ลงออนไลน์ได้แล้ว!! ไม่ต้องแนบบัตรด้วย!!
อยากชวนทุกคน มาลงชื่อ "พรบ.อากาศสะอาด" กันอีกครั้ง
แค่ไปโหลด แบบฟอร์มที่ https://thailandcan.org/%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87-%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%9A
แล้วส่งไปที่email: Sign4CleanAir@gmail.com
บู้ม!! จบแล้ว ง่ายมาก ยังขาดอีกประมาณ 7,000 ชื่อ เพื่อส่งเข้าสภา
-----------------------------------------
Repost ทำไมต้องมีพรบ.อากาศสะอาด
Q: หน่วยงานไหน เป็นผู้รับผิดชอบเรื่องฝุ่น ?
- เรื่องฝุ่นและมลพิษ ไม่มีใครรับผิดชอบโดยตรง แต่มีหลายๆหน่วยงานรับผิดชอบ แยกในส่วนย่อยของตัวเองไป ซึ่งแต่ละความรับผิดชอบ ก็เกี่ยวเนื่องกับมลพิษคนละประเภทกันไป (ซึ่งหลักๆคือ รถยนต์ โรงงาน และไฟป่า)
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม:
- กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช: ดูแลเรื่องผู้เผาป่าไม้ในเขตอุทยาน
- กรมควบคุมมลพิษ: เสนอความเห็นเพื่อจัดทำนโยบาย / ประสานการเพื่อให้เกิดการแก้ไขภาวะมลพิษทางอากาศ /ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง /ติดตามและตรวจสอบ คุณภาพมลพิษ / ****ไม่มีอำนาจลงโทษใคร ต้องบอกไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบอีกที!! ซึ่งหลักๆก็คือ
- กระทรวงอุตสาหกรรม :ดูแลด้านโรงงานอุตสาหกรรม / กำหนดและติดตามค่ามาตรฐานของการปล่อยสารพิษจากโรงงานและนิคมอุตสาหกรรม
- กระทรวงมหาดไทย: สำนักงานตำรวจแห่งชาติ : ออกกฎและข้อกำหนดด้านค่ามาตรฐานของการใช้รถยนต์
- กระทรวงสาธารณสุข : อันนี้ดูเป็นเหตุการณ์ไป ซึ่งใช้ได้แค่บางกรณี / โดยหลักก็คือการรับมือต่อเหตุที่ก่อให้"เกิดมลพิษที่เดือดร้อนและเสื่อมต่อสุขภาพของประชาชน" / สามารถใช้อำนาจระงับเฉพาะเหตุได้
Q. มีกฎหมายอะไรเกี่ยวข้องบ้าง
- พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 / พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับล่าสุดคือ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562): /พ.ร.บ. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 /พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 /พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535/ พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 /พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562
- โดยสรุปก็คือ เรื่องอากาศ มันกระจัดกระจายไปอยู่ตามกฎหมายย่อยต่างๆ แต่ยังไม่มีการจัดการแบบ Centralized ที่มีการตั้งเป้า วางแผน และบังคับใช้ข้ามหน่วยงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั่นเองแหล่ะครัช
Q. Clean Air Act พรบ.อากาศสะอาด ของภาคประชาชน กำลังเสนออะไร
- สร้างหน่วยงานที่ดูแลเรื่องอากาศโดยตรง ทำงานข้ามกระทรวง และมีอำนาจบังคับการ (คล้ายๆกรมควบคุมมลพิษเวอร์ชั่นเล่นกล้ามมาแล้ว ล่ำกว่าเดิม) ก็คือการทำงานแบบบูรณาการในเรื่องนี้นั่นเอง
- สร้าง platform ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลด้านมลพิษ จากโรงงานต่างๆในพื้นที่อยู่อาศัยของตัวเองได้ (PRTR: Pollutant Release and Transfer Register)
- มีการกระจายอำนาจการจัดการไปยังแแต่ละหน่วยของจังหวัด กระจายอำนาจไปยังท้องถิ่นในการดูแลคุณภาพอากาศของตนเอง
- การสร้าง awareness ให้กับประชาชนในเรื่องของ "สิทธิที่จะหายใจอากาศสะอาด"
Q: คุณช่วยอะไรได้บ้าง
- ไป Download แบบฟอร์มและลงชื่อ เพื่อให้ครับ 10,000 ชื่อ เพื่อดัน "ร่างพ.ร.บ กำกับดูแลการจัดการอากาศสะอาดเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ" เข้าสู่สภาฯ
- ดูรายละเอียดได้ที่ : https://thailandcan.org/
-------------------------------
ร่วมกันลงชื่อ สิทธิในการหายใจมันคือสิทธิขั้นพื้นฐานที่สุดของสิ่งมีชีวิตนะ
- ขอบคุณ Thailand Clean Air Network สำหรับข้อมูลครับผม ใครสนใจอยากคุยกับเครือข่ายนี้ก็ตามนี้ :
- E-mail : thailandcleanairnetwork@gmail.com / 096 362 4549
ขอบคุณมากครับ
#พรบอากาศสะอาด
#RightToCleanAir
#ThailandCAN
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「righttocleanair」的推薦目錄:
- 關於righttocleanair 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的精選貼文
- 關於righttocleanair 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的最讚貼文
- 關於righttocleanair 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的最佳解答
- 關於righttocleanair 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於righttocleanair 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於righttocleanair 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於righttocleanair 在 #righttocleanair - Explore - Facebook 的評價
- 關於righttocleanair 在 #righttocleanair - Explore | Facebook 的評價
- 關於righttocleanair 在 #RightToCleanAir protest... - Heinrich-Böll-Stiftung Sarajevo 的評價
- 關於righttocleanair 在 ไอเดีย ภาพถูกใจ 10 รายการ | พรวันเกิด, อวยพรวันเกิด, สุขสันต์วันเกิด 的評價
righttocleanair 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的最讚貼文
1. ฝุ่นกรุงเทพ มาจากไหน ?
- จากข้อมูลที่ใช้ในการประชุม "อนุกรรมการด้านวิชาการแก้ไขมลภาวะทางอากาศ" ปี 2563 นะ
- มีข้อสรุปออกมาว่า 72.5% มาจาก การขนส่งทางถนน (รถบรรทุก 28% / รถกระบะ 21%(ดีเซล คือเครื่องยนตืที่สร้างมลพิษเยอะสุด)/รถยนต์ 4 ที่นั่ง 10% /รถประจำทาง 7% /รถมอไซค์ 5%/ รถตู้ 1.5 %)
- มาจากแหล่งอื่น ๆ เช่น เผาในที่โล่ง ครัวเรือน อุตสาหกรรม 27.5%
- แต่! มีการตั้งข้อสงสัยโดยนักวิชาการว่า
1. ข้อมูลนี้เก่าไปนิด (ประมาณ 3-4 ปี แต่เอามาใช้ในปีนี้)
2. ตรวจวัดแต่ภายในกทม. แต่ยังไม่ได้เอาบริเวณรอบกทม.เข้าไปคิด
3. จากโรงงานแสนกว่าโรงงานในเมืองไทย อยู่ในแถบปริมณฑลถึง 40,000 กว่าโรงงาน ซึ่งไม่ใช่ทุกโรงที่ได้มาตรฐานเรื่องการปล่อยมลพิษทางอากาศ จึงน่าจะมีผลมากต่อมลพิษในกทม. แต่ยังไม่มีการศึกษาที่ครอบคลุมทั้งหมด
- สรุปคือ ยังสรุปไม่ได้ 100% ว่าฝุ่นกทม.มาจากไหน ต้องการการวิจัยที่ update และครอบคลุมพื้นที่มากกว่านี้จ้า
2. หน่วยงานไหน เป็นผู้รับผิดชอบเรื่องฝุ่น ?
- เรื่องฝุ่นและมลพิษ ไม่มีใครรับผิดชอบโดยตรง แต่มีหลายๆหน่วยงานรับผิดชอบ แยกในส่วนย่อยของตัวเองไป ซึ่งแต่ละความรับผิดชอบ ก็เกี่ยวเนื่องกับมลพิษคนละประเภทกันไป (ซึ่งหลักๆคือ รถยนต์ โรงงาน และไฟป่า)
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม:
- กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช: ดูแลเรื่องผู้เผาป่าไม้ในเขตอุทยาน
- กรมควบคุมมลพิษ: เสนอความเห็นเพื่อจัดทำนโยบาย / ประสานการเพื่อให้เกิดการแก้ไขภาวะมลพิษทางอากาศ /ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง /ติดตามและตรวจสอบ คุณภาพมลพิษ / ****ไม่มีอำนาจลงโทษใคร ต้องบอกไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบอีกที!! ซึ่งหลักๆก็คือ
- กระทรวงอุตสาหกรรม :ดูแลด้านโรงงานอุตสาหกรรม / กำหนดและติดตามค่ามาตรฐานของการปล่อยสารพิษจากโรงงานและนิคมอุตสาหกรรม
- กระทรวงมหาดไทย: สำนักงานตำรวจแห่งชาติ : ออกกฎและข้อกำหนดด้านค่ามาตรฐานของการใช้รถยนต์
- กระทรวงสาธารณสุข : อันนี้ดูเป็นเหตุการณ์ไป ซึ่งใช้ได้แค่บางกรณี / โดยหลักก็คือการรับมือต่อเหตุที่ก่อให้"เกิดมลพิษที่เดือดร้อนและเสื่อมต่อสุขภาพของประชาชน" / สามารถใช้อำนาจระงับเฉพาะเหตุได้
3. มีกฎหมายอะไรเกี่ยวข้องบ้าง
- พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 / พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับล่าสุดคือ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562): /พ.ร.บ. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 /พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 /พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535/ พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 /พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562
- โดยสรุปก็คือ เรื่องอากาศ มันกระจัดกระจายไปอยู่ตามกฎหมายย่อยต่างๆ แต่ยังไม่มีการจัดการแบบ Centralized ที่มีการตั้งเป้า วางแผน และบังคับใช้ข้ามหน่วยงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั่นเองแหล่ะครัช
4. Clean Air Act พรบ.อากาศสะอาด ของภาคประชาชน กำลังเสนออะไร
- สร้างหน่วยงานที่ดูแลเรื่องอากาศโดยตรง ทำงานข้ามกระทรวง และมีอำนาจบังคับการ (คล้ายๆกรมควบคุมมลพิษเวอร์ชั่นเล่นกล้ามมาแล้ว ล่ำกว่าเดิม) ก็คือการทำงานแบบบูรณาการในเรื่องนี้นั่นเอง
- สร้าง platform ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลด้านมลพิษ จากโรงงานต่างๆในพื้นที่อยู่อาศัยของตัวเองได้ (PRTR: Pollutant Release and Transfer Register)
- มีการกระจายอำนาจการจัดการไปยังแแต่ละหน่วยของจังหวัด กระจายอำนาจไปยังท้องถิ่นในการดูแลคุณภาพอากาศของตนเอง
- การสร้าง awareness ให้กับประชาชนในเรื่องของ "สิทธิที่จะหายใจอากาศสะอาด"
5. คุณช่วยอะไรได้บ้าง
- ไป Download แบบฟอร์มและลงชื่อ เพื่อให้ครับ 10,000 ชื่อ เพื่อดัน "ร่างพ.ร.บ กำกับดูแลการจัดการอากาศสะอาดเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ" เข้าสู่สภาฯ
- ดูรายละเอียดได้ที่ : https://thailandcan.org/
- ต้องส่งเป็นเอกสารอย่างเดียวจ้า ทำออนไลน์ไม่ได้ อ่านรายละเอียดในเวปได้เลยครับ หรือจะไปยังจุดรับลงชื่อที่กระจายอยู่ทั่วเมืองก็ได้ครับ ดูรายละเอียดใน เวปได้เช่นกัน https://thailandcan.org/%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8...
- ตอนนี้ร่างของภาคประชาชน มีสองร่าง (ซึ่งทั้ง 2 อันนี้ ต่างกัน แต่ทำงานแบบสนับสนุนกัน)
1. "ร่างพ.ร.บ. การบริหารจัดการเพื่ออากาศสะอาด" : ร่างโดยสภาลมหายใจเชียงใหม่ และสภาหอการค้าไทย อันนี้ล่ารายชื่อครบ 10,000 คนแล้ว ตอนนี้เข้าไปรออภิปรายอยู่ในสภา
2. "ร่างพ.ร.บ กำกับดูแลการจัดการอากาศสะอาดเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ" ก็คืออันที่เล่ามา ร่างโดย Thailand Clean Air Network ตอนนี้เพิ่งได้แค่ 1,000 กว่ารายชื่อ ยังต้องการอีก 9,000 ชื่อ เพื่อให้พรฐ.นี้ ถูกเข้าไปพิจารณาในสภา
-------------------------------
- เอวัง หวังว่าจะไม่เข้าใจยากจนเกินไป รู้แล้วบอกต่อกันเยอะๆ ร่วมกันลงชื่อ สิทธิในการหายใจมันคือสิทธิขั้นพื้นฐานที่สุดของสิ่งมีชีวิตนะ
- ขอบคุณ Thailand Clean Air Network สำหรับข้อมูลครับผม ใครสนใจอยากคุยกับเครือข่ายนี้ก็ตามนี้ :
- E-mail : thailandcleanairnetwork@gmail.com / 096 362 4549
ขอบคุณมากครับ
วันนะซิง วิ่งไม่ไหวสำลักฝุ่น
#พรบอากาศสะอาด
#RightToCleanAir
#ThailandCAN
righttocleanair 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的最佳解答
อากาศที่สะอาด ควรจะเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่สุดของมนุษย์ไม่ใช่หรือ!!
ประเทศไทย ควรจะมี Clean Air Act ได้แล้วว!!! มาร่วมกันลงชื่อหน่อย เราต้องการ 10,000 รายชื่อ เพื่อยื่นเรื่องเข้าสภา
คนไทยเสียชีวิตจากมลพิษทางอากาศสูงเป็นอันดับ 7 ของโลก ซึ่งในปี พ.ศ.2559 มีประชากรไทย ถึงร้อยละ 75 อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศเกินกว่าระดับที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ !
ลงชื่อที่นี่👉 https://thaicleanair.org/ร่วมลงชื่อเสนอร่าง-พรบ
พรบ. ฉบับนี้
1. [บังคับกฏหมาย] จะผลักดันให้มีหน่วยงานที่เข้ามาควบคุมดูแลการทำงานของรัฐ เพื่อให้มีการบังคับใช้กฎหมายเรื่องอากาศจริงจังขึ้น
2.[กระจายอำนาจ] เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการร่างนโยบายและกฎหมายฉบับใหม่เพื่อปกป้องสิทธิในการได้รับอากาศที่ปลอดภัยของพวกเรา
3.[กระจายข้อมูล] มีช่องทางให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลเรื่องอากาศได้อย่างเท่าเทียม ช่องทางการร้องเรียนปัญหาด้านคุณภาพอากาศ ปัญหาการทำงานของเจ้าหน้าที่ และช่องทางในการตรวจสอบและเรียกร้องการเยียวยาได้อย่างทั่วถึง
วันนี้การเปลี่ยนแปลงอยู่ในมือคุณแล้ว
ร่วมกันผลักดันพรบ.อากาศสะอาด
ลงชื่อที่นี่👉 https://thaicleanair.org/ร่วมลงชื่อเสนอร่าง-พรบ
ทำตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. กรอกเอกสารแบบฟอร์มหมายเลข 7, 2. ถ่ายเอกสารสำเนาบัตรประชาชน เซ็นรับรองเอกสาร และ 3. ส่งเอกสารมาที่เครือข่ายอากาศสะอาด เลขที่ 1032/136-138 ชั้น 1 ห้อง VOX ถนนพหลโยธิน 18/1 แยก 2 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
#พรบอากาศสะอาด #ThaiCleanAirAct
#ขออากาศดีคืนมา
#ThaiCAN
#RightToCleanAir
righttocleanair 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
righttocleanair 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
righttocleanair 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
righttocleanair 在 #righttocleanair - Explore | Facebook 的推薦與評價
ที่แย่ไปกว่านั้นฤดูฝุ่น หมอกควัน มลพิษกลับมาอีกแล้ว!!! ผลงานใน video นี้สร้างขึ้นเมื่อต้นปี2020 ช่วงที่PM2.5 หนักๆ อากาศแย่มากๆทำให้ประเทศไทยขึ้นเป็นอันดับ 3 ... ... <看更多>
righttocleanair 在 #RightToCleanAir protest... - Heinrich-Böll-Stiftung Sarajevo 的推薦與評價
Heinrich-Böll-Stiftung Sarajevo लाइभ हुनुन्थ्यो. २०२० जनवरी २० तारिक ११:१७ बजे ·. # RightToCleanAir protest 2020. ... <看更多>
righttocleanair 在 #righttocleanair - Explore - Facebook 的推薦與評價
explore #righttocleanair at Facebook. ... <看更多>