สรุป วอร์แรนท์ คืออะไร เข้าใจในโพสต์เดียว /โดย ลงทุนแมน
ถ้าใครเคยจองซื้อคอนโดฯ เจ้าของโครงการจะออกเอกสารที่แสดงถึงการจองสิทธิเพื่อซื้อคอนโดฯ ไว้เบื้องต้น โดยเรามีหน้าที่วางเงินเป็นหลักประกัน และชำระเงินตามเงื่อนไขภายในวันเวลาที่กำหนด
แต่ถ้าเราไม่ทำตามเงื่อนไขภายในระยะเวลาที่กำหนด คอนโดฯ ที่เราจองไว้ก็จะถูกนำไปขายให้คนอื่น ซึ่งแนวคิดนี้ก็มีส่วนคล้ายคลึงกับ การถือสิ่งที่เรียกว่า “วอร์แรนท์”
หลายคนรู้จักและคุ้นเคยกับการซื้อขายหุ้น แต่ก็มีหลายคน อาจจะยังไม่รู้จักวอร์แรนท์ ทั้งที่ก็เคยได้ยินคำนี้มาบ่อยครั้ง
แล้ว วอร์แรนท์ คืออะไร ?
และทำไมบางบริษัทชอบออกตราสารประเภทนี้ให้กับผู้ถือหุ้น
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
วอร์แรนท์ คือ ตราสารที่ออกโดยบริษัทจดทะเบียน เพื่อให้สิทธิแก่ผู้ถือในการซื้อหลักทรัพย์ที่วอร์แรนท์นั้นอ้างอิงอยู่ (Underlying Asset) ซึ่งมีตั้งแต่หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ หุ้นกู้ หรือหน่วยลงทุน โดยจะกำหนดราคาใช้สิทธิ (Exercise Price) เอาไว้
ที่เราคุ้นเคยกัน หลักทรัพย์ที่มีวอร์แรนท์อ้างอิงมักเป็น หุ้นสามัญของบริษัทต่าง ๆ
โดยทั่วไป บริษัทจดทะเบียนมักจะแจกวอร์แรนท์ฟรีให้ผู้ถือหุ้นเดิม
ทั้งนี้ก็เพื่อดึงดูดใจให้มาใช้สิทธิซื้อหุ้นเพิ่มในอนาคต
โดยเงื่อนไข รายละเอียด หรือจุดสำคัญ ที่ผู้ถือวอร์แรนท์ต้องทำความเข้าใจให้ดี ๆ จะประกอบไปด้วย ราคาใช้สิทธิ, รายละเอียดการใช้สิทธิ, ระยะเวลาที่ใช้สิทธิได้ และอายุคงเหลือของวอร์แรนท์
ยกตัวอย่างให้เห็นภาพก็เช่น
สมมติว่า เราเป็นเจ้าของธุรกิจร้านกาแฟและจดทะเบียนอยู่ในตลาดหุ้น ต่อมาคิดว่าอีก 3 ปีข้างหน้า เราต้องการใช้เงินทุนเพื่อขยายสาขาไปต่างประเทศ
ดังนั้น เราจึงต้องการออกวอร์แรนท์ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม
โดยกำหนดให้ อัตราส่วนหุ้นต่อวอร์แรนท์ที่จะได้รับ คือ 4:1, อัตราส่วนการแปลงสภาพ คือ 1:1, ราคาใช้สิทธิ 20 บาท ใช้สิทธิได้ปีละครั้ง และเริ่มใช้สิทธิได้ตั้งแต่ 30 ธ.ค. 2564 ไปจนถึง 30 ธ.ค. 2568
ซึ่งในกรณีนี้สรุปได้ว่า
- ผู้ที่ถือหุ้นในธุรกิจร้านกาแฟของเรา ถ้าถือหุ้นอยู่ 4 หุ้นจะได้ 1 วอร์แรนท์
- ผู้ถือหุ้นสามารถใช้ 1 วอร์แรนท์ แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น โดยจ่ายเงินให้บริษัทเรา 20 บาท
- วอร์แรนท์มีอายุ 4 ปี โดยใช้สิทธิแปลงสภาพได้ปีละครั้ง โดยผู้ถือหุ้นจะเริ่มใช้สิทธิได้ครั้งแรก ในวันที่ 30 ธ.ค. 2564 และครั้งสุดท้ายในวันที่ 30 ธ.ค. 2568
ทั้งนี้ เมื่อผู้ถือวอร์แรนท์มาใช้สิทธิในการแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ บริษัทจดทะเบียนที่ออกวอร์แรนท์ ก็จะได้เงินทุนเพิ่ม เพื่อมาใช้ในกิจการ ส่วนคนที่มาใช้สิทธิแปลงวอร์แรนท์เป็นหุ้นสามัญก็จะได้หุ้นเพิ่ม
อย่างไรก็ตาม มันยังมีอีกกรณีหนึ่ง
คือคนที่ถือวอร์แรนท์อยู่ อาจไม่เก็บวอร์แรนท์ไว้ใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญด้วยตัวเองก็ได้
เนื่องจากวอร์แรนท์นั้นสามารถนำไปขายเปลี่ยนมือในตลาดหุ้นได้ และราคาของวอร์แรนท์ในตลาด ในแต่ละช่วง ก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามหลาย ๆ ปัจจัย เช่น
1. ราคาสินค้าสินทรัพย์อ้างอิง
วอร์แรนท์จะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นตามราคาสินทรัพย์อ้างอิงที่สูงขึ้น และลดลงหากราคาหลักทรัพย์อ้างอิงนั้นลดลง
2. ราคาใช้สิทธิ เทียบกับราคา สินทรัพย์อ้างอิง
หากราคาใช้สิทธิ สูงกว่าราคาสินทรัพย์อ้างอิงมาก ๆ ก็จะทำให้ราคาของวอร์แรนท์นั้นต่ำ
เนื่องจากนักลงทุนมองว่า โอกาสที่ราคาของสินทรัพย์อ้างอิงจะปรับตัวสูงกว่าราคาใช้สิทธินั้นมีน้อย ซึ่งหากเอาวอร์แรนท์นั้นไปใช้สิทธิแปลงเป็นหุ้นสามัญแล้วเอามาขาย ก็ย่อมขาดทุน
3. อายุคงเหลือของสัญญา
มูลค่าของวอร์แรนท์จะค่อย ๆ ลดลง ตามอายุคงเหลือของวอร์แรนท์ที่ลดลง และถ้าวอร์แรนท์ไม่ได้ถูกใช้สิทธิภายในเวลาที่กำหนด วอร์แรนท์นั้น “จะมีค่าเป็นศูนย์”
4. ความผันผวนของราคาสินทรัพย์อ้างอิง
ความผันผวนของระดับราคาสินทรัพย์อ้างอิง ยิ่งมีมากขึ้น จะส่งผลให้ราคาของวอร์แรนท์มีการเคลื่อนไหวผันผวนสูงตามไปด้วย
สำหรับคนที่มีวอร์แรนท์อยู่ในมือ
กรณีที่ราคาใช้สิทธิรวมกับราคาวอร์แรนท์แล้ว (กรณีที่ซื้อวอร์แรนท์มา) ต่ำกว่าราคาหุ้นที่อ้างอิงในตลาด ก็จะสามารถใช้สิทธิซื้อหุ้น และเอาหุ้นนั้นไปขายในตลาดทำกำไร ซึ่งวอร์แรนท์นั้นจะถือว่ามีมูลค่า หรือเรียกว่า “In-the money”
ในทางกลับกัน ถ้าราคาใช้สิทธิรวมกับราคาวอร์แรนท์ (กรณีที่ซื้อวอร์แรนท์มา) สูงกว่าราคาหุ้นอ้างอิงในตลาด ผู้ถือก็มักไม่ใช้สิทธิ เพราะไปซื้อหุ้นนั้นในตลาดได้ในราคาที่ถูกกว่า
วอร์แรนท์นั้น ก็จะถือว่าไม่มีมูลค่า หรือเรียกว่า “Out-of-the money”
โดยสิ่งที่ทำให้วอร์แรนท์ดึงดูดผู้ลงทุนคือ ความเป็น Leverage หรือที่หมายถึง การลงทุนที่ใช้เงินน้อยแต่มีโอกาสได้กำไรมาก โดยจำกัดความสูญเสียไว้ ซึ่งอย่างมากที่สุดก็คือ ต้นทุนที่ได้วอร์แรนท์มา
ซึ่งบางคนได้มาฟรี ๆ ก็อาจมองว่าไม่เสียหายอะไร
ส่วนผู้ที่ซื้อมาจากในตลาดอีกที แล้วใช้สิทธิไม่ทันหรือเลือกไม่ใช้สิทธิ ก็จะขาดทุนเท่าราคาที่ซื้อมา
ถึงตรงนี้ คำถามที่บางคนอาจสงสัยก็คือ แล้วถ้าบริษัทต้องการเงินทุนเพิ่ม ทำไมไม่เลือกที่จะขอเพิ่มทุนตรง ๆ จากผู้ถือหุ้น แต่กลับเลือกที่จะออกวอร์แรนท์
ที่เป็นแบบนี้ก็เพราะว่า การเพิ่มทุนจะเกิดผลกระทบจาก Dilution Effect ในทันที ซึ่งเป็นผลมาจากการที่จำนวนหุ้นของบริษัทเพิ่มขึ้น ทำให้ราคาต่อหุ้นปรับตัวลดลง
นอกจากนี้ ในช่วงเวลาที่สภาพตลาดหุ้นไม่ดี การเพิ่มทุนมักจะทำได้ยาก หรือถ้าบริษัทต้องการเพิ่มทุน บริษัทก็ต้องลดราคาขายหุ้นเพิ่มทุนลงมา
ซึ่งไม่เพียงแต่กระทบกับผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท แต่ยังทำให้บริษัทมีโอกาสได้เงินเพิ่มทุนน้อยกว่า ช่วงที่สภาพตลาดหุ้นคึกคัก ที่มีโอกาสขายหุ้นเพิ่มทุนได้ในราคาสูงกว่า
การออกวอร์แรนท์นั้น สามารถชะลอผลกระทบของ Dilution Effect เนื่องจากจำนวนหุ้นเพิ่มทุนจะยังไม่เพิ่มขึ้นทันที จนกว่าผู้ถือวอร์แรนท์จะมาใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ และจะเกิดขึ้นภายในช่วงเวลาที่กำหนดไว้
นอกจากนี้ การออกวอร์แรนท์ ยังช่วยลดสัดส่วนหนี้สินต่อทุนของบริษัท หรือ Debt to Equity Ratio (D/E Ratio) เพราะเมื่อวอร์แรนท์ถูกใช้สิทธิแปลงสภาพ จะถูกบันทึกเข้ามาอยู่ในส่วนทุน ต่างจากกรณีที่บริษัทไปกู้ยืมเงินมา ซึ่งจะถูกบันทึกเป็นหนี้สิน
อ่านมาถึงตรงนี้ เราก็จะสรุปได้ว่า
วอร์แรนท์ เป็นตราสารที่ผู้ถืออาจได้มาฟรีหรือไม่ฟรีก็ได้
ในกรณีที่เป็นผู้ถือหุ้นเดิม อาจได้รับวอร์แรนท์มาฟรี ๆ หรือพ่วงมากับการขอเพิ่มทุนในรอบก่อน ๆ ส่วนคนที่ไม่ได้เป็นผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทที่แจกวอร์แรนท์ ถ้าอยากได้ ก็ต้องไปซื้อเอาจากคนที่เอามาขายต่อในตลาด
ส่วนคนที่มีวอร์แรนท์อยู่ในมือ ก็สามารถเลือกที่จะใช้สิทธิ หรือไม่ใช้สิทธิก็ได้ ตามเงื่อนไขที่กำหนดมา
สำหรับการออกวอร์แรนท์
ในแง่ของบริษัทที่ออกวอร์แรนท์ ต้องคาดการณ์มูลค่าเงินทุนที่บริษัทต้องการใช้ในอนาคต ให้สอดคล้องกับอายุของวอร์แรนท์ รวมไปถึงราคาใช้สิทธิ เพื่อลดผลกระทบด้าน Dilution Effect ให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท รวมทั้งนำเงินทุนที่ได้จากการแปลงสภาพไปสร้างผลตอบแทนให้เหมาะสม
ส่วนในแง่ของผู้ถือวอร์แรนท์ ก็ต้องศึกษารายละเอียดการใช้สิทธิแปลงสภาพ และเงื่อนไขต่าง ๆ ของวอร์แรนท์อย่างละเอียด โดยเฉพาะเรื่องของ อายุคงเหลือของวอร์แรนท์ และเข้าใจความเสี่ยงของการถือหรือลงทุนในวอร์แรนท์ให้ดี
เพราะเราอาจยังสามารถถือหุ้นอยู่ได้ เมื่อบริษัทเกิดปัญหาและราคาหุ้นปรับตัวลดลง ถ้าเชื่อว่าในอนาคตธุรกิจของบริษัทจะฟื้นตัวกลับมาจนทำให้ราคาหุ้นเพิ่มขึ้น
แต่เราไม่สามารถถือวอร์แรนท์ไปได้ตลอด เพราะวอร์แรนท์มีอายุที่จำกัด
ซึ่งถ้าเราซื้อวอร์แรนท์นั้นมาในราคาสูง มันก็ทำให้เราขาดทุนหนักได้เช่นกัน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.sec.or.th/TH/Pages/Investors/EquityProduct-Warrants01.aspx
-https://en.wikipedia.org/wiki/Warrant_(finance)
-https://www.drwealth.com/5-factors-affecting-the-price-of-warrants/
-https://sias.org.sg/beginners-guide/key-factors-that-determine-a-warrant-price/
-https://www.set.or.th/th/regulations/simplified_regulations/warrant_issue_p1.html
debt asset ratio 在 君子馬蘭頭 - Ivan Li 李聲揚 Facebook 的最讚貼文
[創意財務報告]凡事不能睇表面。
1. 上文講過,航空租賃當然係個極之capital intensive 嘅行業。發債或問銀行借錢返嚟,同波音空巴買飛機,租出去畀航空公司。本質上有啲似銀行,左手交右手,賺差價。當然係要有一定槓杆。
2. 以下就係中銀航空租賃(2588)同中國飛機租賃(1848)嘅2019年報。2019年底嘅數,中銀航空就放最左,中國飛機就最右,已FC
3. 就咁睇,或者啲亂咁睇年報亂作文嘅人,就梗係見中銀航空290%(2.9 times嘛),中國飛機就82%,前者高啲,槓杆大啲,危險啲
4. 你見咁問得你,就當然唔係。
5. 關鍵?好簡單,啲細字,大家計法根本唔同。
6. 大家個分子應該係同一樣嘢(*),但分母就爭得遠咯!中銀航空係as % of equity,中國飛機係 as % of asset.喂!爭好遠!特別係對高度槓杆嘅行業。
7. 會計101(**),asset = liabilities + equity 啦下。道理上,即係你間公司嘅資產,一係股東自己,一係就由街外人finance.
8. 如果同一條式計會點?就當用中銀航空條式(其實一般都係as % of equity).咁中國飛機嘅情況,liabilities (***)係asset 82%.不難計到,即係asset 100蚊,liabilities 就82蚊,equity咪18蚊。如果大家都用中銀航空條式,佢嘅gearing 應該係82/12 = 680%!
9. 順手提埋,所以有啲人走去比較不同公司嘅ROE(return on equity,net profit as % of equity),其實近乎冇用。唔同行業固然冇得比,但同行業都好,可能睇ROA(return on asset,net profit as % of asset)好啲。
10. 你見例如呢兩間公司,中銀航空ROE 16%,中國飛機就23%。係咪後者好啲?梗係唔係啦。我290% gearing 就有16% ROE,你680% gearing 先23% ROE,你個ROE係因為槓杆倍到好大,loop loop loop 大法得出嚟嘅。背後ROA前者高好多,逆市咪見真章。
11. 最後,你話,咁都得?大家唔同定義都得?答案係得的。雖則係官方文件,但呢啲乜乜ratio全部公司自己計,唔係份核數師報告嘅一部份—有時核數師報告都有埋,但亦可以各師各法。
12. 當然了,分析員又好,基金經理又好,當然係要蘋果對蘋果,大家統一。所以咪要初級分析員去入返正啲數,唔好公司話89%你又話89%—而一般稍為大啲嘅行(星展有,但耆英在我走當年都未有),直頭有third party software,全部standardize了。
13. 而基本上,即係卡片只得FRM嘅即係唔係 CFA,叫自己乜乜乜碩士嘅就係讀唔到博士,全球頭30大就當然係廿八廿九(否則會叫自己全球25大)。(https://bit.ly/2ymhdPd)。咁所以,好似中國飛機呢啲,分母要用total assets(而唔係一般慣用嘅total equity),就梗係個數嚇死你啦。有氣質,即係唔靚。有才華,即係冇錢(好似埃汾咁)。
(*)gross debt 同 total borrowing 係咪一樣,就又睇定義之類,但望落差不多。嚴格嚟講應該用net debt,只計銀行貸款或債券,減返現金。其他啲負債例如receivables 之類唔計
(**)呢個都唔知嘅冇計,但舊文都有講過下(http://bit.ly/2SkrDEG)。最尾嗰兩段
(***)liabilities又唔係完全等同 gross debt 或 total borrowing,見(*),但簡單起見,是但
——————————————-
版務:收費專欄已推出,支持埃汾高質文章。幾舊水睇三個月,一星期三篇
請去呢度訂:bit.ly/2wVXndj
課程編號填: CC01
科咗水後後有Login及Password畀你
逢一三五入去 homebloggerhk.com (見到就睇到《事先張揚》),亦睇得返以前嘅文。一般我都係會黃昏出文嘅。
debt asset ratio 在 Herman Yeung Facebook 的最佳解答
做緊 BAFS (Elective Part) 筆記
的確唔少野要讀,但好多都係好生活化。
例如當中有讀到 leverage ratio 槓桿比例
以公司為例就有 debt ratio = total debt / total asset
ratio 愈高,公司就愈危險
其實呢個 leverage ratio 槓桿比例 亦可用於形容投資股票
而家買股票可以唔係全部係自己資本
呢個買法叫 "孖展",即係英文的 "margin" 讀音叫過黎
簡單一句,你可能有 $1,但買到值 $4 的股票
(即係有 $3 係借的),你的買法就叫槓桿4倍
因為你買左 $4 的股票時,如果股價升 10%
即係變成 $4.4,如果你即時賣左,還翻本來的 $3 (當無利息)
你就可以 $1 變 $1.4,即係升左 40%
比起佢原本的 10% 多左 4 倍,亦即係槓桿4倍
但係相反,股價係跌 25%,即係 $4 變 $3
你果陣賣就得 $3,還埋錢就係 $0
即係你的損失亦係 4 倍 (由 25% 變成 100%)
如果再大獲d,跌左 30%,即係 $4 變 $2.8
你就賣左都唔夠還錢,即係負資產
所以公司槓桿高、同炒股票槓桿高都係好危險。
但槓桿極高的樓宇市場大家就好似習以為常
香港地買樓就大多數有按揭
一般買樓都會做 7 成按揭
但新樓係可以做到 9 成、甚至 9 成半按揭
如果以 9 成半按揭為例
即係 $5 本,買 $100 貨,槓桿 20 倍
升會快 20 倍,所以不時都會聽到有人炒樓至富
樓價升 3 成,相當於佢升 30%x20 = 6倍
所以差唔多就會有報紙虛擬一個人物
聲稱佢用以上的方法 6倍又6倍、6倍又6倍
幾萬起家、炒炒下就身家過億
但有幾多係演員、幾多係炒家就真係得佢地先知
而且通常呢d少年英雄,出完報紙之後就永久潛水
所以我都係講下下跌的情況會實際d
如果槓桿20倍,就即係樓價跌超過5%,你的物業就係負資產
負資產的情況,銀行有機會要業主補差價
否則會用你的物業以銀主盤形式賤賣
差價會變成你的私人債務
所以買樓同孖展炒股票相比,其實風險更高
因為斷估你持有的物業價值會比你買的股票價值高
槓桿大、價值高,的確係一個好高風險的投資
當然,俗語有云︰成功靠父幹,
如果你老豆有個大水塘 backup 你就除外。