รู้หรือไม่ ?! นอกจาก MEAN Stack และ MERN Stack แล้วนั้น ยังมี Stack ในการพัฒนาเว็บอีกรูปแบบหนึ่งที่กำลังเป็นที่นิยมของชาวเว็บเดฟ...นั่นคือ JAMstack
.
แล้วมันคืออะไร ? มีหลักการทำงานยังไง ? วันนี้แอดจะพาทุกคนไปรู้จักเจ้า JAMstack ไปพร้อม ๆ กัน หากพร้อมแล้วไปอ่านกันเลย !!
.
🌟 JAMstack - เป็นสถาปัตยกรรมสำหรับการพัฒนาเว็บบนพื้นฐานของ JavaSctipt, APIs, และ Markup ออกแบบมาเพื่อให้ผู้พัฒนาสามารถสร้างเว็บเร็ว ปลอดภัย และสามารถปรับขนาดได้ง่ายมากขึ้น
.
✏️ โดย JAM ย่อมาจาก
.
🔸 JavaScript - เป็นภาษาโปรแกรมมิ่งที่ใช้ในการพัฒนา Front-end หรือรวมไปถึง JavaSctipt Framework หรือ Library อื่น ๆ ที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์แบบไดนามิกบนฝั่ง Client
.
🔸 APIs (Application Programming Interface) - คือวิธีร้องขอข้อมูลที่ต้องการจากโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันจากปลายทาง โดยจะเชื่อมต่อกับฝั่ง JavaScript ผ่าน HTTP Protocol
.
🔸 Markup - เป็นรูปแบบ Template ที่ใช้ในการแสดงและจัดรูปแบบหน้าเว็บ
.
⚙️ หลักการทำงาน
.
การสร้างเว็บแบบเดิมจะทำงานในส่วนเซิร์ฟเวอร์เป็นหลัก อย่างเช่น ถ้าเราอยากสร้างเว็บไซต์ที่ต้องดึงข้อมูลจาก API ออกมาแสดงผลแบบเรียลไทม์ ก็จะต้องเขียนแอปฝั่ง Back-End เพื่อดึงข้อมูลออกมาอย่างต่อเนื่อง และสิ่งเหล่านี้จะทำงานบนเซิร์ฟเวอร์ เมื่อผู้ใช้เปิดเว็บก็จะสร้างหน้า HTML เพื่อแสดงคะแนนเหล่านั้นให้กับผู้ใช้ ซึ่งถ้ารีเฟรชหน้าก็จะต้องทำขึ้นตอนเหล่านี้ใหม่เรื่อย ๆ ทำให้ใช้เวลานาน และหากมีผู้เข้าใช้จำนวนมากอาจจะทำให้เว็บไซต์ล่มได้นั่นเอง
.
แต่ JAMstack จะแยกส่วนการทำงานทั้งหมด เชื่อมต่อระบบต่าง ๆ ด้วย API และใช้ CDN เป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อ เมื่อเราสร้าง Template (ด้วย Framework จาก JavaSctipt เช่น Gastby, Next, Nuxt, Jekyll) ก็จะถูกเก็บไว้ใน CDN เป็น Static File เมื่อผู้ใช้เปิดเว็บ CDN ก็จะส่งเป็น Static File ออกมาแสดง จากนั้นเว็บก็จะไปทำการเรียก API เพื่อดึงข้อมูลมาแสดงตาม Template ที่มีการเรียกใช้ไว้แล้ว ซึ่งจะทำให้เว็บโหลดได้เร็วมากขึ้น คือแสดงผลได้เลยไม่ต้องรอนาน และเราก็ไม่ต้องยุ่งยากในการเขียนโค้ดทางฝั่ง Back-End และเซิร์ฟเวอร์ก็ไม่ต้องรับภาระหนักอีกต่อไป
✨ ประโยชน์
.
ความรวดเร็ว - การสร้างเว็บด้วย JAMStack สามารถแสดงข้อมูลเพราะไฟล์ต่าง ๆ ถูกสร้างไว้ล่วงหน้าแล้วเพื่อรอให้ CDN เรียกใช้เมื่อผู้ใช้เปิดเว็บก็จะแสดงได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องเซิร์ฟเวอร์ Request และ Response นั่นเอง
.
ให้ประสบการณ์ที่ดีกับนักพัฒนา - สามารถสร้างด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย ไม่ขึ้นกับเทคโนโลยีใดเทคโนโลยีหนึ่ง สร้างเว็บได้ง่ายโดยสามารถใช้เครื่องมือที่เหล่าเดฟถนัดอยู่แล้วมาพัฒนาได้
.
บำรุงรักษาได้ง่าย - เพราะมีการทำงานแบบแยกส่วนกัน การแก้ไขหรืออัปเดตแต่ละส่วนได้ง่ายโดยไม่ต้องกระทบกัน
.
.
📑 อ่านข้อมูลเพิ่มเติมที่นี่ : https://www.cloudflare.com/learning/performance/what-is-jamstack/ , https://jamstack.org/what-is-jamstack/
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
#JAMstack #webdelopment #BorntoDev
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「javascript http request」的推薦目錄:
- 關於javascript http request 在 BorntoDev Facebook 的最佳貼文
- 關於javascript http request 在 Kewang 的資訊進化論 Facebook 的最佳解答
- 關於javascript http request 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳解答
- 關於javascript http request 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
- 關於javascript http request 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於javascript http request 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
- 關於javascript http request 在 HTTP GET request in JavaScript? - Stack Overflow 的評價
- 關於javascript http request 在 axios/axios: Promise based HTTP client for the browser and ... 的評價
- 關於javascript http request 在 JavaScript - HTTP Request, Promise, Async/await - Leon's ... 的評價
javascript http request 在 Kewang 的資訊進化論 Facebook 的最佳解答
最近 Funliday-旅遊規劃 常發一些精選旅遊回憶的 App 通知給使用者,在去年十一二月的時候發通知 Server 還能撐的了瞬時大流量的 request。
但今年開始發這類通知,總共發了三次,三次都造成 Server 被打掛,而且重開 AP 還緩解不了,瞬間手足無措。大概都要等過了十分鐘左右,Server 才將這些 request 消化完。
這裡就來簡單整理一下時間軸,順便分享一下 Funliday 是如何解決這個問題。
---
* 1/6 1900:系統排程發送精選旅遊回憶的 App 通知
* 1/6 1900+10s 開始:Server 收到極大量的 request
* 1/6 1900+20s:Nginx 出現錯誤訊息 1024 worker not enough,並回傳 http status code 503
* 1/6 1900+25s:PostgreSQL 出現錯誤訊息 could not fork new process for connection (cannot allocate memory)
* 1/6 1900+38s:Node.js 收到 PostgreSQL 的 exception。There was an error establishing an SSL connection error
* 1/6 1900+69s:PostgreSQL 出現錯誤訊息 database system is shut down
* 1/6 1900+546s:PostgreSQL 出現錯誤訊息 the database system is starting up
---
看了時間軸就覺得奇怪,先不論 10s 的時候發了極大量 request,造成 20s 在 Nginx 出現 worker not enough 的錯誤訊息。而是要關注 25s 時的 PostgreSQL 出現 could not fork new process for connection 的錯誤訊息。
Funliday 用了同時可承載 n 個 connection 的資料庫,而且程式碼又有加上 connection pool,理論上根本不該出現這個錯誤訊息。但整個時間軸看下來感覺就是 PostgreSQL 的 capacity 問題,造成系統無法運作。
因為就算將 Nginx 的 worker connection size 再加大 10 倍,只是造成 PostgreSQL 要接受的 request 也跟著被加大 10 倍,但 PostgreSQL 那裡因為 request 變多,原本在 69s 直接關機的時間點只會提早,而無法真正緩解這個狀況。
基於以上狀況,小編就開始回去看自己的程式碼是不是哪裡寫錯了。會這樣想也是覺得 PostgreSQL 應該沒這麼弱,一下就被打掛,一定是自己程式碼的問題 Orz
---
這邊來分享一下自己程式碼的寫法,圖一是原始寫法,在每個 API 都 create 一個 db client instance 來處理該 API 層的所有 db request。這是蠻單純的做法,也是 day 1 開始的處理方式。但有個小問題,就是每個 API 層都要自己 create instance,不好管理,且浪費資源。
後來因為想要做 graceful shutdown 的關係,所以調整了一下 db client instance 的建立方式,用 inject 將 instance 綁在 request 上面,如圖二。這樣只要在 middleware 建立 db client instance 就好,好管理,而且只要有 req 就可以取得 instance,非常方便。而這也是 1/6 時的程式碼,就從這裡開始研究吧。
---
直接切入 node-postgres 的文件,認真讀了一下 pool 有下面兩種使用方式:
1. pool.connect, pool.release:文件寫著 checkout, use, and return,光看描述就應該用這個沒錯。
2. pool.query:適用於不需要 pool 的連線方式,文件上也清楚寫著內部實作是直接 call client.query,所以用了這個方式是完全跟 pool 扯不上邊。
但偏偏小編從 day 1 用的就是第 2 種方式 Orz,雖然看起來應該是寫錯,但也是要修改後實測,才知道是不是真的可以解決問題。
---
如圖三,這是修改後的程式碼。想了一下子,覺得目前在 API 層使用 req.pool.query 還不錯,不想用官方的建議做法:先 create client,然後 query 之後,再使用 release。
如果照官方建議做法,API 層的程式碼會多一堆與商業邏輯無關的程式碼,也不好維護。所以在不想動到 API 層的程式碼,只能使用 monkey patch 的方式來達到這個需求。
monkey patch 可以將原方法利用類似 override 的方式,將整個方法改掉,而不改變 caller 的程式碼,這也是 JavaScript, Ruby, Python 這類動態語言的特性之一,但真的要慎用,一不小心就會把原方法改成完全不同意義的方法了。
所以原本應該要在 API 層實作 connect, query, release 一大堆程式碼,可以用 monkey patch 完美解決這一大堆程式碼。
---
在 dev 壓測後至少 capacity 可以達到原本的 4 倍以上,隔天實際上 production 之後也確實如壓測般的數據,可以承載目前的流量。
其實這篇分享的重點只有一點,文件看仔細才是最重要的事啦!如果沒把文件看仔細,然後開發經驗也不足的話,什麼 RCA、monkey patch 都幫不上忙啦!
---
後記:有夠丟臉,其實完全用不到圖三,只要把圖二的 pool creation 放到最外層就好了,因為 pool.query 的內部實作已經有做 connect, query, release 了。
感謝下面的 Mark T. W. Lin 及 Rui An Huang 的幫忙,實在是太搞笑了 Orz
* Pool 的文件:https://node-postgres.com/features/pooling
* 官方建議寫法:https://node-postgres.com/guides/project-structure
* pool.query 的內部實作:https://github.com/brianc/node-postgres/blob/master/packages/pg-pool/index.js#L332
#expressjs #nodejs #javascript #postgresql
javascript http request 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳解答
ภาษา PHP นิยมมากในการพัฒนาเว็บ
แถมเป็นที่โปรดปรานของนักเจาะระบบยิ่งนัก
.
อันนี้จะเป็นไกด์ไลน์เขียน PHP
ให้ปลอดภัยไม่โดนแฮก
บทความของฝรั่งเขียนมานานแหละ
แต่ยังไม่ล้าสมัย
เพราะเทคนิคเดิมๆ
แม้กาลเวลาเปลี่ยน
แฮกเกอร์ก็ยังหากินได้อยู่เสมอ
.
อีกอย่างไม่ใช่แค่ PHP ที่มีช่องโหว่
เขียนภาษาอื่นบนเว็บก็มีช่องโหว่คล้ายๆ กัน
เช่น
- SQL injection แทบจะมีทุกภาษา เป็นปัญหาคลาสสิค
- Cross-Site Scripting (XSS) ต้นตอปัญหาก็มาจาก JavaScript
- Cross-Site Request Forgery (CSRF) ก็เป็นช่องโหว่ของโปรโตคอล HTTP
- Document Relationships ก็เป็นปัญหาจากภาษา HTTP
.
แต่บางปัญหาก็มาจาก PHP จริงๆ
เช่น upload ไฟล์แปลกปลอม
ขึ้นไปวางไว้ใน server แล้วประมวลผลได้เฉย
ซึ่งบางภาษาจะปลอดภัยและรัดกุมกว่า
.
เอาเป็นว่าศึกษา รู้ไว้ก็ไม่เสียหาย
ยิ่งรู้ก็ยิ่งมีประโยชน์โคดดดด
สามารถเพิ่มทักษะความรู้เรื่อง security
ตามลิงค์ข้างล่างนี้
https://paragonie.com/…/2018-guide-building-secure-php-soft…
.
✍เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
PHP language is very popular in web development.
It's a favorite of the drillers.
.
This one will be the guideline writing PHP.
Keep it safe. Not hacked.
Foreigner's article has been written for a while.
But it's not outdated.
Because of the same old technique.
Even when time changes.
Hackers are always looking for food.
.
Besides, not just PHP with loopholes.
Writing other languages on the web has similar vulnerabilities.
Such as.
- SQL injection. Almost every language is a classic problem.
- Cross-Site Scripting (QSS) Original. The problem is also from JavaScript.
- Cross-Site Request Forgery (CSRF) is a loophole of HTTP protocol.
- Document Relationships is also a problem from HTTP language.
.
But some problems really come from PHP
e.g. upload a foreign file
Go up, put it in server and process it.
Some languages are safer and tighter.
.
Let's just say, studying isn't damaged.
The more you know, the more useful.
Can enhance the knowledge of security skills
Follow the link below.
https://paragonie.com/blog/2017/12/2018-guide-building-secure-php-software
.
✍ Written by Thai programmer thai coderTranslated
javascript http request 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
javascript http request 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
javascript http request 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
javascript http request 在 axios/axios: Promise based HTTP client for the browser and ... 的推薦與評價
Features · Make XMLHttpRequests from the browser · Make http requests from node.js · Supports the Promise API · Intercept request and response · Transform request ... ... <看更多>
javascript http request 在 JavaScript - HTTP Request, Promise, Async/await - Leon's ... 的推薦與評價
XMLHttpRequest Promise Async/Await Asynchronous(異步/非同步) vs. Synchronous(同步) Asynchronous: 不需等待,可以繼續做別的事Synchronous: 必須 ... ... <看更多>
javascript http request 在 HTTP GET request in JavaScript? - Stack Overflow 的推薦與評價
... <看更多>
相關內容