PEMAHAMAN TENTANG IDENTITI, INTEGRITI DAN KERAHSIAAN
Mungkin ada daripada kita yang sudah tahu tentang pengekodan (encoding), penyulitan (encryption), dan pencincangan (hashing) tetapi apabila saya bercakap dari sudut dari segi identiti, integriti, dan kerahsiaan ia menjadi sedikit mengelirukan.
Saya hanya mahu bercakap tentang teknik ini dari segi Privasi dan Keselamatan. Meungkin ada sesetengah yang sudah tahu mengenai perkara yang saya terangkan. Tetapi, kalau ada yang tidak tepat pohon komen. Saya yakin bahawa anda akan tahu sesuatu yang berguna oleh akhir penulisan ini.
Anda mesti memikirkan Pengekodan (Encoding) , Penyulitan (Encryption), dan Pencincangan (Hashing) adalah asas kepada Kejuruteraan perisian dan mengapa saya bercakap lebih tentang perkara ini. Tetapi, terdapat juga andaian bahawa ketiga-tiga ini adalah benda serupa dan salah satu daripadanya boleh digunakan untuk memastikan keselamatan maklumat tetapi ianya salah. Terdapat banyak kekeliruan di sekitar istilah ini. Tanpa pemahaman yang betul, Pembangun perisian boleh tersilap menghantar simpanan data yang tidak selamat (atau) aliran data yang tidak menentu yang berisiko dan tidak selamat. Hari ini, saya akan membincangkan kepentingannya dan kes kajian penggunaan ketiga-tiga teknologi yang berkenaan.
Sebahagian besar daripada kita mungkin ada yg cuba memahami istilah ini dan padankan kefahamannya seolah-olah ianya ada sekumpulan algoritma dan mungkin terlupa kes penggunaan sebenar.
Dari sudut pandangan Keselamatan, identiti, integriti, dan kerahsiaan adalah kunci untuk membina perisian.
Identiti/ketulenan (Identity/Authenticity)
Mengetahui punca asal pemilik maklumat.
Contoh:
-Mengetahui penghantar mesej
-ID pemanggil bagi panggilan masuk
Integriti
M koelindungi maklumat daripada diubah/diubahsuai.
Contoh:
-Menggunakan SSL untuk mengelakkan perubahan data (DOS, serangan MITM)
-Pengesahan pelayan pada data masuk (pengesahan harga e-dagang Checkout)
Kerahsiaan
Hanya yang dibenarkan mempunyai akses kepada maklumat terhad.
Contoh:
-Akaun akses kepada pengguna log masuk
-Mesej akses kepada penghantar & penerima
Pengekodan (Encoding)
Pengekodan adalah satu proses untuk mengekalkan jujukan aksara karakter ke dalam format tertentu untuk tujuan transmisi atau penyimpanan data yang cekap. Pengekodan menggunakan algoritma yang tersedia secara awam untuk format, ianya bukan digunakan untuk melindungi maklumat. Sebaliknya, ia digunakan untuk mengoptimumkan saiz data yang dihantar dan akan diambil oleh jenis sistem yang berbeza dengan selamat. cth. base64 biasanya digunakan untuk mengekod data binari yang perlu disimpan atau dipindahkan dalam media yang boleh memproses data teks.
Contoh: Base64, Unicode (UTF-8, UTF-16), ASCII, pengekodan URL
Kes Penggunaan:
— Analog kepada digital: kita menggunakan kaedah pengekodan/penyahkodan untuk berkomunikasi dengan komputer. Sebarang bentuk data yang kita simpan/ubah pada (melalui) komputer dikodkan.
Pencincangan (Hashing)
Pencincangan adalah seperti jalan sehala; data yang telah dicincang tidak boleh dinyah-cincang. Pencincangan memastikan integriti data. Maksudnya, perubahan data akan dikenal pasti kerana setiap input menghasilkan output yang sentiasa sama. Hash biasanya adalah melibatkan rentetan daripada penambahan beberapa karakter.
Terdapat algoritma pencincangan yang telah dikompromi yang dikenali sebagai perlanggaran cincangan. Ia secara literal bermaksud dua input menjana cincangan yang sama. MD5 (mesej Digest algoritma) adalah salah satu algoritma yang telah dihentikan daripada selamat.
Contoh: SHA-1, SHA-2, MD5, SHA-256 dan sebagainya.
Kes Penggunaan:
— Untuk menyimpan kata laluan yang selamat: membantu mengelakkan daripada menyimpan kata laluan biasa. Hanya pengguna yang mengetahui kata laluan akan dapat mendapatkan maklumat.
— Untuk mengenal pasti fail: menjalankan pencincangan pada keseluruhan fail akan sentiasa menjana cincangan yang sama. Ini adalah berguna terutamanya bagi pengedaran perisian. Ia membantu untuk mengesahkan jumlah fail semasa memuat turun untuk memeriksa sama ada fail telah diubah atau rosak semasa penghantaran.
Penyulitan (Encryption)
Penyulitan menjamin kerahsiaan. Maksudnya, maklumat hanya boleh diakses oleh mereka yang diberi akses untuk berbuat demikian. Penyulitan memerlukan kekunci rahsia untuk mencapai maklumat.
Terdapat dua kategori dalam enkripsi.
Symmetrik: menggunakan kekunci yang sama untuk penyulitan dan penyahsulitan
Contoh:
- Permohonan pembayaran untuk melindungi PII (maklumat identiti peribadi) semasa transaksi.
-Menyimpan mesej teks (atau) maklumat sensitif pada cakera.
Asimetri: menggunakan kekunci awam & peribadi. Enkrip dengan awam dan menyahsulit dengan peribadi.
Contoh:
- HTTPS
- Penyulitan mesej akhir-ke-akhir (End-to-End) (aplikasi Whatsapp, Isyarat)
Penyulitan simetri lebih cepat berbanding Asimetrik.
Kes Penggunaan:
- Pangkalan data (Database): Kewajipan kontraktual, undang-undang privasi, dan pelanggaran data adalah sebab mengapa kita memerlukan penyulitan pada pangkalan data. Banyak organisasi menggunakan campuran penyulitan, tokenisation, dan pelindung data untuk melindungi daripada ancaman yang berpotensi.
- Penyimpanan Awan(Cloud Storage): Penyulitan telah menjadi kawalan keselamatan data utama untuk pengkomputeran awan. Menyulitkan jumlah storan yang berkaitan dengan aplikasi dan menyulitkan data yang disimpan dalam storan objek.
Rumusan ringkas:
- Pengekodan (Encoding) digunakan untuk penyimpanan dan penghantaran data yang cekap
- Cincang (Hashing) digunakan untuk mengekalkan integriti
- Penyulitan (Encryption) digunakan untuk mengekalkan Kerahsiaan
RZ
Boleh caba lanjut tentang Symmetric vs Assemmetric
URL: https://www.binance.vision/…/symmetric-vs-asymmetric-encryp…
同時也有4部Youtube影片,追蹤數超過8萬的網紅ZoLKoRn,也在其Youtube影片中提到,วันนี้จะขอย้อนรอยเรื่องราวการนำเสนอในส่วนของ Get Smart by TT Premium นับตั้งแต่เริ่มต้น จนถึงปัจจุบัน ว่าที่ผ่านมาทั้งหมดกว่า 83 เทปนั้น เผื่อว่าใครที...
「analog vs digital」的推薦目錄:
- 關於analog vs digital 在 Pai Syahira Facebook 的最佳貼文
- 關於analog vs digital 在 ZoLKoRn Facebook 的最佳貼文
- 關於analog vs digital 在 ZoLKoRn Facebook 的最佳貼文
- 關於analog vs digital 在 ZoLKoRn Youtube 的最讚貼文
- 關於analog vs digital 在 ZoLKoRn Youtube 的精選貼文
- 關於analog vs digital 在 ZoLKoRn Youtube 的最讚貼文
- 關於analog vs digital 在 Digital vs Analog. What's the Difference? Why Does it Matter? 的評價
analog vs digital 在 ZoLKoRn Facebook 的最佳貼文
ซาวด์ออนบอร์ด vs ซาวด์การ์ดแยก เสียงต่างกันจริงหรือ ? : Get Smart by TT EP#39
Youtube 1080p60 : https://youtu.be/jU79m_grSvs
or : https://www.youtube.com/c/zolkorn/live
เรื่องของเสียง เป็นเรื่องของความชอบใครความชอบมัน หรือความพอใจของแต่ละคน ซึ่งเรามิอาจจะบอกได้โดยตรงหรอกครับว่า เสียงจากลำโพงตัวไหน หูฟังตัวไหน ซาวด์การ์ดตัวไหน เครื่องเสียงชุดไหน ให้เสียงดีกว่ากัน เพราะแต่ละคนก็ต่างความรู้สึก ประสาทการรับรู้ต่างกัน ดังนั้น Get Smart by TT Premium ในวันนี้ ผมจะไม่ได้มาบอกเล่าหรือยืนยันว่า ซาวด์การ์ดแยกดี ๆ ให้เสียงที่ดีกว่า หรือมีคุณภาพมากกว่า แต่สิ่งที่จะนำมาให้ชม(ไม่มีฟัง)ในวันนี้ คือ... จะมาบอกเล่าว่า ระหว่างซาวด์ออนบอร์ด กับ ซาวด์การ์ดแยก มันให้เสียงที่แตกต่างกันจริงหรือ ?
สำหรับการนำเสนอในวันนี้ จะเป็นการแสดงให้เห็นในลักษณะที่จับต้องได้ มีตัวอย่างชัดเจน ว่าอุปกรณ์สองอย่างที่กล่าวถึงมันมีความแตกต่างกัน ให้อารมณ์ของเสียง ให้บุคลิคที่แตกต่างกันจริง ๆ แต่ไม่ได้จะให้มาฟังแล้วแยกแยะกัน แต่จะเป็นการใช้เครื่องไม้เครื่องมือ ที่ช่วยให้เราสามารถมองเห็นในสิ่งที่จับต้องไม่ได้ กับการใช้งาน Oscilloscope เพื่อตรวจสอบความถี่ที่ซาวด์แต่ละตัวปล่อยออกมา ซึ่งรับรองเลยว่า มันจะช่วยให้มีความเข้าใจในประเด็นนี้ได้มากยิ่งขึ้นอย่างแน่นอน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น มันก็ไม่สามารถบอกได้หรอกครับว่า ตัวไหนให้เสียงที่ดีกว่ากัน จะเพราะอะไร ยังไง ทำไม ลองติดตามชมกันดูละกันนะครับ
วิดีโอที่เกี่ยวข้อง...
Sound Wave (คลื่นเสียง} คืออะไร ? : https://youtu.be/rAX5-x8o4Us
Sound Card คืออะไร ? สำคัญไฉน ? มีประโยชน์อย่างไร ? : https://youtu.be/pd0aoG7Hq_A
Analog vs Digital คืออะไร ? แตกต่างกันอย่างไร ? : https://youtu.be/9EpO7MXCFZ4
ถึงพริกถึงขิง : Sound Cards แยก....มันก็แค่การตลาด !...... จริงรึ๊ ? : https://youtu.be/MSoJX1zMoj0
analog vs digital 在 ZoLKoRn Facebook 的最佳貼文
Analog vs Digital คืออะไร ? แตกต่างกันอย่างไร ? : Get Smart by TT EP#30
Youtube 1080p60 : https://youtu.be/9EpO7MXCFZ4
or : https://www.youtube.com/c/zolkorn/live
เราคงจะได้ยินกันอยู่บ่อย ๆ ว่า... ทุกวันนี้เราอยู่กันในยุคแห่งดิจิทัล หรืออยู่ในโลกดิจิทัล ซึ่งคำว่าดีจิทัลนั้นหากใครที่คลุกคลีอยู่กับโลกของไอที โลกของคอมพิวเตอร์ น่าจะไม่ใช่คำที่เพิ่งจะได้ยินอย่างแน่นอน หากแต่สิ่งที่ทำให้บุคคลทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า Digital มันใกล้ตัวมากขึ้นก็ตอนที่สถนีโทรทัศน์ในบ้านเรามีการเปลี่ยนการออกอากาศจากระบบแอนาลอกมาเป็นดิจิทัลนั่นเอง จากจุดนี้เองก็เลยทำให้เป็นเรื่องราวของการนำเสนอในช่วงของ Get Smart by TT Premium ในวันนี้ เพราะเชื่อว่าน่าจะยังมีอีกจำนวนไม่น้อย ที่น่าจะยังสงสัยกันว่า "ดิจิทัล" (Digital) มันคืออะไร ? มันดีกว่าแอนาลอกอย่างไร ? ทำไมถึงต้องมีการเปลี่ยนมาใช้ระบบดิจิทัลแทน
ส่วนทางด้านของชาวพีซีหรือคนในยุคไอทีเอง ก็น่าจะยังมีจำนวนไม่น้อยเช่นกันที่อาจจะยังไม่ทราบว่ามันแตกต่างกันอย่างไร ทำไม เพราะอะไร คอมพิวเตอร์จึงทำงานบนพื้นฐานของดิจิทอล หรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับประเด็นที่ถกเถียงกันเป็นอย่างมาก เกี่ยวกับเรื่องของระบบเสียงว่าอย่างไหน ชนิดไหนดีกว่ากัน ระหว่างการบันทึกหรือการฟังโดยใช้ระบบ แอนาลอกและดิจิทัล ซึ่งในวันนี้จะถือว่าเป็นการปูทางไปสู่เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับระบบเสียงต่อไป ส่วนในวันนี้เราก็มาทำความรู้จักกับ แอนาลอก และ ดิจิทัล กันก่อนละกันนะครับว่า มันคืออะไร ต่างกันยังไง ?
analog vs digital 在 ZoLKoRn Youtube 的最讚貼文
วันนี้จะขอย้อนรอยเรื่องราวการนำเสนอในส่วนของ Get Smart by TT Premium นับตั้งแต่เริ่มต้น จนถึงปัจจุบัน ว่าที่ผ่านมาทั้งหมดกว่า 83 เทปนั้น เผื่อว่าใครที่กำลังสนใจหรือกำลังหาข้อมูลในบางประเด็นอยู่ ซึ่งหลาย ๆ ประเด็นที่ตกเป็นคำถาม ตกเป็นข้อสงสัยหรือถกเถียงกันอยู่ ได้มีการนำเสนอไปแล้วแต่อาจจะตกหล่นไปยังไม่ได้รับชม #ZoLKoRn #GetSmart #Thermaltake
0:00 : เพลงเริ่มรายการ
2:58 : ช่วงเริ่มรายการ แนะนำเนื้อหาและสนทนาถามตอบ
19:15 : จุดเริ่มต้น และ จุดประสงค์ของ Get Smart
31:17 : ย้อนรอย Get Smart 1 (อัตรา Refresh Rate สำหรับคอเกม คืออะไร)
31:25 : ย้อนรอย Get Smart 2 (80 Plus)
34:05 : ย้อนรอย Get Smart 3 (PSU รางเดื่ยว VS รางคู่)
40:05 : ย้อนรอย Get Smart 4 (OEM กับ ODM)
46:12 : ย้อนรอย Get Smart 5 (เรื่องของปลั้กไฟ)
47:26 : ย้อนรอย Get Smart 6 (PowerSupply ทำงานอย่างไร)
49:11 : ย้อนรอย Get Smart 7 (XMP แรม)
58:15 : ย้อนรอย Get Smart 8 (เรื่องของ Timing แรม)
1:01:36 : ย้อนรอย Get Smart 9 (CPU คอขวด คืออะไร ?)
1:04:55 : ย้อนรอย Get Smart 10 (เมาล์แล็ค คืออะไร ?)
1:05:56 : ย้อนรอย Get Smart 11 (Vsync Gsync FreeSync ทำงานอย่างไร ?)
1:08:48 : ย้อนรอย Get Smart 12 (Thermalpad สำคัญอย่างไร ?)
1:11:12 : ย้อนรอย Get Smart 13 (Hyper-Thread กับ AMD SMT คืออะไร ?)
1:17:50 : ย้อนรอย Get Smart 14 (เรื่องของ Panel หน้าจอ IPS , VA , TN)
1:22:20 : ย้อนรอย Get Smart 15 (AMD StoreMi และ FuzeDrive คืออะไร ?)
1:22:50 : ย้อนรอย Get Smart 16 (HDMI ถูกแพง แตกต่างกันจริงหรือ ?)
1:28:28 : ย้อนรอย Get Smart 17 (x86 คืออะไร 32/64Bit คืออะไร ?)
1:29:35 : ย้อนรอย Get Smart 18 (CPU Cache คืออะไร ?)
1:30:05 : ย้อนรอย Get Smart 18.5 Special (M.2 SSD VS การ์ดแปลง PCIe)
1:34:52 : ย้อนรอย Get Smart 19 (NVMe M.2 SATA คืออะไร ?)
1:36:53 : ย้อนรอย Get Smart 20 (ลำดับการทำงานของ GPU)
1:43:02 : ย้อนรอย Get Smart 21 (เรื่องชุดน้ำ ตอนที่ 1)
1:43:23 : ย้อนรอย Get Smart 22 (เรื่องของ Multi-GPU)
1:46:47 : ย้อนรอย Get Smart 23 (เรื่องชุดน้ำ ตอนที่ 2)
1:47:13 : ย้อนรอย Get Smart 24 (เรื่องชุดน้ำ ตอนที่ 3)
1:47:32 : ย้อนรอย Get Smart 25 (PCI Express คืออะไร ?)
1:52:11 : ย้อนรอย Get Smart 26 (เรื่องของ USB)
1:56:22 : ย้อนรอย Get Smart 27 (เล่นเกม GPU ไม่ 100 ทำไงดี ?)
1:57:40 : ย้อนรอย Get Smart 27.5 (Refresh Rate กับ Frame Rate คืออะไร ?)
1:59:44 : ย้อนรอย Get Smart 28 (Frame Rate เราต่างกันเพราะอะไร ?)
2:02:45 : ย้อนรอย Get Smart 29 (Resolution Scale คืออะไร ?)
2:08:21 : ย้อนรอย Get Smart 30 (Digital กับ Analog คืออะไร ?)
2:09:59 : ย้อนรอย Get Smart 31 (Sound Wave คืออะไร ?)
2:12:45 : ย้อนรอย Get Smart 32 (SuperPI บอกอะไรได้ ?)
2:18:27 : ย้อนรอย Get Smart 33 (Sound Card คืออะไร ?)
2:23:28 : ย้อนรอย Get Smart 34 (CPU MHz VS Core ?)
2:25:00 : ย้อนรอย Get Smart 35 (การ์ดจอขับจอ Hz สูงๆไม่ไหว เกี่่ยวหรือ ?)
2:26:17 : ย้อนรอย Get Smart 36 (UPS คืออะไร ?)
2:27:38 : ย้อนรอย Get Smart 37 (หน่วย Unit คืออะไร ?)
2:37:04 : ย้อนรอย Get Smart 38 (70 องศา ร้อน ?)
2:41:29 : ย้อนรอย Get Smart 39 (Sound Onboard กัย Sound Card แยก)
2:45:25 : ย้อนรอย Get Smart 40 (ข้อมูล Mainboard ดูอย่างไร ?)
2:48:06 : ย้อนรอย Get Smart 41-42 (HDR คืออะไร ?)
2:52:59 : ย้อนรอย Get Smart 43 (Heatpipe ทำงานอย่างไร ?)
2:57:49 : ย้อนรอย Get Smart 44 (NAND คืออะไร ?)
2:58:19 : ย้อนรอย Get Smart 45 (PCI-E 4.0 คืออะไร ?)
2:59:48 : ย้อนรอย Get Smart 46 (คอขวดคืออะไร ?)
3:01:01 : ย้อนรอย Get Smart 47 (Turbo Boost ไม่วิ่งตามสเปค ?)
3:02:31 : ย้อนรอย Get Smart 48 (ทำไมไฟเลื้ยง CPU ถึงมี 2 ช่อง ?)
3:09:38 : ย้อนรอย Get Smart 49 (ทำไม AMD XMP ไม่ค่อยผ่าน ?)
3:11:30 : ย้อนรอย Get Smart 50 (Full HD , 2K ,4K ต่างกันอย่างไร ?)
3:13:43 : ย้อนรอย Get Smart 52 (ทำไม UPS ควร Sine Wave ?)
3:20:13 : ย้อนรอย Get Smart 53 (รวมฮิต คิดเองบ้าง)
3:20:54 : ย้อนรอย Get Smart 54 (ทาซิลิโคนให้ถูกต้อง ?)
3:24:52 : ย้อนรอย Get Smart 55 (ภาคจ่ายไฟ CPU)
3:28:53 : ย้อนรอย Get Smart 57-58 (Sink ลม หรือน้ำปิดดี ?)
3:34:27 : ย้อนรอย Get Smart 59 (CPU Workload คืออะไร ?)
3:35:35 : ย้อนรอย Get Smart 60 (Perfomance VS Efficiency)
3:37:35 : ย้อนรอย Get Smart 62 (Multi-Threads VS Multi-Taskings)
3:38:34 : ย้อนรอย Get Smart 63 (PSU เลือกชื้ออย่างไรดี ?)
3:40:11 : ย้อนรอย Get Smart 64 (Internet Ping คืออะไร ?)
3:42:24 : ย้อนรอย Get Smart 65 (ชุดน้ำ 1 ตอน VS 2 ตอน)
3:44:40 : ย้อนรอย Get Smart 66 (CPU nm สำคัญไฉน ?)
3:46:18 : ย้อนรอย Get Smart 67 (CPU IPC คืออะไร ?)
3:48:14 : ย้อนรอย Get Smart 68 (80+ กับความเชิ่อผิดๆ)
3:48:48 : ย้อนรอย Get Smart 69 (เรื่องของชุดน้ำ)
3:52:34 : ย้อนรอย Get Smart 70 (Refresh Rate กับ Frame Rate คืออะไร ?)
3:56:23 : ย้อนรอย Get Smart 71 (DAC VS Sound Card)
3:57:39 : ย้อนรอย Get Smart 72 (ซิลิโคน ไม่ใช่ Heatsink)
3:59:38 : ย้อนรอย Get Smart 74 (ความสัมพันธ์ของชุดน้ำ)
4:01:35 : Result : บทสรุปของ Get Smart ที่ผ่านมา
4:02:44 : แนวทางของ Get Smart ในอนาคต
4:16:17 : "Get to Smart : Back to Basic"
4:20:48 : ช่วงท้ายรายการ
Credit :
___________________________
Countdown music :
Titre : Claw Through
Artist : Austin Woodward
Powered by: https://www.facebook.com/echopraxiaband/
End music :
Titre : Nothing I Won't Do (feat. Kianna)
Artist : Giulio Cercato
Powered by: https://www.facebook.com/GiulioCercatoMusic/
analog vs digital 在 ZoLKoRn Youtube 的精選貼文
เรื่องของเสียง เป็นเรื่องของความชอบใครความชอบมัน หรือความพอใจของแต่ละคน ซึ่งเรามิอาจจะบอกได้โดยตรงหรอกครับว่า เสียงจากลำโพงตัวไหน หูฟังตัวไหน ซาวด์การ์ดตัวไหน เครื่องเสียงชุดไหน ให้เสียงดีกว่ากัน เพราะแต่ละคนก็ต่างความรู้สึก ประสาทการรับรู้ต่างกัน ดังนั้น Get Smart by TT Premium ในวันนี้ ผมจะไม่ได้มาบอกเล่าหรือยืนยันว่า ซาวด์การ์ดแยกดี ๆ ให้เสียงที่ดีกว่า หรือมีคุณภาพมากกว่า แต่สิ่งที่จะนำมาให้ชม(ไม่มีฟัง)ในวันนี้ คือ... จะมาบอกเล่าว่า ระหว่างซาวด์ออนบอร์ด กับ ซาวด์การ์ดแยก มันให้เสียงที่แตกต่างกันจริงหรือ ?
สำหรับการนำเสนอในวันนี้ จะเป็นการแสดงให้เห็นในลักษณะที่จับต้องได้ มีตัวอย่างชัดเจน ว่าอุปกรณ์สองอย่างที่กล่าวถึงมันมีความแตกต่างกัน ให้อารมณ์ของเสียง ให้บุคลิคที่แตกต่างกันจริง ๆ แต่ไม่ได้จะให้มาฟังแล้วแยกแยะกัน แต่จะเป็นการใช้เครื่องไม้เครื่องมือ ที่ช่วยให้เราสามารถมองเห็นในสิ่งที่จับต้องไม่ได้ กับการใช้งาน Oscilloscope เพื่อตรวจสอบความถี่ที่ซาวด์แต่ละตัวปล่อยออกมา ซึ่งรับรองเลยว่า มันจะช่วยให้มีความเข้าใจในประเด็นนี้ได้มากยิ่งขึ้นอย่างแน่นอน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น มันก็ไม่สามารถบอกได้หรอกครับว่า ตัวไหนให้เสียงที่ดีกว่ากัน จะเพราะอะไร ยังไง ทำไม ลองติดตามชมกันดูละกันนะครับ
วิดีโอที่เกี่ยวข้อง...
Sound Wave (คลื่นเสียง} คืออะไร ? : https://youtu.be/rAX5-x8o4Us
Sound Card คืออะไร ? สำคัญไฉน ? มีประโยชน์อย่างไร ? : https://youtu.be/pd0aoG7Hq_A
Analog vs Digital คืออะไร ? แตกต่างกันอย่างไร ? : https://youtu.be/9EpO7MXCFZ4
ถึงพริกถึงขิง : Sound Cards แยก....มันก็แค่การตลาด !...... จริงรึ๊ ? : https://youtu.be/MSoJX1zMoj0
ติดตามผลงานของเรา...
ติดตามผ่าน Facebook ได้ที่ : https://www.facebook.com/ZoLKoRn
ติดตามผ่าน Twitch : https://www.twitch.tv/ZoLKoRn
ติดตามผ่าน Twitter ได้ที่ : https://twitter.com/ZoLKoRn
ติดตามเว็บไซต์ : http://www.zolkorn.com
ติดต่อเรา : http://www.zolkorn.com/contact/
Credit :
___________________________
Countdown music :
Titre : Cyanide Circus
Powered by : No Copyright Music -
Sponsored by - Music
•••••••••••• Music By •••••••••••••
Cinematic Rise-and-Hit by freesound.org
https://freesound.org
analog vs digital 在 ZoLKoRn Youtube 的最讚貼文
เราคงจะได้ยินกันอยู่บ่อย ๆ ว่า... ทุกวันนี้เราอยู่กันในยุคแห่งดิจิทัล หรืออยู่ในโลกดิจิทัล ซึ่งคำว่าดีจิทัลนั้นหากใครที่คลุกคลีอยู่กับโลกของไอที โลกของคอมพิวเตอร์ น่าจะไม่ใช่คำที่เพิ่งจะได้ยินอย่างแน่นอน หากแต่สิ่งที่ทำให้บุคคลทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า Digital มันใกล้ตัวมากขึ้นก็ตอนที่สถนีโทรทัศน์ในบ้านเรามีการเปลี่ยนการออกอากาศจากระบบแอนาลอกมาเป็นดิจิทัลนั่นเอง จากจุดนี้เองก็เลยทำให้เป็นเรื่องราวของการนำเสนอในช่วงของ Get Smart by TT Premium ในวันนี้ เพราะเชื่อว่าน่าจะยังมีอีกจำนวนไม่น้อย ที่น่าจะยังสงสัยกันว่า "ดิจิทัล" (Digital) มันคืออะไร ? มันดีกว่าแอนาลอกอย่างไร ? ทำไมถึงต้องมีการเปลี่ยนมาใช้ระบบดิจิทัลแทน
ส่วนทางด้านของชาวพีซีหรือคนในยุคไอทีเอง ก็น่าจะยังมีจำนวนไม่น้อยเช่นกันที่อาจจะยังไม่ทราบว่ามันแตกต่างกันอย่างไร ทำไม เพราะอะไร คอมพิวเตอร์จึงทำงานบนพื้นฐานของดิจิทอล หรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับประเด็นที่ถกเถียงกันเป็นอย่างมาก เกี่ยวกับเรื่องของระบบเสียงว่าอย่างไหน ชนิดไหนดีกว่ากัน ระหว่างการบันทึกหรือการฟังโดยใช้ระบบ แอนาลอกและดิจิทัล ซึ่งในวันนี้จะถือว่าเป็นการปูทางไปสู่เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับระบบเสียงต่อไป ส่วนในวันนี้เราก็มาทำความรู้จักกับ แอนาลอก และ ดิจิทัล กันก่อนละกันนะครับว่า มันคืออะไร ต่างกันยังไง ?
ติดตามผลงานของเรา...
ติดตามผ่าน Facebook ได้ที่ : https://www.facebook.com/ZoLKoRn
ติดตามผ่าน Twitch : https://www.twitch.tv/ZoLKoRn
ติดตามผ่าน Twitter ได้ที่ : https://twitter.com/ZoLKoRn
ติดตามเว็บไซต์ : http://www.zolkorn.com
ติดต่อเรา : http://www.zolkorn.com/contact/
Credit :
___________________________
Countdown music :
Titre : Cyanide Circus
Powered by : No Copyright Music - https://www.youtube.com/watch?v=FKMN1GFx748
Sponsored by - Music
•••••••••••• Music By •••••••••••••
Cinematic Rise-and-Hit by freesound.org
https://freesound.org
analog vs digital 在 Digital vs Analog. What's the Difference? Why Does it Matter? 的推薦與評價
What's the difference between digital and analog, and why does it matter? Also which spelling do you prefer? Analogue or Analog? ... <看更多>