【第74屆坎城影展主競賽、一種注目等完整入選名單】
.
遭受COVID-19疫情影響,去年坎城影展停辦一年。今年展期則延至7月6日舉辦,大會在方才仍公開了本屆的官方選片。在主競賽單元部分,魏斯.安德森、阿斯哈.法哈蒂、歐容、南尼.莫瑞提、布魯諾.杜蒙、阿比查邦、那達夫.拉匹、濱口龍介、西恩.潘等名導之作都順利入選。
.
洪常秀、阿諾.戴普勒尚等名導則未如事前各界預料,沒有進入主競賽,被安排在「首映單元」。至於在「一種注目」部分,奧地利籍華裔導演陳熠霖的《尋找》順利入選,該片由台灣影星柯震東、林哲熹與中國演員曾美慧孜主演,拍攝地點即在台灣。作品《構築心方向 Columbus》(2017)曾來過台北電影節放映的韓裔美籍導演Kogonada也入選該單元。中國導演那嘉佐也以《街娃兒》入選。
.
本屆的評審團主席將是美國導演史派克.李(Spike Lee),開幕片將是李歐.卡霍的《Annette》,該片同時也是競賽片。美國影星茱蒂.佛斯特(Jodie Foster)則獲得相當於終身成就獎的榮譽金棕櫚殊榮。
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
主競賽入選片單如下(含英文片名、與導演中英名,導演名稱前標記*者,代表有資格角逐最佳首部作品「金攝影機獎」):
●
《Annette》法國🇫🇷德國🇩🇪比利時🇧🇪
李歐.卡霍 Leos Carax
●
《法蘭西快報 The French Dispatch》美國🇺🇸
魏斯.安德森 Wes Anderson
●
《聖慾 Benedetta》荷蘭🇳🇱法國🇫🇷
保羅.范赫文 Paul Verhoeven
●
《A Hero》伊朗🇮🇷
阿斯哈.法哈蒂 Asghar Farhadi
●
《Tout S'est Bien Passé》法國🇫🇷
佛杭蘇瓦.歐容 François Ozon
●
《Tre Piani》義大利🇮🇹法國🇫🇷
南尼.莫瑞提 Nanni Moretti
●
《Titane》法國🇫🇷比利時🇧🇪
茱莉亞.迪古何諾 Julia Ducournau
●
《Red Rocket》美國🇺🇸
西恩.貝克 Sean Baker
●
《Petrov's Flu》俄羅斯🇷🇺德國🇩🇪法國🇫🇷瑞士🇨🇭
基里爾.賽勒布倫尼科夫 Kirill Serebrennikov
●
《France》法國🇫🇷義大利🇮🇹德國🇩🇪比利時🇧🇪
布魯諾.杜蒙 Bruno Dumont
●
《Nitram》澳大利亞🇦🇺
賈斯汀.克佐 Justin Kurzel
●
《Memoria》泰國🇹🇭哥倫比亞🇨🇴法國🇫🇷德國🇩🇪墨西哥🇲🇽英國🇬🇧
阿比查邦.韋拉斯塔古 Apichatpong Weerasethakul
●
《Lingui》查德🇹🇩比利時🇧🇪法國🇫🇷德國🇩🇪
馬哈馬特-薩雷.哈隆 Mahamat-Saleh Haroun
●
《Paris 13th District》法國🇫🇷
賈克.歐迪亞 Jacques Audiard
●
《The restless》比利時🇧🇪
喬坎拉.佛斯 Joachim Lafosse
●
《La Fracture》法國🇫🇷
凱薩琳.科西妮 Catherine Corsini
●
《The Worst Person in the World》挪威🇳🇴瑞典🇸🇪法國🇫🇷
尤沃金.提爾 Joachim Trier
●
《Compartment NO.6》芬蘭🇫🇮俄羅斯🇷🇺
尤侯.郭斯曼寧 Juho Kuosmanen
●
《Casablanca beats》墨西哥🇲🇽法國🇫🇷
納比.爾艾尤奇 Nabil Ayouch
●
《Ahed’s Knee》以色列🇮🇱法國🇫🇷
那達夫.拉匹Nadav Lapid
●
《Drive My Car》日本🇯🇵
濱口龍介
●
《Bergman Island》法國🇫🇷巴西🇧🇷德國🇩🇪墨西哥🇲🇽
米雅.韓桑-露芙 Mia Hansen-Love
●
《The Story of My Wife》匈牙利🇭🇺法國🇫🇷德國🇩🇪義大利🇮🇹
伊爾蒂蔻・恩伊達 Ildikó Enyedi
●
《Flag Day》美國🇺🇸
西恩.潘 Sean Penn
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
一種注目評審團:
(主席)安德莉亞.阿諾德 Andrea Arnold(導演、編劇)英國🇬🇧
瑪尼亞.梅杜爾 Mounia Meddour(導演、編劇、製片)阿爾及利亞🇩🇿
艾莎.齊柏斯汀 Elsa Zylberstein(演員)法國
丹尼爾.布曼 Daniel Burman(導演、製片、編劇)阿根廷🇦🇷
麥可.安傑洛.柯維諾 Michael Angelo Covino(導演)美國🇺🇸
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
一種注目入選片單如下:
●
《The Innocents》挪威🇳🇴
艾斯基.佛格 Eskil Vogt
●
《After Yang》美國🇺🇸
Kogonada
●
《Commitment Hasan》土耳其🇹🇷
森米.卡潘諾古 Semih Kaplanoglu
●
《Lamb》冰島🇮🇸
*法迪瑪.約翰森 Valdimar Jóhannsson
●
《Noche De Fuego》墨西哥🇲🇽
塔蒂雅.胡艾瑣 Tatiana Huezo
●
《Bonne mère》法國🇫🇷
阿芙皙雅.艾薇 Hafsia Herzi
●
《House arrest》俄羅斯🇷🇺
小阿列克謝.蓋爾曼 Aleksey German Jr.
●
《Blue Bayou》美國🇺🇸
賈斯汀.鍾 Justin Chon
●
《尋找 Moneyboys》奧地利🇦🇹台灣🇹🇼比利時🇧🇪法國🇫🇷
*陳熠霖 C.B. Yi
●
《Freda》海地🇭🇹
*賈西亞.基尼斯 Gessica Geneus
●
《Un Monde》比利時🇧🇪
*勞拉.汪戴爾 Laura Wandel
●
《Women Do Cry》保加利亞🇧🇬
米娜.米列娃 Mina Mileva & 凡塞拉.卡扎科娃 Vesela Kazakova
●
《La Civil》羅馬尼亞🇷🇴比利時🇧🇪
*緹奧朵拉.安娜.米赫伊 Teodora Ana Mihai
●
《Unclenching the Fists》俄羅斯🇷🇺
姬拉.高維蘭高 Kira Kovalenko
●
《Let Their Be Morning》以色列🇮🇱
艾朗.柯里林 Eran Kolirin
●
《Rehana Maryam Noor》孟加拉🇧🇩
阿卜杜拉.穆罕默德.薩阿德 Abdullah Mohammad Saad
●
《Great Freedom》奧地利🇦🇹
賽巴斯汀.邁瑟 Sebastian Meise
●
《街娃兒 Gaey’s Wa’r》中國🇨🇳
那嘉佐
●
《Mes Freres Et Moi》法國🇫🇷
約翰.曼可Yohan Manco
●
《Onoda, 10 000 Nights in the Jungle》法國🇫🇷德國🇩🇪比利時🇧🇪義大利🇮🇹(開幕片)
亞瑟.拉哈利 Arthur Harari
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
坎城首映單元片單如下:
●
《Evolution》匈牙利🇭🇺
柯諾.穆恩德秋 Kornel Mundruczo
●
《Deception》法國🇫🇷
阿諾.戴普勒尚 Arnaud Desplechin
●
《Cow》英國🇬🇧
安德莉亞.阿諾德 Andrea Arnold
●
《Love Song for Tough Guys》法國🇫🇷
山繆.班傑奇 Samuel Benchetrit
●
《Mothering Sunday》法國🇫🇷
伊娃・胡遜 Eva Husson
●
《Hold Me Tight》法國🇫🇷
馬修.亞瑪希 Mathieu Amalric
●
《In Front of Your Face》南韓🇰🇷
洪常秀 Hong Sang-Soo
●
《Val》美國🇺🇸
廷.普Ting Poo & 李歐.史考特 Leo Scott
●
《Jane Par Charlotte》法國🇫🇷
夏綠蒂.甘斯柏 Charlotte Gainsbourg
●
《JFK Revisited: Through The Looking Glass》美國🇺🇸
奧利佛.史東 Oliver Stone
●
《Vortex》阿根廷🇦🇷義大利🇮🇹
加斯帕.諾埃 Gaspar Noe
●
《Marx Can Wait》義大利🇮🇹
馬可.貝洛奇歐 Marco Bellocchio
●
《龍與雀斑公主 Belle》日本🇯🇵
細田守 Mamoru Hosoda
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
競賽外單元片單如下:
●
《De son vivant》法國🇫🇷
艾曼紐.貝考 Emmanuelle Bercot
●
《緊急迫降 Emergency Declaration》南韓🇰🇷
韓在林 Han Jae-Rim
●
《The Velvet Underground》美國🇺🇸
陶德.海恩斯 Todd Haynes
●
《Stillwater》美國🇺🇸
湯瑪士.麥卡錫 Tom McCarthy
●
《Aline》法國🇫🇷
瓦萊麗.樂梅西埃 Valérie Lemercier
●
《BAC Nord》法國🇫🇷
賽德里克·希門尼茲 Cédric Jimenez
●
《Where is Anne Frank》比利時🇧🇪法國🇫🇷荷蘭🇳🇱盧森堡🇱🇺以色列🇮🇱
阿里.福爾曼 Ari Folman
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
特別放映單元片單如下:
●
《Babi Yar. Context,》烏克蘭🇺🇦
瑟蓋.洛茲尼察 Sergei Loznitsa
●
《H6》法國🇫🇷
*葉.葉 Yé Yé
●
《Black Notebooks》以色列🇮🇱
施羅米.艾爾米茲 Shlomi Elkabetz
●
《Mariner of the Mountains》巴西🇧🇷
凱里.阿努茲 Karim Ainouz
●
《The Year of the Everlasting Storm》
賈法.潘納希 Jafar Panahi伊朗🇮🇷
陳哲藝 新加坡🇸🇬
馬立克.維塔爾 Malik Vitthal美國🇺🇸
蘿拉.柏翠絲Laura Poitras美國🇺🇸
多明嘉.索朵瑪悠 Dominga Sotomayar智利🇨🇱
大衛.羅利 David Lowery美國🇺🇸
阿比查邦.韋拉斯塔古 泰國🇹🇭
●
《Party: New World, The Cradle of a Civilisation》希臘🇬🇷美國🇺🇸
安德魯.穆斯卡托 Andrew Muscato
●
《Mi iubta Mon amour》法國🇫🇷
*諾耶米.梅蘭特 Noémie Merlant
●
《Les Heroiques》法國🇫🇷
麥西姆.羅伊 Maxime Roy
●
《熱帶往事 Are You Lonesome Tonight?》中國🇨🇳
*温仕培 Wen Shipei
●
《時代革命 Revolution Of Our Times》香港🇭🇰
周冠威 Kiwi Chow
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
午夜放映片單如下:
●
《Bloody Oranges》法國🇫🇷
尚-克里斯多福.莫里斯 Jean-Christophe Meurisse
●
《Tralala》法國🇫🇷
拉呂兄弟 The Larrieu Brothers
●
《Supremes》法國🇫🇷
奧黛麗.埃司徒格 Audrey Estrougo
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
短片競賽評審團:
考瑟.班.哈尼亞 Kaouther Ben Hania(導演、編劇)突尼西亞🇹🇳
涂娃.娜蘿特妮 Tuva Novotny(導演、編劇、編劇)瑞典🇸🇪
艾莉絲.溫諾克爾 Alice Winocour(導演、編劇)法國🇫🇷
薩摩赫.阿拉 Sameh Alaa(導演、製片、作家)埃及🇪🇬
卡洛斯.穆基羅 Carlos Muguiro(導演、編劇、策展人)西班牙🇪🇸
尼可拉斯.帕里澤 Nicolas Pariser(導演、編劇)法國🇫🇷
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
短片競賽入選作品如下:
●
《North Pole》北馬其頓🇲🇰塞爾維亞🇷🇸
瑪麗亞.阿賽夫斯卡Marija Apcevska
●
《Displaced》科索沃🇽🇰
薩米爾.卡拉霍達 Samir Karahoda
●
《In the Soi》丹麥🇩🇰
卡斯帕.凱德森 Casper Kjeldsen
●
《Orthodontics》伊朗🇮🇷
穆罕曼德里札.梅哈尼 Mohammadreza Mayghani
●
《The Right Words》法國🇫🇷
艾德里安.莫塞.杜林 Adrian Moyse Dullin
●
《Through the Haze》葡萄牙🇵🇹
狄亞哥.薩爾加多 Diogo Salgado
●
《Sideral》巴西🇧🇷法國🇫🇷
卡洛斯.塞岡多 Carlos Segundo
●
《天下烏鴉 All The Crows In The World》香港🇭🇰
唐藝 Tang Yi
●
《August Sky》西班牙🇪🇸
賈思敏.泰努奇 Jasmin Tenucci
●
《雪雲 Absence》中國🇨🇳
鄔浪 Wu Lang
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
「氣候」單元入選作品:
●
《The Crusade》法國🇫🇷
路易.卡瑞 Louis Garrel
●
《Above Water》尼日🇳🇪法國🇫🇷比利時🇧🇪
艾伊莎.梅加 Aïssa Maïga
●
《Invisible Demons》印度🇮🇳
拉胡爾.賈恩 Rahul Jain
●
《Animal》法國🇫🇷
西席爾.迪昂 Cyril Dion
●
《無去來處 I Am So Sorry》法國🇫🇷中國
趙亮 Zhao Liang
●
《Bigger Than Us》法國🇫🇷
芙蘿.瓦瑟 Flore Vasseur
●
《La Panthère des neiges》法國🇫🇷
瑪莉.阿米蓋 Marie Amiguet
▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅▅
.
.
(圖為入選主競賽的《The French Dispatch》,由魏斯.安德森執導。)
同時也有53部Youtube影片,追蹤數超過7萬的網紅FABIO GRANGEON 法比歐,也在其Youtube影片中提到,大家好。 這是我最近為LG製作的作品,介紹給大家他們最新超厲害的冰酒櫃。 LG SIGNATURE 2020年新品冰酒櫃為熱愛生活的品味人士所打造,時時在家都能享用如同酒窖珍藏的美酒佳釀。 希望你們喜歡這個影片! 請大家來支持我的頻道, 別忘記按讚,訂閱 與 分享! 謝謝你們🙏 Hi every...
french revolution 在 People Persona Facebook 的精選貼文
กิโยติน จากสัญลักษณ์แห่งความรุนแรงและนองเลือด
สู่พิธีกรรมถวายเลือดเนื้อ
หลังจากเกิดเหตุการณ์นำกิโยตินมาใช้งานในการตัดคอตัวเองถวายเป็นพุทธบูชา ความสนใจเกี่ยวกับสิ่งนี้ก็กลับมาอีกครั้ง ประกอบกับการใช้งานกิโยตินเป็นเครื่องประหารครั้งแรกก็เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน 1792 จึงอยากจะหยิบยกเรื่องเกี่ยวกับสิ่งนี้ ว่าเหตุใดมันจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ในเชิงลบมากกว่าบวก หรือนำไปสู่การฆ่าตัวตายของพระได้อย่างไร
รู้จักกับกิโยตินกับต้นกำเนิดแห่งความเมตตา
กิโยติน(Guillotine) คือเครื่องประหารที่มีต้นกำเนิดมาจากฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่อใช้บั่นคอนนักโทษหรือคนผิด ประกอบด้วยโครงไม้ที่แขวนใบมีดทรงสี่เหลี่ยมคางหมูน้ำหนัก 40 กก.ไว้บนสุด ข้างใต้จะเป็นแท่นให้นักโทษประหารวางศีรษะ และทันทีที่ปล่อยเชือกใบมีดจะพุ่งลงมาจากความสูง 2.3 เมตรลงเบื้องล่าง สะบั้นศีรษะของร่างที่อยู่ด้านล่างให้ขาดออกจากตัว เป็นอุปกรณ์ที่มีหลักการทำงานเรียบง่าย และถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์แห่งความหวาดกลัวในภายหลัง
ผู้คิดค้นเครื่องประหารชนิดนี้คือนายแพทย์ อองตวน หลุยส์(Antoine Louis)ชาวฝรั่งเศส แต่ผู้ที่ทำให้เจ้าเครื่องนี้แพร่หลายคือ ดร.โฌแซ็ฟ-อีญัส กิยอแต็ง (Joseph-Ignace Guilloitin) นายแพทย์ชาวฝรั่งเศสอีกคน จนผู้คนเปลี่ยนชื่อเรียกเครื่องประหารนี้ตามนามสกุลเขา ทุกอย่างเริ่มจากการยุติการใช้งานวงล้อลงทัณฑ์(Breaking wheel)อุปกรณ์ในการประหารแบบเก่าในปี 1791 ด้วยความโหดร้ายทารุณและสยดสยองที่เกิดกับนักโทษมากเกิน นั่นทำให้พวกเขาต้องสรรหาอุปกรณ์ในการประหารชีวิตรูปแบบใหม่ ที่ทำให้นักโทษสามารถตายอย่างฉับพลัน เป็นความเห็นทางด้านมนุษยธรรมในฐานะหมอคนหนึ่ง
ฟังดูตลกแต่ใช่ ความตั้งใจแรกในการนำกิโยตินมาใช้งานเป็นแบบนั้น เนื่องจากวิธีประหารยุคเก่าค่อนข้างสร้างความทรมานให้กับเหยื่อ ตั้งแต่วงล้อลงทัณฑ์ที่กล่าวถึง ไปจนการแขวนคอ ตัดหัวด้วยดาบหรือขวาน ที่หลายครั้งเกิดผิดพลาดเหยื่อไม่ตายในทันทีจะสร้างความเจ็บปวดทรมานอย่างมาก ทีแรกดร.กิโยตินอยากให้ยกเลิกโทษประหารด้วยซ้ำ แต่เขาก็รู้ตัวว่าไม่สามารถทำได้จึงเปลี่ยนมาเป็นบรรเทา เขาเป็นตัวตั้งตัวตียกเลิกวิธีการลงโทษแบบเก่าที่สร้างความทรมานให้นักโทษ มาสู่ความคิดเรื่องเครื่องประหารที่จะคร่าชีวิตของผู้คนที่ต้องการไปในเวลาเพียงพริบตา
เครื่องตัดคอ(ตอนนั้นยังไม่ถูกเรียกว่ากิโยติน) คืออุปกรณ์ที่เขานำเสนอออกมาเพื่อไปให้ถึงจุดนั้น ด้วยแนวคิดที่อยากให้การจบชีวิตนักโทษเป็นไปอย่างเรียบง่ายและเจ็บปวดน้อยที่สุดเท่าที่ทำได้ โดยไม่เกี่ยงว่าจะเป็นชนชั้นใดก็ล้วนแล้วแต่ใช้งานเครื่องประหารนี้ได้ และเมื่อโอกาสมาถึงในปี 1791 เขาก็นำเสนอเครื่องมือชนิดนี้จนได้รับอนุมัติการสร้าง และถูกนำมาใช้งานในวันที่ 25 เมษายน 1792 และเหยื่อรายแรกของเครื่องประหารชิ้นนี้คือ นิโคลาร์ ชัก เปติเยร์(Nicolas J. Pelletier) โจรปล้นฆ่าที่ถูกตัดสินประหารชีวิต และทำให้ชาวฝรั่งเศสได้ประจักษ์ยุคใหม่แห่งการลงทัณฑ์จากปากเสียงของประชาชนไปพร้อมกัน
จากจุดเริ่มต้นอันสวยงามสู่หนทางการนองเลือดอันไม่สิ้นสุด
โชคร้ายที่ถึงกิโยตินจะถูกสร้างมาด้วยเจตนาดี ด้วยการผ่อนผันความทรมานที่เกิดยามลงทัณฑ์นักโทษก็จริง แต่ยุคสมัยที่มันถูกเปิดตัวและนำมาใช้งานคือช่วงเปลี่ยนผ่านและปฏิวัติฝรั่งเศส ทุกอย่างเริ่มต้นนับแต่ปี 1789 การทำลายคุกบาสตีย์ที่เป็นสัญลักษณ์อย่างที่รู้กัน แต่นั่นไม่ใช่จุดสิ้นสุดแล้วความเปลี่ยนแปลงจะมาเยือน กลับเป็นแค่จุดเริ่มต้นแห่งความวุ่นวายเหมือนกล่องแพนโดร่าที่ถูกเปิดฝา ความเปลี่ยนแปลงและการสูญเสียทำให้ผู้คนเกิดการลุกฮือตามกัน จากฝูงชนที่โกรธาและเก็บกดมานานปี พวกเขาบุกเข้าเข่นฆ่า กวาดล้าง เผาทำลายทุกอย่างตามอำเภอใจ ด้วยเข้าใจว่านี่คือการตอบโต้และเอาคืนชนชั้นปกครอง หลังจากกดขี่และขูดรีดพวกเขามานานปีอย่างไร้การควบคุม
นั่นทำให้ภายในฝรั่งเศสเต็มไปด้วยการจลาจลลุกฮือของฝูงชนที่สนับสนุนแนวคิดการประท้วงรายวัน ตามมาด้วยกลุ่มขั้วอำนาจเก่าที่ไม่ปรารถนาจะสูญเสียอำนาจต้องการทวงสิ่งที่เคยเป็นของตนคืน กลายเป็นกองกำลังต่อต้านการปฏิวัติที่มีแรงสนับสนุนจากภายนอก ทับซ้อนปัญหาให้หนักหนากลายเป็นความขัดแย้งบานปลายไม่จบสิ้น
ถ้านั่นว่าเลวร้ายภายนอกยังมีท่าทีไม่พอใจของนานาประเทศ จากการลุกฮือของฝรั่งเศสที่จบลงด้วยการตัดคอพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 และพระนางมารีอังตัวเนต สั่นคลอนเสถียรภาพของระบอบกษัตริย์โดยรวมเป็นอย่างมาก ไหนจะการที่ฝรั่งเศสเผยแพร่แนวคิดปฏิวัติให้ชาติอื่น สิ่งที่เลี่ยงไม่ได้ย่อมเป็นความขัดแย้งขนานใหญ่ ประกอบกับความกระด้างกระเดื่องของอาณานิคม จากภัยที่เข้ามาประชิดจากรอบด้านและความรุนแรงที่พบเห็นอยู่ทุกวัน ทับถมกลายเป็นความหวาดกลัวที่ปูทางไปหาความรุนแรงจนเกินขีดจำกัด
การนองเลือดแผ่ขยายเป็นวงกว้างและไม่มีทีท่าจะจบลง เกิดการบุกเข้าไปสังหารกลุ่มอภิสิทธิ์ชน ทั้งขุนนาง ครอบครัวเจ้าของที่ดิน ไปจนพระ โดยไม่มีหลักเกณฑ์หรือกฎหมายมาตัดสินอาศัยเพียงศาลเตี้ย ใช้การรุมประชาทัณฑ์ไปจนการทารุณกรรมตามอำเภอใจ ทุกอย่างวุ่นวายกลายเป็นความหวาดกลัวครั้งใหญ่ ด้วยประชาชนหวาดกลัวการถูกยึดคืนและสูญเสียอำนาจที่มีในวันนี้จึงพากันคลุ้มคลั่งไม่เลิกรา ภาพความโหดร้ายทารุณเกิดกันทุกหย่อมหญ้าไม่เว้นแต่ละวันอีกทั้งไม่มีทีท่าจะจบลง นำไปสู่รัฐบาลปัจจุบันที่ต้องหาวิธีแก้ไขปัญหา
ตรงนี้เองที่กิโยตินจึงถูกหยิบยกเข้ามามีบทบาทอีกครั้ง อาศัยศีรษะของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 มากรุยทาง กิโยตินกลายเป็นเครื่องประหารที่เป็นสัญลักษณ์รวมศูนย์ความรุนแรงจากรอบด้าน กลายเป็นสิ่งควบคุมความรุนแรงจากฝูงชนที่คลุ้มคลั่ง ด้วยกิโยตินนั้นไม่ได้มีการทรมานหรือใช้ความรุนแรงเกินจำเป็น สิ่งที่เกิดขึ้นมีเพียงศีรษะที่หลุดกระเด็นไปจากตัว จบชีวิตของผู้ที่รับโทษทัณฑ์ได้เห็นภาพและรวดเร็ว อาศัยนามของปวงชนไต่สวนนักโทษไปตามกระบวนการยุติธรรม แล้วลากเอาทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความรุนแรงมารับโทษ ใช้กิโยตินเป็นเครื่องมือกวาดล้างความรุนแรงด้วยการให้ตำรวจเข้าจับกุม นำตัวกลุ่มนอกกฎหมายมาบั่นคอเรียงตัว นำไปสู่การตัดหัวของผู้คนไปกว่า 20 ,000 คน ไม่เว้นแม้แต่แม็กซีมิเลี่ยน โรเบสปิแอร์(Maximilien Robespierre) ผู้นำเอาสิ่งนี้มาเป็นสัญลักษณ์ความหวาดกลัวที่ต้องถูกตัดหัวไปตามกัน
อีกครั้งที่มันฟังดูน่าตลกและใช่ การใช้งานครั้งนี้มองในทางหนึ่งอาจเป็นตามความตั้งใจของผู้นำเสนอมันมาแต่แรก ทำให้กิโยตินเข้าไปแทนที่จนกลายเป็นสัญลักษณ์การประหารแบบอื่น ยุติความรุนแรงที่เกิดขึ้นในยุคนั้นทางหนึ่งคือกฎระเบียบที่เด็ดขาด และภายใต้บ้านเมืองที่เต็มไปด้วยความวุ่นวายในตอนนั้น นี่ถือเป็นอีกทางเลือกที่น่าสนใจ
แน่นอนผมไม่ได้บอกว่าการที่เขาตัดสินใจกวาดล้างผู้คน สังหารไปเป็นผักปลาอย่างที่ทำเพื่อยุติความวุ่นวายเป็นเรื่องถูก อีกทั้งการตัดสินประหารเองก็ย่อมมีส่วนผสมความหวาดกลัวจากผู้ตัดสินเองอยู่ในนั้น แต่ที่เราปฏิเสธไม่ได้เช่นกันคือ หลังจากนั้นความเข้มงวดของกฎระเบียบทำให้ทุกอย่างเริ่มกลับสู่สันติ แม้จะบ่มเพาะความเกลียดชังที่มีต่อเขาและคณะตามมามากมายนับจากนั้นนำไปสู่จุดจบอันน่าสังเวช แต่แท้จริงนั่นก็เป็นอีกครั้งที่คนเราพ่ายแพ้ในเกมการเมือง และสำหรับยุคสมัยอันโหดร้ายตอนนั้นจุดจบของเขาย่อมไม่มีทางสวยงามขึ้นมาได้ ใครจะมองเป็นกรรมตามสนองก็ได้ แต่จะมองเป็นเรื่องธรรมดาของโลกเราก็ไม่ใช่เรื่องแปลก
การตายของโรเบสปิแอร์นับเป็นการสิ้นสุดสมัยความหวาดกลัวและการนองเลือดจากกิโยติน แต่ถามว่าเจ้าสิ่งนี้หายไปจากโลกหรือเปล่า? อย่างเดียวที่ตอบได้คือไม่ รอยแผลและสิ่งที่เกิดขึ้นกับกิโยตินฝังลึกลงไปในความทรงจำของผู้คน ดังคำขวัญฝรั่งเศส เสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพของโรเบสปิแอร์ที่ยังตราตรึงและใช้งานจนปัจจุบัน กิโยตินยังคงมีการใช้งานในฐานะเครื่องประหารมาอย่างยาวนาน เป็นผลให้ตระกูลกิโยตินตัดสินใจเปลี่ยนนามสกุลตัวเองเพื่อไม่ให้ซ้ำกับเครื่องประหารอันนองเลือด เพื่อหลีกหนีความเกี่ยวข้องเกี่ยวกับสัญลักษณ์เปื้อนเลือดอันนี้
อดีตสู่ปัจจุบันสู่การสะบั้นศีรษะในวันนี้ มรดกอันน่าขนลุกจากลัทธิอนาคตวงศ์
อีกสาเหตุที่กิโยตินถูกนำกลับมาพูดถึงอีกครั้งคือเหตุการณ์พระตัดคอตัวเองด้วยกิโยติน สิ่งนี้สร้างแรงสั่นสะเทือนและความหวาดกลัวให้กับผู้คนที่ได้เห็นหรืออ่านข่าว อาจสร้างความไม่สบายใจแก่ผู้ที่ได้รับสาร แต่ก็น่าจะทำให้ผู้คนเกิดความสงสัยเช่นกันว่าสิ่งใดผลักดันให้คนเราทำแบบนั้น
คำตอบคือในอดีตมีหลักฐานอ้างอิงว่ามีการทำแบบนี้เกิดขึ้นจริง ถวายเลือดเนื้อให้แก่ศาสนาเพื่อสนองตอบการเป็นพุทธบูชา เราเรียกแนวคิดนี้ว่าลัทธิอนาคตวงศ์ ที่แพร่หลายกันมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากคัมภีร์ที่มีชื่อว่า “ทสโพธิสัตตุนิทเส” หรือ “ทศโพธิสัตตุปัตติกถา” เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า 10 พระองค์ ที่บำเพ็ญกุศลโดยอาศัยเลือดและความรุนแรง นำไปสู่ความเชื่อในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีนายบุญเรืองและนายนก ชายสองคนเข้ามาเผาตัวเองตายที่วัดอรุณถือเป็นพุทธบูชา ถึงขนาดมีการสร้างหินสลักและจารึกไว้บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เรียกว่าเป็นกระแสนิยมพุทธศาสนาในช่วงนั้น ก่อนการเข้ามาของธรรมยุติกนิกายจากรัชกาลที่ 4 เริ่มเข้ามาทดแทน แนวคิดเหล่านี้จึงเบาบางแต่ยังหลงเหลือตามท้องที่ต่างๆ
หากต้องการคำตอบว่านี่คือหนทางทำให้เป็นพระปัจเจกตามความเชื่อในตำราหรือไม่ ผู้เขียนคงไม่สามารถตอบหรือให้ความเห็นเรื่องนี้ได้ แต่ถามว่านี่เป็นเรื่องที่ถูกต้องหรือเปล่าก็บอกได้เต็มปากว่าไม่ เพราะตำรานี้แท้จริงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18 คัมภีร์ถูกแต่งขึ้นในอินเดียใต้ โดยพระมหากัสสปะแห่งโจฬะ แน่นอนมันไม่ได้เป็นเรื่องที่มีส่วนอยู่ในพระไตรปิฎกแต่แรก เป็นแค่เรื่องเล่าที่ถูกแต่งเติมขึ้นมาในยุคหลังอย่างแท้จริง
ในส่วนของผู้แต่งหากมาจากโจฬะ นั่นคือดินแดนที่เคยอยู่ในสมัยยุคกลางแถบอินเดียทางตอนใต้ และศาสนาที่ได้รับการเชิดชูที่นั่นคือฮินดู เริ่มเห็นภาพแล้วใช่ไหมครับว่าความเชื่อแนวนี้มันมาจากไหน? ใช่ มันปะปนมากับความพยายามกลืนศาสนาของฮินดู ที่พยายามหลอมรวมเอาทุกความเชื่อและความแตกต่างที่เคยมีไปเป็นส่วนหนึ่ง กร่อนความเชื่อทางศาสนาพุทธที่มีแก่นอยู่ที่ปัญญาและการแก้ปัญหา ให้เหลือแค่แนวทางในการปฏิบัติและทำตัวอย่างฮินดูเท่านั้นเอง
อีกทั้งพระชั้นผู้ใหญ่ นักวิชาการ และนักประวัติศาสตร์หลายแขนงต่างออกมายืนยันเป็นเสียงเดียวกันแล้วว่า คัมภีร์ที่ลัทธิอนาคตวงศ์ยึดถือคือเรื่องที่ไม่เคยมีหรือเกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธ ทุกสิ่งเป็นหลักความเชื่อที่แพร่หลายแต่เข้าใจกันผิดๆ อาศัยความเชื่อเรื่องการทำตามคัมภีร์ ยอมตัดคอของตัวเองเพื่อให้ไปถึงการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ต่อไป ถึงจะเป็นด้านตรงข้ามแต่อย่างนั้นจะต่างอะไรกับการใช้งานกิโยตินอย่างหวาดกลัว บั่นศีรษะของคนรอบข้างจากความเชื่อแบบผิดๆ เพื่อสยบความหวาดกลัวและวุ่นวายเสียเท่าไหร่กัน? และถ้ามันแพร่หลายเป็นที่นิยมจะต้องทำให้เกิดการนองเลือดและสูญเสียอีกแค่ไหน?
ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับผู้อ่านและคนทั่วไปมาตัดสินแล้วกระมัง ว่าเราจะยังยึดถือเรื่องราวจากวันเก่าที่มีข้อบกพร่องและโต้แย้งมากมาย ทำตามพิธีโบราณที่เราเองก็รู้แก่ใจว่าไม่เคยเป็นส่วนหนึ่งของรากฐานทางศาสนา เป็นสิ่งที่ทำให้ความน่านับถือและเลื่อมใสที่เรามีแปดเปื้อน และทำให้เราห่างไกลจากแก่นที่เป็นเนื้อแท้ของศาสนาพุทธไปมากกว่านี้ไหม
#peoplepersona
#เขย่งก้าวกระโดด
ที่มา
https://www.dailynews.co.th/regional/837853
https://www.silpa-mag.com/history/article_65952
https://www.blockdit.com/posts/5ed9828e7113a30ca69b441a
https://www.blockdit.com/posts/606e90385b13d40c49d442e3
https://www.silpa-mag.com/history/article_65907
https://www.dailynews.co.th/regional/838099
https://thaistudentsoverseas.wordpress.com/2019/06/29/robespierre-and-the-french-revolution/
https://thepeople.co/maximilien-robespierre/
french revolution 在 畢明 Facebook 的最佳解答
因為受過苦,所以知痛,所以堅強,所以不自量地希望改變腐敗和醜陋。
美國曾經和一代孩子結了仇,在華爾街。
"Still remember going to bed hungry as a kid because of a bunch of people in a different fucking county crashing the stock market because of their greed” ,
美國連登仔的WallStreetBets上,GME(GameStop)散戶大戰華爾街狙擊沽空一役 ,都是金融海嘯受害家庭的苦孩子。
如果你沒有留意這件事,不要緊,人同此心,太多家庭,曾因金融的扭曲,大行大鱷的貪婪、政府的偏幫(官商勾結香港人沒有理由不明白) ,破碎折墮、歷盡苦難坎坷,晚晚捱餓,寄養在祖母家睡地板的故事一個一個,悲慘各有不同。
"The same children they robbed 13 years ago grew up and we have money now ourselves”。這被譽為 “the French Revolution in finance”的壯舉,無法消化的收成期,照例解讀為別有用心的人在擾亂金融秩序,在蚍蜉撼樹,首戰即終戰,多麼熟口熟面。
//如果在西方國家你們叫OK Boomers,在香港你們就是「收成期」,神憎鬼厭。
2020年全球三大命題:武肺、特朗普和攬炒 ,你懂、你不懂,都是鐵定的事實。
你看不起WallStreetBets,認為他們不聰明,他們早過你的看不起自命”Retard strength”,來一次Retard vs Bastard的對抗,用周星馳的無厘頭大志「我連命都唔要睇你仲點大我」,對抗收成期及金融腐敗的”tremendous greed”,因為 “We don’t have capitalism when companies can’t fail”。//
Boomers,你們那麼巴閉,敢問你們在留下一個怎樣的社會給下一代 ?
太多年輕人比我們優秀,他們有獨立思考,知道自己在做什麼。
不自量力去愛一個人、去打巨人,是romantic fool,還是retard strength都不緊要,現在是大人要拿出勇氣和意志去自省、改正、修補。
我討厭收成期,他們在收割年輕人的可能性,寸草不生。
身為70後,畢業不久便遇上97及金融風暴的我,近年回望每天都覺劫後餘生,我希望年輕人的路好走一點。
記着,孩子會長大。
#OKboomers #收成期
#1946至1964年生的人
#陳建波陳茂波施永青係一樣樣架
#他們身上有太多香港老男人的沒趣
#施永青份報紙好快cut我個欄
#唔識bitcoin又學人講
#用高高在上的無知去否定自己唔識嘅嘢
#典型老海鮮 #RetardStrength
#太多年輕人比我們優秀
#散戶大戰華爾街
#你們會老 #他們會大
french revolution 在 FABIO GRANGEON 法比歐 Youtube 的最佳解答
大家好。
這是我最近為LG製作的作品,介紹給大家他們最新超厲害的冰酒櫃。
LG SIGNATURE 2020年新品冰酒櫃為熱愛生活的品味人士所打造,時時在家都能享用如同酒窖珍藏的美酒佳釀。
希望你們喜歡這個影片!
請大家來支持我的頻道, 別忘記按讚,訂閱 與 分享! 謝謝你們🙏
Hi everyone!
Here is a video I recently produced and directed for LG, introducing their high end wine cellar. A technological revolution to allow a perfect conservation of wines and champagnes. A dream to have this at home for every oenophile.
Hope you guys enjoy this video, please don't forget to give a LIKE or COMMENT to help with the algorithm and SUBSCRIBE to support me !
Lots of love to you all :)
Thanks for being here on my journey.
Eric的Youtube頻道:@有趣小酒FunnyBistro
INSTAGRAM ➤ https://www.instagram.com/fabiograngeon
FACEBOOK ➤ https://www.facebook.com/fabiograngeonofficiel
TIKTOK ➤ https://www.tiktok.com/@fabiograngeon
Please subscribe to support my channel !
請大家訂閱為了支持我的頻道 !
Production ➤ Fabio GRANGEON
#fabiograngeon #fabio #法比歐 #LG #LGSIGNATURE
french revolution 在 Riety Youtube 的精選貼文
' ถ้าหากฉันไม่ได้สู้เพื่อประเทศของฉัน อย่างน้อย ก็ขอให้ฉันได้วาดภาพชัยชนะของเธอ ' ภาพวาดเทพีแห่งเสรีภาพ ถือธงสามสีนำประชาชน เป็นหนึ่งในภาพวาดประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศส
ซึ่งศิลปินเจ้าของภาพ เดอลาครัววาดเทพีแห่งอิสรภาพ โบกธงนำหน้าการปฏิวัติโดยข้ามกองศพด้านล่าง แสดงให้เห็นว่ากว่าจะมาถึงตรงนี้ได้ต้องมีการเสียสละมากมายในหมู่ผู้ประท้วง เออแฌนวาดให้มีประชาชนที่ถูกกดขี่ทุกชนชั้นอยู่ในนั้น
วันนี้เราจะมาเล่าเรื่องของภาพนี้ให้ฟังค่ะ
ปล. เกร็ด ปวศ. จริงๆ ภาพของ Delacroix ม่ได้สื่อถึง French Revolution เท่าไหร่ แต่สื่อถึง July Revolution สมัยชาร์ลที่ 10 โดยทั่วไปถือว่า French Revolution จบลงตอนที่นโปเลียนขึ้นเป็นกงสุลค่ะ
french revolution 在 Yunny Hou Youtube 的精選貼文
Finally edited together our summer 1 Day trip to seoul's Lotte World! Lotte World is like Korea's little Disneyland with a dreamy Magic Castle on Magic Island and an indoor skating rink inside in Adventure World. It was such a fun day with my family with fun rides and amazing food too~🎠
和我一起從弘大出發去首爾樂天世界1日遊!樂天世界是我們超喜歡的一個主題樂園~最喜歡的就是Atlantis超刺激的雲霄飛車。大熱天一整天下來真的超熱超累,看到影片最後我們回家後就點了外送炸雞喔🍗
Connect with Me!
♡ Instagram | @x.yunny.x
♡ Instagram | @my.eatz
♡ Email | yunnyhou@gmail.com
Songs
🎵Music provided by 브금대통령
🎵Track : Travel - https://youtu.be/TlbmzMYDJJ8
What I use:
♡ Camera | Canon G7X Mark ii
♡ Doodles | SketchBook iPad App
♡ Editing | Final Cut Pro x Adobe Premiere Pro
french revolution 在 French Revolution | History, Summary, Timeline, Causes ... 的相關結果
French Revolution, revolutionary movement that shook France between 1787 and 1799 and reached its first climax there in 1789—hence the conventional term ... ... <看更多>
french revolution 在 French Revolution: Timeline, Causes & Summary - HISTORY 的相關結果
The French Revolution was a watershed event in modern European history that began in 1789 and ended in the late 1790s with the ascent of ... ... <看更多>
french revolution 在 French Revolution - Wikipedia 的相關結果
The French Revolution was a period of radical political and societal change in France that began with the Estates General of 1789 and ended with the ... ... <看更多>