歐仁・穆勒是印象派畫家-雷諾瓦職業生涯早期的重要金主,1877年委託雷諾瓦為他繪製這幅《歐仁・穆勒肖像》(Eugène Murer)。
穆勒雖然家裡掛滿上百幅印象派畫作,卻是會跟畫家狠狠殺價的金主。好玩的是,這位小氣金主並非富商巨賈,而是一名甜點師,自己也身兼作家和畫家等多重身分。
《歐仁・穆勒肖像》完成後13年,梵谷離開南法來到巴黎近郊奧維小鎮養病,很可能在照顧他的嘉舍醫生家裡見到了這幅雷諾瓦作品,因此隨之創作出兩幅《嘉舍醫生肖像》(Portrait of Dr. Gachet,1890/06)。
《歐仁・穆勒肖像》並非雷諾瓦的知名作品,但是見證了雷諾瓦與梵谷彼此的奇妙聯繫。
#小氣金主好眼力
#雷諾瓦肖像畫
#19世紀末的巴黎藝壇小圈圈
#東西縱橫記藝JunieWang
#IG https://www.instagram.com/art.junie/
https://juniewang.mystrikingly.com/blog/35842af5f29
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「portrait of dr gachet」的推薦目錄:
- 關於portrait of dr gachet 在 東西縱橫記藝JunieWang Facebook 的最讚貼文
- 關於portrait of dr gachet 在 People Persona Facebook 的最佳貼文
- 關於portrait of dr gachet 在 典藏 ARTouch.com Facebook 的最佳解答
- 關於portrait of dr gachet 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文
- 關於portrait of dr gachet 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於portrait of dr gachet 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於portrait of dr gachet 在 Portrait of Dr. Gachet - YouTube 的評價
- 關於portrait of dr gachet 在 Portrait of Dr. Gachet - Wikipedia, the free encyclopedia 的評價
portrait of dr gachet 在 People Persona Facebook 的最佳貼文
"ถ้า" คำในพจนานุกรมของผู้(เกือบ)สำเร็จ ที่(อาจ)ขาดไปเพียงแค่ช่วงมือเอื้อม.....
Almost famous but not succeeded persons
.
.
เคยมีความคิดเล่นๆ แล่นเข้ามาในหัวของเราเกี่ยวกับเรื่องความสำเร็จในด้านอาชีพการงานไหมครับ?
.
ถ้าหากวันนั้น....
เราตั้งใจเรียนมากกว่านี้ - เราอาจจะมีอาชีพการงานที่สบายกว่านี้
ถ้าหากวันนั้น...
เราฝ่ารถติดอีกนิดไปคุยธุรกิจกับเพื่อน - เราอาจได้เป็นหุ้นส่วนธุรกิจที่มีร้านเปิดหลายสาขาไปแล้ว
ถ้าหากวันนั้น....
เราใส่ใจกับรายละเอียดมากกว่านี้ - เราอาจมองเห็นโอกาสที่คนอื่นมองไม่เห็น และคว้ามันไว้ได้
ถ้าหากวันนั้น...
เราอดทนและมีจิตใจที่ตั้งมั่นกับงานของเราอีกหน่อย - เราอาจได้เป็นคนที่นั่งตรงหัวโต๊ะของที่ประชุม แทนที่ใครบางคน
.
.
ผมมีเรื่องราวของ ชาย 3 คนที่ บางคนอาจจะนิยามพวกเขาว่า #ขาดเพียงอีกนิดเดียวก็จะประสบความสำเร็จ อยู่แล้ว มาให้อ่านกันครับ
ลองอ่านดูนะ ^_^
เรื่องของ โก๊ะ-ดาล-ซี่
1
เค้าคนนี้เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรงตั้งแต่เด็กๆ
งานอดิเรกของเขาในช่วงวัยเด็ก คือการสะสมแมลงและรังนกเก่า
เค้ามีอาชีพเป็นคนขายภาพศิลปะ เป็นครู เป็นพระ (คริสต์)
และเป็นจิตรกร
ชีวิตช่วงหนึงต้องระหกระเหิน ตกงานซ้ำซ้อน ไม่ค่อยมีเพื่อน และอยู่อย่างอดๆอยากๆ
แต่ภาพวาดของเค้าที่มีมูลค่าสูงที่สุด
ราคา 4,000 ล้านบาท (Portrait of Dr. Gachet)
น่าเสียดายภาพวาดชิ้นนี้เค้าไม่ได้เป็นคนขาย
และช่วงที่มีชีวิต เค้าขายภาพได้เพียงภาพเดียวจากผลงาน ทั้งหมด 2,000 ภาพ
เค้าเสียชีวิตในวัย 37 ปี จากการฆ่าตัวตาย
ชื่อของเค้าคือ "ฟินเซนต์ วิลเลิม ฟัน โคค" เราเรียกกันสั้นๆว่า แวนโก๊ะ
.
2
เค้าคนนี้เป็นผู้ประดิษฐ์ "โทรศัพท์"
พอบอกว่าโทรศัพท์ เราก็จะเดาได้ทันทีเลยใช่ไหมครับ
ว่าเป็น "อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์"
เหตุผลที่เค้าเป็นชายคนแรก อยู่ตรงนี้แหละครับ เพราะเค้าไม่ใช่ "อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์"
เค้าชื่อ "แอนโตนิโอ เมอุคซี่" นักประดิษฐ์ชาวฟลอเรนซ์
เค้าผลิตเครื่องต้นแบบ เทเลโฟรโน "Telefrono" ปี 1860
พอปี 1871 ก็ยื่นจดสิทธิบัตร ก่อนหน้า "อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์" ตั้ง 5 ปี
....แต่แล้ว โชคชะตาก็เล่นตลก เค้าประสบอุบัติเหตุจากการระเบิดของหม้อต้มไอน้ำ
เค้าไม่มีเงินไปยื่นจดสิทธิบัตรชั่วคราว ทั้งๆที่มันราคาแค่ 10 เหรียญ
และแล้ว "อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์" ก็ ยื่นจดสิทธิบัตรในปี 1876
เมอุคซี่ยื่นฟ้องร้อง
โดยส่งภาพร่างและเครื่องต้นแบบไปยัง Western Union ที่ "เบลล์" ทำงานอยู่
แต่เอกสารก็หายไปอย่างเป็นปริศนาระหว่างการต่อสู้คดี ข้อพิพาทยังคงมีต่อมาเรื่อยๆ
จนกระทั่งเมอุคซี่เสียชีวิตในปี 1889
สุดท้าย คนจดจำแค่ เบลล์ เป็น ผู้ประดิษฐ์โทรศัพท์ แทบไม่มีใครรู้จัก เมอุคซี่เลย
.
3
เค้าคนนี้เป็นผู้คิดค้นระบบปฏิบัติการของ Computer ที่ชื่อว่า CP/M
ในเวลานั้น (1981) IBM ยักษ์ใหญ่คอมพิวเตอร์ กำลังเสาะหาระบบปฏิบัติการที่จะช่วยเปิดตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนตัว
เพื่อมาต่อกรกับ Apple PC ที่เปิดตลาดตั้งแต่ปี 1976
เค้ากำลังจะกลายเป็นมหาเศรษฐี เพราะถ้าหากการเจรจากับ IBM สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
เค้าจะสามารถขายทั้งระบบปฏิบัติการ และ ได้ค่าลิขสิทธิ์จากคอมพิวเตอร์ส่วนตัวที่ IBM ขายด้วย
แต่แล้ว เค้ากลับมอบหมายให้ภรรยา เจรจาธุรกิจกับเจ้าหน้าที่ของ IBM แทน (เพราะตอนนั้นไม่รู้ว่าเป็นคนของ ไอบีเอ็ม คิดว่าเป็นบริษัทเล็กๆ)
อาจจะเหมือนที่เราชอบพูดว่า การเชื่อภรรยาแล้วเจริญนะครับ
แต่การเจรจาครั้งนั้นล้มเหลว เค้าพลาดอย่างมหันต์!
สุดท้าย คนที่ขายระบบปฏิบัติการได้ไม่ใช่เค้า แต่เป็น บิล เกตต์ ที่ไปซื้อ Q-DOS
แล้วมาเปลี่ยนชื่อเป็น MS-DOS ในภายหลัง
จริงๆชีวิตของเค้าก็ไม่ได้แย่ซะทีเดียว เพราะเค้าก็เป็นเศรษฐีจากการขายบริษัท DRI ให้กับบริษัทอื่นในราคา 80 ล้าน USD
แต่อย่างไรก็ตาม มันคงเทียบกับ บิล เกตต์ ที่มีทรัพย์สินเกือบ 4,800 ล้านUSD ในปี 1991ไม่ได้
เกือบลืมบอกไปครับ เค้าชื่อ Gary Kidall
.
.
เรื่องราวของทั้ง 3 คน ฟังดูเหมือนน่าเสียดาย น่าสงสาร
พวกเค้าเหมือนสร้างบางอย่างเสร็จ แต่กลับไม่ประสบความสำเร็จ
และบางทีพวกเค้าควรจะได้รับสิ่งที่ดีกว่านี้
.
แต่หากมองที่บริบทของเรื่องการประดิษฐ์ และ สร้างสรรค์สิ่งใหม่
พวกเค้ากลับทำได้ดีอย่างหน้าทึ่งนะครับ
พวกเค้าแผ้วทาง บุกเบิก สร้างแนวคิด และแรงบันดาลใจให้คนรุ่นใหม่
.
ความสำเร็จวัดกันที่อะไร ชื่อเสียง เงินทอง รางวัล คำยกย่องชื่นชม ใช่หรือเปล่า ผมคงไม่อาจตัดสินได้
ชีวิตเราเราเลือกเอง ว่าแบบไหนที่เรียกว่าประสบความสำเร็จ
แต่ที่แน่ๆ ถ้าวันนั้น เมอุคซี่ ไม่ประสบอุบัติเหตุ คิดาล ไม่ทะลึ่งให้ภรรยาเจรจาแทน
คนทั้งคู่ อาจกลายเป็นบุคคลสำคัญของโลกที่พวกเราสามารถท่องชื่อกันได้อย่างแม่นยำ ไม่ต้องคอยถามว่า "ใครนะ" แบบนี้จริงมั้ยครับ
.
สำหรับผมอีกนิดก็จะประสบความสำเร็จไม่มีอยู่จริง...
และคำว่า "ถ้า" เป็นเพียงคำปลอบประโลมของคนที่ไม่ได้ทำ หรือทำผิดพลาดไปแล้วแก้ไขไม่ทัน ผมคงไม่ไปตัดสินใคร เพราะความสำเร็จ สำเร็จแค่ไหน เราเป็นคนกำหนดเองครับ ถ้า...... คุณไม่ได้กำลังหลอกตัวเองอยู่นะ
PSKirin
#peoplepersona
#เขย่งก้าวกระโดด
#Almostfamous
#Whatif #Noif
ref:
https://bookjelly.com/the-tragic-story-of-gary-kildall/
https://www.theflorentine.net/2018/08/05/antonio-meucci/
https://michelangeloo.us/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%94-%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B9%8A%E0%B8%B0/
portrait of dr gachet 在 典藏 ARTouch.com Facebook 的最佳解答
<出版觀察:從《曼哈頓》到《錢暴》>
【十年來的視野──藝術市場專書書寫的轉變】
經營藝術市場書系十年了,這十年間的藝術活動打破、滲透了許多範疇,如今充斥著藝術活動的景象是創作意志的蓬勃,或者少量的創意被產業過度放大的結果?
典藏藝術市場書系自2007年至今年(2016)初的《錢暴:21世紀藝術市場大爆發》為止,所出版的圖書約略分為兩大主題:藝術收藏與市場交易。就市場交易來說,分別是:2007年出版的《從馬內到曼哈頓:當代藝術市場的崛起》(原文書1992年出版)、2010年的《藝術炒作》(原文書2007年)以及今年的《錢暴》(原文書2014年)。這三本書在台灣的十年間(在國外則歷經二十三年)從市場關注的議題、書寫章節安排到所提供的視野皆有明顯的轉移。
《從馬內到曼哈頓》圍繞著19世紀末到20世紀末這一百多年來的大畫商、拍賣公司的關鍵事件書寫,書的開始和結尾都提到了1990年五月,梵谷的《嘉舍醫生肖像》(Portrait of Dr. Gachet)以前所未見的8,250萬美元被日本人買走的事件(在那之後市場便一路下滑,日本人藝術交易背後的醜聞也逐一曝光)。簡單來說,《曼哈頓》是一本對藝術交易描寫鉅細靡遺的書,書寫背景聚焦在1989、1990年熱過頭的市場,書腰文案大大寫著「藝術投資達人最佳入門書」,其針對讀者是2008年經濟危機前熱絡的亞洲市場玩家,也就是市場行內人。但書中對這急速膨脹又衰退的市場也提出了「藝術價值與價錢」的議題。
「價錢vs.價值」這議題在2010年出版的《藝術炒作》中成為主軸,書中從市場、藏家、商人、藝術家、藝術品五個面向來探討。值得注意的是,藝術家和作品的問題在《曼哈頓》(20世紀末的著作)中完全不是討論的重點,因為當時火紅的是印象派,藝術家都過世了。相對的,21世紀以來,當代藝術才是獲利最豐的部份。市場活動的多元化,造就了當代藝術的價格足以和古典大師比肩,當然在世的當代藝術家能夠持續「供貨」也是主要原因。此書的設定讀者除了市場玩家之外,另一個族群是準備要殺入市場的年輕藝術家,從《炒作》的三個國內推薦人中有兩個在美術院校任教就可窺之一二。
由於金融體系與藝術產業、奢侈品產業的合流;藝術家與市場玩家(拍賣公司、跨國畫廊)、藝術皮條客們(藝術顧問、策展人、擁有私人美術館的大藏家)走到一塊,今年出版的《錢暴》已經不再專注於「價錢vs.價值」的討論了,轉而更全面的俯瞰藝術世界,除了《炒作》提到的幾個面向之外,更加入了新興經濟體(中國、印度、俄羅斯、阿拉伯國家等新的金錢勢力)、網路交易,以及成為生活型態的藝術商業活動等面向。就讀者來說,這一回是在一個全球經濟現象中看待「藝術」所在的位置,而不再只是「看著藝術(及週邊)談藝術」或者「藝術市場兩端(生產端:藝術家;銷貨端:畫商)的辯證」這樣的設定。
或許《錢暴》所提供的視野,可以簡化成:當光鮮的當代藝術能呈現在你(觀眾)眼前時,其中藝術家的意念其實只是很小的部份。或者換個說法:藝術家只是天時地利的找到一種合於那場域的表現形式。至於那場域(天時地利)是怎麼被創造的?你又怎麼會接觸到那件作品?創造這天時地利人和的勢力們又組構了哪些事件?在《錢暴》中你將了解到崛起不只是藝術市場,而是金錢的爆發與流向。如同封面上的文案:
襲捲而來的是錢,以及稱作藝術的諸種事件。
試讀、購書連結:
典藏網路書店:http://artouch.com/events/2016book/
博客來 :http://goo.gl/BuO67X
電子書:https://store.readmoo.com/book/210034807000102
portrait of dr gachet 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文
portrait of dr gachet 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
portrait of dr gachet 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
portrait of dr gachet 在 Portrait of Dr. Gachet - Wikipedia, the free encyclopedia 的推薦與評價
Portrait of Dr. Gachet - this lost/stolen painting (in real life) is the one Alex has to get from the Louvre. (From the novel, Van Gogh Gone (Remembrandt ... ... <看更多>
portrait of dr gachet 在 Portrait of Dr. Gachet - YouTube 的推薦與評價
No copyright infringement intended**ASU: Art Politics and Power By: Gwen and Megan. ... <看更多>