Reinventing Workers for the Post-COVID Economy
The nation’s economic recovery from the COVID-19 pandemic will hinge ( ) to some extent ( ) on how quickly show managers can become electricians ( ), whether taxi drivers can become plumbers ( ), and how many cooks can manage software for a bank.
This is likely to prove especially problematic for millions of low-paid workers in service industries like retailing ( ), hospitality ( ), building maintenance and transportation, which may be permanently impaired ( ) or fundamentally transformed. What will janitors ( ) do if fewer people work in offices? What will waiters do if the urban restaurant ecosystem never recovers its density ( )?
Their prognosis ( ) is bleak ( ). Marcela Escobari, an economist at the Brookings Institution, warns that even if the economy adds jobs as the coronavirus risk fades ( ), “the rebound won’t help the people that have been hurt the most.”
Looking back over 16 years of data, Escobari finds that workers in the occupations ( ) most heavily hit since the spring will have a difficult time reinventing themselves. Taxi drivers, dancers and front-desk clerks have poor track records moving to jobs as, say, registered nurses, pipe layers or instrumentation technicians.
COVID is abruptly ( ) taking out a swath ( ) of jobs that were thought to be comparatively ( ) resilient ( ), in services that require personal contact with customers. And the jolt ( ) has landed squarely on workers with little or no education beyond high school, toiling ( ) in the low-wage service economy.
“The damage to the economy and particularly to workers will probably be longer lasting than we think it is going to be,” said Peter Beard, senior vice president at the Greater Houston Partnership, an economic development group.
What’s more, he said, COVID will intensify underlying ( ) dynamics ( ) that were already transforming ( ) the workplace. Automation ( ), for one, will most likely accelerate ( ) as employers seek to protect their businesses from future pandemics
The challenge is not insurmountable ( ). Yet despite scattered ( ) success stories, moving millions of workers into new occupations remains an enormous ( ) challenge.
“We need a New Deal ( ) for skills,” said Amit Sevak, president of Revature, a company that hires workers, trains them to use digital tools and helps place them in jobs. “President Roosevelt deployed ( ) the massive number of workers unemployed in the Great Depression on projects that created many of the dams ( ) and roads and bridges we have. We need something like that.”
勞工轉型以因應後疫情時代經濟
美國經濟能否從新型冠狀病毒影響下復甦,將在一定程度上取決於表演經理們要多久才能變成電工,計程車司機能否化身為水管工,以及有多少廚師能替銀行管理軟體。
這對零售業、餐旅業、建築維修和運輸業等服務業數百萬低薪工人來說,問題恐怕特別大。這些行業可能受到永久性損害或發生根本性改變。若辦公室裡人變少了,工友要做什麼呢?若都市餐廳生態系統繁盛不再,服務生又該如何?
他們的前景是黯淡的。布魯金斯學會經濟學家Marcela Escobari警告說,即使就業機會隨新型冠狀病毒疫情風險消退而增加,「經濟反彈也幫不了那些受創最重的人」。
Escobari檢視16年來的數據發現,今春以來受衝擊最大的一些職業,勞工將很難自我改造。計程車司機、舞者和櫃檯人員轉行從事護理師、舖管工或儀器技工等工作者十分有限。
新型冠狀病毒突然帶走了一大批原本被認為較不容易永久消失的工作,即需與客戶面對面接觸的服務工作。這一衝擊直接打擊到那些僅受過高中教育、在低薪服務經濟區塊中掙扎的勞工。
經濟發展組織大休士頓商會資深副總裁Peter Beard表示:「經濟、尤其是勞工們受害的時間,可能比我們預期的還要更長。」
他說,更重要的是,新型冠狀病毒疫情將強化已經在改變職場的潛在動力,自動化即為一例,由於雇主力求讓自己的企業未來不受大疫情影響,自動化極可能加速。
這項挑戰並非不能克服。然而,儘管有少數成功的例子,讓數百萬勞工轉業仍是巨大的挑戰。
雇用勞工後培訓他們使用數位工具,並幫他們找到工作的Revature公司總裁Amit Sevak說:「我們需要一項針對職業技能的新政。小羅斯福總統大蕭條時期把大量失業勞工投入工程計畫,興建了我們現在使用的水壩、道路與橋樑。我們需要這樣的東西。」
#高雄人 #學習英文 請找 #多益達人林立英文
#高中英文 #成人英文
#多益家教班 #商用英文
#國立大學外國語文學系講師
同時也有32部Youtube影片,追蹤數超過13萬的網紅婁峻碩SHOU,也在其Youtube影片中提到,【可點選CC字幕歌詞】 *Free Fire 夏日生存派對主題曲 Shou Facebook : https://www.facebook.com/shoumethemoneyxx Shou Instagram : https://www.instagram.com/shoumethemoneyx...
「moving company」的推薦目錄:
- 關於moving company 在 多益達人 林立英文 Facebook 的最佳貼文
- 關於moving company 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於moving company 在 Cedric Loo - 呂銳 Facebook 的精選貼文
- 關於moving company 在 婁峻碩SHOU Youtube 的最佳貼文
- 關於moving company 在 電扶梯走左邊 Jacky Youtube 的最讚貼文
- 關於moving company 在 Wayne傻傻 Youtube 的精選貼文
- 關於moving company 在 We hired a Japanese moving company! - YouTube 的評價
moving company 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
Saverin อยู่กับเฟซบุ๊กปีเดียว แต่มีทรัพย์สิน 6 แสนล้าน /โดย ลงทุนแมน
Mark Zuckerberg เริ่มก่อตั้ง Facebook ในปี 2004 ร่วมกับเพื่อนอีก 4 คน
หนึ่งในนั้นคือรุ่นพี่ที่ชื่อว่า “Eduardo Saverin”
Saverin คือเพื่อนคนแรกที่ Zuckerberg ชวนมาร่วมทีมและเขาคนนี้ยังเป็นคนแรกที่ร่วมลงทุนใน Facebook
แต่ผ่านไปเพียงปีเดียว กลับมีเรื่องราวที่ทำให้เขากลายเป็นผู้ร่วมก่อตั้งที่ต้องออกจากบริษัทไปเป็นคนแรกเช่นกัน
แล้วมันเกิดอะไรขึ้นกับ Saverin ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
“Eduardo Saverin” เกิดที่เมืองเซาเปาลู ประเทศบราซิล ในปี 1982 ก่อนจะย้ายไปอยู่ที่เมืองรีโอเดจาเนโร
เขาเกิดมาในครอบครัวชาวยิวที่ร่ำรวย โดยพ่อของเขาเป็นนักธุรกิจ ที่เป็นเจ้าของกิจการทั้งการส่งออก เรือขนส่ง ไปจนถึงอสังหาริมทรัพย์
แต่ความมั่งคั่งนี้ ก็เป็นที่ล่อตาล่อใจของแก๊งมาเฟีย ทำให้เมื่อปี 1993 Saverin ในวัย 11 ปี มีชื่ออยู่ในลิสต์เหยื่อที่จะโดนแก๊งลักพาตัวไปเรียกค่าไถ่
โชคดีที่พ่อของเขาไหวตัวทัน เขาจึงพาครอบครัวอพยพไปตั้งต้นชีวิตในที่ที่ปลอดภัยกว่า อย่างประเทศสหรัฐอเมริกา จน Saverin ได้สัญชาติอเมริกันในปี 1998
หลังจากเรียนจบมัธยมศึกษา Saverin เลือกเรียนเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
เขาโดดเด่นเรื่องการลงทุนเป็นพิเศษ ทั้งการได้เป็นประธาน Harvard Investment Association และยังเป็นที่เลื่องลือจากการทำกำไรเป็นเงิน 3 แสนดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 10 ล้านบาท จากการลงทุนในฟิวเจอร์สน้ำมัน
ปี 2003 ขณะที่ Saverin เรียนอยู่ปี 3 รูมเมตรุ่นน้องของเขาที่ชื่อ “Mark Zuckerberg” กำลังพัฒนา TheFacebook.com หรือที่เรารู้จักกันก็คือ Facebook ในปัจจุบัน
เวลานั้น Zuckerberg กำลังมองหาพาร์ตเนอร์มาร่วมทีม ซึ่งเขามองหาคนที่มีเงินทุนและเก่งในด้านที่เขาไม่ถนัด นั่นคือการลงทุนและการทำธุรกิจ ซึ่ง Saverin ก็เรียกได้ว่ามีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ Zuckerberg ต้องการ นั่นจึงทำให้เขาถูกชวนมาเป็นพาร์ตเนอร์คนแรก
พวกเขาตกลงว่าจะร่วมทุนกันคนละ 15,000 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 5 แสนบาทและแบ่งหน้าที่กัน โดย Zuckerberg โฟกัสการพัฒนาเซิร์ฟเวอร์ ส่วน Saverin รับผิดชอบด้านการเงินและธุรกิจ
จนในที่สุด TheFacebook.com ก็ได้เปิดตัวในช่วงต้นปี 2004 และได้รับความนิยมไปทั่วมหาวิทยาลัยทันที โดยมีผู้สมัครใช้งานกว่า 4 พันคนภายใน 2 สัปดาห์แรก
พวกเขาเลยชวนรูมเมตอีกคนที่ชื่อ Dustin Moskovitz มาร่วมทีม ซึ่งรับหน้าที่เป็นโปรแกรมเมอร์ และหลังจากนั้นไม่นานก็มีเพื่อนอีก 2 คนมาร่วมทีม
เดือนเมษายน หรือหลังเปิดตัวเว็บไซต์ไปได้ 2 เดือน TheFacebook ก็จดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัด
โดยมีผู้ถือหุ้นคือ Zuckerberg ถือหุ้น 65%, Saverin ถือหุ้น 30% และ Moskovitz ถือหุ้น 5%
มาถึงช่วงปิดเทอมหน้าร้อนในเดือนมิถุนายน Zuckerberg กับ Moskovitz เดินทางไปที่เมืองพาโล อัลโต รัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งเป็นที่ตั้งของซิลิคอนแวลลีย์ เพื่อเช่าบ้านและโฟกัสกับการพัฒนา TheFacebook.com
ส่วน Saverin เลือกไปฝึกงานกับสถาบันการเงิน Lehman Brothers ที่นิวยอร์ก และ Zuckerberg ได้แบ่งความรับผิดชอบให้เขา 3 อย่าง คือ วางโครงสร้างบริษัท ทำโมเดลธุรกิจ และที่สำคัญคือหาเงินทุน
แต่การเลือกเส้นทางที่แตกต่างกันในครั้งนี้ กลับกลายเป็นจุดเริ่มต้นของรอยร้าว
สิ่งที่ Saverin ให้ความสำคัญมากที่สุดในเวลานั้น คือการฝึกงาน
เขาจึงละเลยสิ่งที่ Zuckerberg ฝากให้เขาจัดการทั้ง 3 ข้อ
ทั้งที่ Zuckerberg และคนอื่นในทีม ทุ่มเทกับการต่อยอด TheFacebook.com ซึ่งในตอนนั้นมีจำนวนผู้ใช้งานเติบโตอย่างรวดเร็วแบบที่ไม่มีใครคาดคิด ดังนั้นสิ่งที่จำเป็นที่สุดก็คือการหาเงินทุน ซึ่งเป็นหน้าที่ของ Saverin มาตั้งแต่ต้น
แต่กลับกลายเป็นว่าคนที่รับหน้าที่ในการหานักลงทุนก็คือ Sean Parker ไอดอลแห่งวงการเทคโนโลยี ผู้ก่อตั้ง Napster แพลตฟอร์มแชร์และดาวน์โหลดเพลงออนไลน์ ที่เป็นต้นแบบของ iTunes
ก่อนหน้านี้ไม่นาน Parker ได้รู้จัก TheFacebook.com และรู้สึกสนใจ จึงติดต่อ Zuckerberg เพื่อมาร่วมทีมด้วย
ซึ่ง Parker สามารถโน้มน้าวให้ Peter Thiel ผู้ร่วมก่อตั้ง PayPal มาลงทุนใน TheFacebook.com ได้สำเร็จ เป็นเงิน 5 แสนดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 16.6 ล้านบาท
นอกจากนี้ Parker ซึ่งมีประสบการณ์ธุรกิจมาก่อน จึงกลายเป็นที่ปรึกษาคนสำคัญของ Zuckerberg และยังมีบทบาทสำคัญในการทำหน้าที่ทุกอย่างที่ Saverin ละเลย
มาถึงตรงนี้ Saverin ที่ให้ความสำคัญกับ TheFacebook.com น้อยกว่าคนอื่น ก็หมดความจำเป็น Zuckerberg เลยคิดจะตัดเขาออกจากทีม แต่ก็ติดปัญหาตรงที่เขาไม่รู้จะใช้วิธีไหน
เพราะ Saverin เป็นทั้งผู้ร่วมก่อตั้งและที่สำคัญคือเป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท
Parker เลยแนะนำวิธีหนึ่งให้กับ Zuckerberg ซึ่งเป็นทริกที่ Thiel เคยใช้และเรียนรู้ต่อมาจากนักลงทุนระดับตำนานคนหนึ่ง
วิธีการนั้นก็คือ การลดสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทของ Saverin ลง ด้วยการตั้งบริษัทใหม่ เพื่อมาซื้อบริษัทเดิม หลังจากนั้นก็ออกหุ้นเพิ่ม และจัดสรรหุ้นของบริษัทใหม่ให้กับทุกคน ยกเว้น Saverin
Zuckerberg ได้ลองอธิบายแผนการนี้ผ่านทางอีเมลเพื่อขอคำปรึกษาจากนักกฎหมายของเขา ซึ่งนักกฎหมายก็เตือนว่าอาจจะเกิดการฟ้องร้องตามมาได้ แต่สุดท้ายแผนการนี้ก็ยังดำเนินต่อไป
ขั้นตอนแรกเริ่มขึ้นในปลายเดือนกรกฎาคม ทีม Zuckerberg จัดตั้งบริษัทใหม่และใช้บริษัทใหม่นี้ไปซื้อบริษัทเดิม ซึ่งสัดส่วนผู้ถือหุ้นของบริษัทใหม่ จะถูกจัดสรรโดยรวมผู้ลงทุนอย่าง Thiel เข้าไปด้วย ดังนี้
Zuckerberg ถือหุ้น 40%
Saverin ถือหุ้น 24%
Moskovitz ถือหุ้น 16%
และ Thiel ถือหุ้น 9%
ส่วนอีก 11% ที่เหลือ เก็บไว้เผื่อแจกเป็นอ็อปชันให้กับผู้ร่วมทีมในอนาคต
ขั้นตอนนี้ ทำให้สัดส่วนหุ้นของ Saverin ลดลงจากเดิม 30% มาเป็น 24%
หลังจากนั้น ทาง Zuckerberg ก็ได้ให้ Saverin เซ็นชื่อในข้อตกลงจัดสรรหุ้นของบริษัทใหม่นี้ในเดือนตุลาคม โดย Saverin ตกลงให้ทรัพย์สินทางปัญญาทุกอย่างของบริษัท รวมถึงสิทธิ์ในการออกเสียงในบริษัท ที่เคยเป็นส่วนของเขา โอนมาเป็นของ Zuckerberg แทน
และเมื่อปิดเทอมหน้าร้อนสิ้นสุด ความสำเร็จเกินคาดของ TheFacebook.com ก็ทำให้ Zuckerberg และ Moskovitz ตัดสินใจออกจากมหาวิทยาลัยและอยู่ที่แคลิฟอร์เนียต่อ ขณะที่ Saverin กลับมาเรียนต่อที่ฮาร์วาร์ดในปีสุดท้าย
ต่อมา ในต้นเดือนมกราคม ปี 2005 บริษัท Facebook ก็ได้ออกหุ้นสามัญเพิ่ม 9 ล้านหุ้น โดยถูกจัดสรรเป็นของ Zuckerberg 3.3 ล้านหุ้น Parker และ Moskovitz ได้ไปคนละ 2 ล้านหุ้น ส่วน Saverin ไม่ได้อะไรเลย
ขั้นตอนนี้ ทำให้สัดส่วนหุ้นของ Saverin ลดลงจาก 24% จนเหลือไม่ถึง 10%
Saverin ผู้ที่ไม่รู้อะไรเลยก็เพิ่งมารับรู้ถึงวิธีที่เขาโดนลดสัดส่วนการถือหุ้นหลังผ่านไปเกือบ 4 เดือน
ซึ่งในอีกไม่กี่สัปดาห์ต่อมา เขาก็ต้องออกจากบริษัทและถูกลบชื่อออกจากผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท
ความขัดแย้งนี้ก็นำไปสู่การฟ้องร้อง ตามที่นักกฎหมายของ Zuckerberg เคยเตือนไว้
Zuckerberg ยื่นฟ้อง Saverin โดยอ้างว่า Saverin ทำให้บริษัทเสียหาย จากการระงับบัญชีธนาคารของบริษัทเมื่อช่วงปิดเทอมหน้าร้อน รวมถึงอ้างว่าข้อตกลงเรื่องการจัดสรรหุ้นตอนจัดตั้งบริษัทใหม่ไม่มีผลบังคับใช้
Saverin ฟ้อง Zuckerberg กลับ โดยอ้างว่าในช่วงปิดเทอมหน้าร้อน Zuckerberg นำเงินทุนของบริษัทในตอนแรก ซึ่งเป็นส่วนที่เขาร่วมลงทุนด้วย ไปใช้กับเรื่องส่วนตัว และอีกข้อหาคือเรื่องที่เขาถูกบังคับให้ออกจากบริษัท
แต่สุดท้ายแล้ว ในปี 2009 ทั้งสองฝ่ายก็มาทำความตกลงกันนอกศาล ซึ่งจบที่การยอมความ
และชื่อของ Saverin ก็กลับมาอยู่ในผู้ร่วมก่อตั้งเหมือนเดิม
ตั้งแต่นั้นมา Saverin ก็ย้ายไปอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์
และได้เปลี่ยนสัญชาติจากอเมริกันเป็นสิงคโปร์ ในปี 2011
ซึ่งนอกจากจะแต่งงานและสร้างครอบครัวที่สิงคโปร์แล้ว ในปี 2015 Saverin ได้ร่วมก่อตั้งบริษัท Venture Capital ที่ชื่อ “B Capital” กับเพื่อนสมัยเรียนฮาร์วาร์ดที่ชื่อ Raj Ganguly ซึ่งเคยทำงานในบริษัทที่ปรึกษาธุรกิจระดับโลกอย่าง McKinsey & Company และ Boston Consulting Group
โดย B Capital จะเน้นให้เงินทุนกับสตาร์ตอัปในเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดีย อย่างเช่นบริษัทจากอินเดียที่ชื่อ BYJU’S ซึ่งปัจจุบันเป็นสตาร์ตอัปด้านเทคโนโลยีการศึกษาที่มูลค่ามากสุดในโลก
แต่เรื่องการเปลี่ยนสัญชาตินี้ก็ได้ทำให้เขาถูกวิจารณ์ เพราะหลังจากนั้นไม่นาน Facebook ก็เตรียม IPO ในปี 2012 Saverin จึงถูกมองว่าเขาสละสัญชาติอเมริกันเพราะต้องการเลี่ยงภาษีกำไรจากเงินลงทุน
เพราะแม้ว่าการระดมทุนในตลาดหุ้นของ Facebook จะทำให้สัดส่วนการถือหุ้น Facebook ของเขาลดลงเหลือเพียง 2% ก็คิดเป็นมูลค่ากว่า 6 หมื่นล้านบาท ซึ่งถ้าเขาขายทำกำไร เขาจะถูกคิดภาษีกำไรจากเงินลงทุนราว 2 หมื่นล้านบาท
แต่ Saverin ก็ยืนยันว่าเขาตั้งใจจะทำงานและใช้ชีวิตที่สิงคโปร์มาตั้งแต่แรกจริง ๆ
และจากตอน IPO ปี 2012 มาถึงวันนี้ ปี 2021 Saverin ก็ไม่ได้ขายหุ้น Facebook เพื่อทำกำไร ในทางกลับกันเขากลับซื้อเพิ่มอีกเล็กน้อยด้วยซ้ำ
ปี 2012 Saverin มีหุ้น Facebook 53.13 ล้านหุ้น
ปี 2021 Saverin มีหุ้น Facebook 53.46 ล้านหุ้น
ปัจจุบัน Saverin ในวัย 39 ปี ได้กลายเป็นชาวบราซิลที่รวยสุดในโลก และเป็นคนที่รวยสุดเป็นอันดับ 2 ในสิงคโปร์ ด้วยมูลค่าทรัพย์สินกว่า 6.5 แสนล้านบาท ซึ่งความมั่งคั่งเกือบทั้งหมดมาจากการที่เขายังถือหุ้น Facebook โดยที่ยังไม่ได้ขายออกไป
โดยถ้าคิดจากราคา IPO ของ Facebook ที่ 38 ดอลลาร์สหรัฐต่อหุ้น ปัจจุบันราคาหุ้น Facebook อยู่ที่ 355 ดอลลาร์สหรัฐต่อหุ้น
ซึ่งมูลค่าหุ้นที่ Severin ถืออยู่ตอน IPO ปี 2012 ที่กว่า 6 หมื่นล้านบาท ตอนนี้ได้เพิ่มขึ้นกลายเป็น 6.2 แสนล้านบาทแล้ว
ที่น่าสนใจคือ 6.2 แสนล้านบาทนี้มีจุดเริ่มต้นจากเงินลงทุนหลักแสน
และเขาใช้เวลาอยู่ในบริษัท Facebook เพียงปีเดียว โดยแทบไม่ต้องทำอะไรเลย
สิ่งที่เขาทำหลังจากนั้น เป็นเพียงการถือหุ้น Facebook ที่มีอยู่ไปเรื่อย ๆ เท่านั้นเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.businessinsider.com/how-mark-zuckerberg-booted-his-co-founder-out-of-the-company-2012-5
-https://www.businessinsider.com/goodbye-america-billionaire-facebook-cofounder-renounces-citizenship-2012-5
-https://www.forbes.com/sites/alexkonrad/2019/03/19/life-after-facebook--the-untold-story-of-billionaire-eduardo-saverins-highly-networked-venture-firm/?sh=21f9b3462c8c
-https://www.forbes.com/sites/briansolomon/2012/05/18/eduardo-saverins-net-worth-publicly-revealed-more-than-2-billion-in-facebook-alone/?sh=47dee32a32ac
-https://www.rollingstone.com/culture/culture-news/the-battle-for-facebook-242989/
-https://www.dailymail.co.uk/news/article-2143764/Facebook-founder-Eduardo-Saverin-risk-kidnapping-moving-US.html
-https://www.forbes.com/profile/eduardo-saverin/?sh=dbbbb3b7bd56
-https://www.sec.gov/Archives/edgar/data/1326801/000132680121000022/facebook2021definitiveprox.htm
moving company 在 Cedric Loo - 呂銳 Facebook 的精選貼文
As the founder of a fast-moving digital marketing consultancy D Magic - Business Marketing Consultancy.
Every dollar and cents, every second counts when it comes to managing my company. Check out how I’m able to save cost and time with my new working buddy, The Epson EcoTank L6550 printer.
Find out more about Epson Heat-Free EcoTank printers here: https://www.epson.com.my/becool
#EpsonMY #EpsonEcoTank #EpsonBeCool #EpsonHeatFree #Sustainability
Epson
moving company 在 婁峻碩SHOU Youtube 的最佳貼文
【可點選CC字幕歌詞】
*Free Fire 夏日生存派對主題曲
Shou Facebook : https://www.facebook.com/shoumethemoneyxx
Shou Instagram : https://www.instagram.com/shoumethemoneyxx
《Booyah》已上架各大數位平台:https://www.soundscape.net/a/18064
🌴 Free Fire 雙平台下載:https://bit.ly/3jn5nYF
🌴 Free Fire 夏日生存派對資訊:https://ffcampaignshare.ff.garena.tw/
🌴 Free Fire 臉書粉絲團:https://www.facebook.com/freefireTW
#FreeFireXSHOU #夏日生存派對 #Booyah"
- MUSIC CREDIT
Lyrics by : 婁峻碩SHOU
Composed by:婁峻碩SHOU, Piers Gopsill
Producer: Piers Gopsill
Arrangement: Piers Gopsill
Vocal Editing: Piers Gopsill
Mixing: Piers Gopsill
Mastering: 陸崇樂 (Sentient Sound Labs 覺知音樂工作室)
- VIDEO CREDIT
影像製作公司 Video Production Company | 沙西米 RawNFresh
導演 Director | 一盞 EthanYIJAN
導演助理 Assistant to Director | 范振寗 J.FAN、林鈺瑄 EML
製片 Producer | 許雅淳 Sheyalips
現場製片 On-set Producer | 朱芸廷 Chu Yun Ting
執行製片 Line Producer | 杜婉寧 Winn Du、蔡孟潔 Jessie Tsai
製片助理 Production Assistant | 蔡長廷 Pingu Tsai、謝孟妘 Monique Hsieh
製片場務 Set Production Assistant | 林國民 Lin Guo Min
攝影師 DoP | 林眾甫 Saint Lin
跟焦師 Focus Puller | 黃西 Huang See
攝影助理 AssistantCamera | 王思翰 Wang Szu Han、 張家瑜 Chang Chia Yu、 李世全 Lee Shin Chuan
燈光師 Gaffer | 馬銘財 Ma Min Tsai
燈光大助 Best Boy | 高煜盛 Kao Yu Sheng
燈光二助 Best Boy | 黃偉傑 Huang Wei Jie、 田峻榮 Tian Jyun Rong、 吳思賢 Wu Sih Sian
美術指導 Art Designer | 王宥睎 Wang You Si
執行美術 Production Executive | 陳琬琇 Chen wan shiou、 王琇筠 Moldy Wang
美術場務 Art Production Assistant | 阿翔 A-xiang、 陳阿信 A-xin Chen、 陳育民 Chen Yu Ming、 李恒頤 Li Heng yi
道具卡車 Props Truck Driver | 全聯搬家起重行 張簡義忠 Quanlian moving company
搖臂器材公司 Crane Company | 異能影業器材有限公司 ELAN VISUAL EQUIPMENT ENTERPRISE COMPANY LTD.
搖臂操作技師 Crane Operator | 李少川 Lee Shao Chuan
搖臂操作助理 Crane Technician | 葛振蟄 Ke Cheng Chih、 吳承諭 Wu Cheng Yu、 張智發 Chang Chih Fa
威亞指導 Wire Instructor | 吳俊希 Jun Xi
威亞人員 Wire Operator | 鄒明杰 Gama、 柚木崎 義隆 Yuki
剪接 Editor | 一盞 EthanYIJAN
調光 Colorist | 邱程勇 CY Chiu、陳語謙Chen Yu Chien
合成製作 VFX | 陳奕宏 Zello、曾浚瑞 Reh、張佑任 Yoren 、范家齊 Charles 、巧橋設計有限公司 Bridge Studio
合成製作現場助理 Field VFX assistant | 彭琪芳 Chesire
合成場景設計Scene Design|廖建翔 Seon、曾浚瑞 Reh、李共Halo、李明學 Bochu
後期製片 Post-Production Supervisor|林鈺瑄 EML
婁峻碩 造型 Shou Stylist | 王禎旎 Aura Wang
婁峻碩 造型助理 Shou Stylist Assistant | 強尼 Jonny
婁峻碩 妝髮 Shou Make up & Hair | 許育珊 Mii
婁峻碩 妝髮助理 Shou Make up & Hair Assistant | Diana
藝人經紀 Artist Agent | 劉思妤 Ellen Liu
平面側拍師 Still Photographer | 神童 Yasashi man
演員造型 Actor Stylist | 冠儀 yee1yee (天使製造)
演員造型助理 Actor Stylist Assistant | 子船 eden、 徐飽 Chiao Ling Hsu
演員梳化 Actor Make up & Hair | 魚花 Yu Hua Liu 、 彭虹禎 Pon
演員梳化助理 Actor Make up & Hair Assistant | 黃彥慈 Joyce Huang
演員 Actor | Piers Gopsill、 林鈺瑄 EML、 Isabel、 Sophie
特別感謝 Special Thanks | 瞬時真 Jamie MacGregor
看著秒針走到終點
離開這空間
下班打卡拼速度
陽光照進這場夢魘
就放輕鬆點
Nobody can kill my mood
大聲的喊 BOOYAH
Oh man 快坐不住
成千上萬文件霸佔桌面 忍住不吐
下班走得像火箭 huh 勝之不武
擺脫無數的dead line 別談未來
Since Monday Blue
我們只談現在 看著窗外
準備狂歡當廢物
夏日的派對 i’m ready
高熱量食物塞嘴裡 huh
躺椅上偷喵bikini
Don’t ask me why so lazy girl
把妳套進同個游泳圈
像縮圈內的對手
一陣翻來覆去翻雲覆雨
變 配偶
看著秒針走到終點
離開這空間
下班打卡拼速度
陽光照進這場夢魘
就放輕鬆點
Nobody can kill my mood
大聲的喊 Booyah
(Boo yah yah boo boo yah yah)Booyah
(Boo yah yah boo boo yah yah)
大聲的喊 Booyah
(Boo yah yah boo boo yah yah)
Booyah
(Boo yah yah boo boo yah yah)
一天玩了四十八個小時
老是體力超支
超值得但結尾
怎麼有點jet lag
派對飛到國際接軌
我累了嗎 不可能吧
說never stop 的打呼聲很大 uh
音響該最大聲的炸了
帶上裝備帶上妹要發車
I feel so chill babe
I feel so chill babe
創造最優秀的回憶
我的隊友笑甲落下頦
So fine
快樂存在彈指之間
要多珍惜光陰似箭
下個星期同一時間
夏日派對
看著秒針走到終點
離開這空間
下班打卡拼速度
陽光照進這場夢魘
就放輕鬆點
nobody can kill my mood
大聲的喊 Booyah (Boo yah yah boo boo yah yah)Booyah
(Boo yah yah boo boo yah yah)
大聲的喊 Booyah
(Boo yah yah boo boo yah yah)
Booyah
(Boo yah yah boo boo yah yah)
moving company 在 電扶梯走左邊 Jacky Youtube 的最讚貼文
✨本集來賓:Sean 是我在 Instagram 紐約的同事
- 我們雖然在 IG 不同 Team 在一些project合作過的經驗 | Projects we collaborated on at IG on different teams
- 在Facebook可怕的升遷制度學到的經驗 | Lessons learned from Facebook's tough promotion
- 如何在大公司內離開舒適圈 | Leaving your comfort zone at a big company
- 哪一本書讓Sean學到如何對自己的快樂負責走出低潮療癒自我 | The book that helped Sean take responsibility of happiness & self healing
- 忙碌的幻覺 | The mirage of busyness
- 一個健康的感情該有的依賴獨立觀念 | What a healthy relationship looks like in terms of dependency
- 還有Sean 做很多有趣的自我實驗 | Interesting social experiments Sean did
📚 Books mentioned:
- The Happiness Project
- Essentialism
- Extreme Ownership
- 7 Habits of Highly Effective People
- Working Out Loud
我們每集都會辦抽書活動,記得 follow 我們 🤩
IG: https://www.instagram.com/leftsideescalator.jacky/
FB: https://www.facebook.com/LeftSideEscalator.Jacky/
***
(00:02:20) 紐約疫情爆發的恐怖經驗 | Covid19 disaster in New York
(00:04:55) 台灣長大,美國念書的文化衝擊,如何融入 | Growing up in Taiwan, moving to the US, culture shock and assimilating
(00:07:27) 回來當兵?!| Military Service?
(00:07:40) 進Facebook的經驗,Instagram的工作經驗 | Experience joining Facebook and working at Instagram
(00:12:47) 如何在大公司跳出舒適圈,挑戰新領域 | Leaving your comfort zone at a big company, trying a new area
(00:17:25) Instagram工作的有趣經歷 | Interesting working experience at Instagram
(00:20:02) 職涯的意義 | Sean's career meaning
(00:23:48) 大家不喜歡「改變」這件事 | People resist change
(00:27:35) Kobe的啟發跟過世 | Kobe's inspiration & legacy
(00:32:22) 5am 早起運動,借助團體的力量達成更好的自律 | 5 am workouts, the power of communities
(00:34:12) 時間管理的好習慣 | Time management habits
(00:37:15) 最有影響的書幫他走出低潮療癒自我 | Most influential book to get through dark time & self heal
(00:39:41) 健康感情如何不失去自我 | How to not lose yourself in a healthy relationship
(00:44:26) 從 Facebook 升遷的壓力學到的慘痛經驗,解決問題代替責怪 | Lesson learned from Facebook's tough promotion pressure, ownership over blame game
(00:49:56) 如何改進 反省自己 | How to self reflect & improve
(00:52:40) 成功的定義 | Definition of success
(00:54:39) 快樂的定義 | Definition of happiness
(00:55:56) 如何改變世界 | How to change the world
(00:57:43) 一年吃素挑戰 | Vegetarian challenge for a year
(1:03:01) 總結 | Conclusion
moving company 在 Wayne傻傻 Youtube 的精選貼文
#马日情侣 #文化差异 #新加坡搬家
最近搬家很开心,因为我们都非常喜欢这间房间,却给我们带来非常大的苦恼!
新加坡很多人都遇到同样的问题,就是房间潮湿生很多虫,而且不能完全去除!
尝试了很多方式还是会再生,油漆/粉刷可以解决这问题!当然不是100%,偶尔出没就要马上清楚干净,否则还是会倒回来?
--------------------------------------------------------------------------------
希望大家喜欢这个影片。
记得按赞,订阅,铃铛和分享^_^
---------------------------------------------------------------------------------
Instagram:
https://www.instagram.com/wayne.sasa/
Facebook:
https://www.facebook.com/waynesasaYT
moving company 在 We hired a Japanese moving company! - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>