱為「杏仁核劫持(amygdala hijack)」。舉例來說,有時候當下情緒一來,很容易衝動動怒,這怒氣便是由杏仁核產生的,如果杏仁核很容易被活化就代表情緒反應很快不容易到控制。藉著使用功能性磁造影技術(fMRI,functional Magnetic Resonance Imaging),研究團隊將受試者送進fMRI機器中想辦法刺激他們給受試者一些壓力,藉以分析居住在城市、小鎮、以及鄉村居民腦部情緒中樞的變化。他們發現在受到壓力的刺激下,大腦中負責處理情緒調節與壓力反應的杏仁體,在居住於都市中的人有較強烈的活化反應,居住鄉村者則較少。因此他們認為,如果居住在生活步調快速、吵雜又繁忙的城市,人們的生活模式會刺激腦內的杏仁體因長期的壓力而反應過度。除此之外,研究團隊也發現居住於城市愈久的人,前扣帶皮層(ACC, anterior cingulate cortex,可抑制反應過度)與腦內杏仁體的聯繫減少,所以對於衝動情緒的調控能力也降低了。
這個研究總結發現居住在生活步調快速、吵雜又繁忙的城市,人們的生活模式確實會受到影響,刺激腦內的杏仁體因長期的壓力,而容易反應過度;且住城市愈久的人,腦內杏仁體與前扣帶皮質的聯繫減少,因此,憂鬱症、焦慮症、暴力行為的發生率增加了。這研究以腦神經科學的方式驗證環境對我們的影響。常常有人好奇喜歡大自然的人是不是比較不容易發脾氣,其實從這研究就可以看得出來答案了。
Lederbogen, et al, (2011). City living and urban upbringing affect neural social stress processing in humans. Nature, 474, 498–501.
magnetic resonance imaging 在 國研院科政中心 Facebook 的最讚貼文
🔍 #政府研究資訊系統GRB
👀腦中風快篩之創新影像技術
👉目前診斷腦中風的方法有腦部電腦斷層(Computed Tomography, CT)、核磁共振造影(Magnetic Resonance Imaging, MRI)、核磁共振造影血管攝影(Magnetic Resonance Angiography, MRA)、頸動脈超音波及顱內超音波等,偵測腦出血或腦梗塞的症狀,是進行腦部病變檢查的主要方法。然而,這些儀器價格昂貴且體積龐大,需仰賴專業醫療人員操作與判讀,亦無法隨時隨地進行檢測,容易錯過治療的黃金時間。
🔺完整內容:https://user23215.psee.io/3dqzf5
magnetic resonance imaging 在 BorntoDev Facebook 的最讚貼文
🔥 การเขียนโค้ด
เหมือนการเรียนภาษาต่างประเทศจริงหรือ ?
.
กับสิ่งที่เกิดขึ้นกับสมองขณะเขียนโค้ด ที่ทุกคนอาจไม่เคยรู้ !
.
🚀 ตามปกติแล้ว คนส่วนใหญ่มักจะเปรียบการเขียนโค้ดเป็นการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศภาษาใหม่ แต่ในมุมมองของสมองเองกลับไม่ได้เป็นอย่างนั้น !!!
.
🧠 นักประสาทวิทยาจาก MIT ได้ค้นพบว่าการทำงานของสมองในขณะที่เขียนโค้ดนั้น แตกต่างจากการประมวลผลทางภาษาหรือการทำโจทย์คณิตศาสตร์
.
โดยนักวิจัยได้ทำการสแกน fMRI (Function Magnetic Resonance Imaging) กับสมองของคนหนุ่มสาวที่มีเข้าร่วมชาเล้นจ์การเขียนโค้ดที่ใช้ทั้งภาษา Python และภาษา ScratchJr เพื่อดูว่าส่วนใดของสมองที่เกิดการเรืองแสงขึ้นกันแน่
.
👉 ซึ่งผลลัพธ์นั้นน่าสนใจมาก เพราะแทบไม่เห็นการตอบสนองใด ๆ ในส่วนประมวลผลภาษาของสมองเลย !
.
แต่ดูเหมือนว่าการเขียนโค้ดจะเป็นการเปิดใช้งาน “Multiple Demand Network” ในสมองของเรา โดยเครือข่ายส่วนนี้จะมีหน้าที่ในการ "ทำงานด้านความรู้ความเข้าใจที่ซับซ้อน เช่น การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หรือ การแก้ปริศนาอักษรไขว้"
.
⭐ แต่ถึงจะบอกอย่างนั้น เมื่อมีการศึกษาโดยละเอียด ที่เปรียบเทียบสมองขณะเขียนโค้ดกับขณะแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์แล้ว กลับพบว่ารูปแบบการทำงานของสมองของทั้ง 2 กิจกรรมนั้นไม่ได้เหมือนกันไปซะหมด !
.
สำหรับการแก้โจทย์คณิตศาสตร์ เครือข่าย Multiple Demand จะแพร่กระจายไปทั่วกลีบสมองส่วนหน้าและส่วนข้าง โดยจะส่งผลกับสมองซีกซ้ายเป็นส่วนใหญ่
.
🏆 ในขณะที่การเขียนโค้ดนั้นจะทำให้เกิดการทำงานของเครือข่าย Multiple Demand ในสมองทั้งซีกซ้ายและซีกขวา (การเขียนโค้ดด้วยภาษา ScratchJr จะเกิดการทำงานของสมองซีกขวามากกว่าซีกซ้ายเล็กน้อย)
.
ซึ่งมาหักล้างแนวคิดที่ว่าการเขียนโค้ดจะทำให้เกิดการทำงานของสมองแบบเดียวกับการแก้โจทย์คณิตศาสตร์
.
✅ โดยสรุปแล้วก็คือ การเขียนโค้ดไม่เหมือนการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ แต่ก็ไม่ใช่การแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ซะทีเดียว ถึงจะมีบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แต่การเขียนโค้ดก็ยังเป็นทักษะที่มีเอกลักษณ์ในตัวของมัน และควรค่าแก่การเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมองของเรานั่นเอง !!!
.
📌 อ้างอิงข้อมูลจาก “Comprehension of computer code relies primarily on domain-general executive brain regions“ ผ่าน www.biorxiv.org
.
โดย Anna A. Ivanova, Shashank Srikant , Yotaro Sueoka, Hope H. Kean, Riva Dhamala, Una-May O’Reilly, Marina U. Bers, Evelina Fedorenko
.
😎 ต้องการอ่านงานวิจัยเพิ่มเติม (.PDF) : https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2020.04.16.045732v2.full.pdf
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
magnetic resonance imaging 在 Magnetic Resonance Imaging (MRI) - YouTube 的推薦與評價
Visit our website to learn more about using Nucleus content for patient engagement and content marketing: http://www.nucleushealth.com/#MRI ... ... <看更多>