สังคมไร้เงินสด จะนำไปสู่ สังคมไร้บัตร หรือไม่ ? / โดย ลงทุนแมน
เป็นที่รู้กันว่า การใช้จ่ายแบบไม่ใช้เงินสด กำลังเติบโตอย่างก้าวกระโดด
โดยการไม่ใช้เงินสดก็มีช่องทางให้เลือกที่หลากหลาย เริ่มตั้งแต่บัตรเครดิตและบัตรเดบิต
จนมาถึงแอปพลิเคชันและกระเป๋าเงินดิจิทัลบนสมาร์ตโฟน
แล้วการใช้จ่ายแบบไม่ใช้บัตรเหล่านี้
จะมีโอกาสมาแทนที่บัตรแบบดั้งเดิมหรือไม่ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
การใช้จ่ายแบบไม่ใช้เงินสด
ในช่วงแรกจะเป็น “ยุคบัตรพลาสติก”
โดยเริ่มมาจากบัตรเครดิตในประเทศสหรัฐอเมริกาช่วงปลาย 1950s
และก็มีบัตรเดบิตตามมา ในอีกไม่กี่ทศวรรษ
ประเทศที่ใช้บัตรกันอย่างแพร่หลาย
จนกลายเป็นช่องทางหลักในการใช้จ่าย
ก็คือกลุ่มประเทศที่มีความก้าวหน้าทางการเงินสูง
อย่างเช่น ประเทศต้นกำเนิดบัตรอย่างสหรัฐอเมริกา รวมถึงในทวีปยุโรป
หรือในเอเชีย ตัวอย่างเช่น ญี่ปุ่น, ฮ่องกง, เกาหลีใต้, ไต้หวัน และสิงคโปร์
ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้ การใช้จ่ายผ่านบัตรได้รับความนิยมมานาน
จนในปัจจุบัน มีสัดส่วนประชากรที่มีบัตรเครดิตมากเป็นครึ่งหนึ่ง
ของประชากรทั้งหมดในประเทศ
ขณะที่กลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในสมัยนั้น มีความก้าวหน้าทางการเงินที่ช้ากว่า
อย่างเช่นในจีน, อินเดีย และประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงไทย
การใช้จ่ายผ่านบัตรจึงไม่ได้รับความนิยมเป็นวงกว้าง สัดส่วนการใช้บัตรจึงยังมีน้อย
โดยเฉพาะบัตรเครดิต ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้ว กลุ่มคนที่มีบัตรเครดิต คิดเป็นไม่ถึง 10% ของประชากร
นั่นอาจเป็นเพราะว่า การสมัครบัตรเครดิต จะมีเงื่อนไขบางอย่าง
อย่างเช่น หลักฐานการได้รับเงินเดือนย้อนหลัง
หรือเกณฑ์เงินฝากในบัญชีขั้นต่ำ
รวมไปถึงมีการคิดค่าธรรมเนียมด้วย
ต่อมาเมื่อเข้าสู่ช่วงที่อินเทอร์เน็ตได้เข้ามาปฏิวัติโลก
โดยเฉพาะยุครุ่งเรืองของดอตคอมในช่วง 1990s
ช่องทางในการซื้อขาย ได้เพิ่มจากทางหน้าร้าน มาเป็นผ่านหน้าเว็บไซต์ออนไลน์ด้วย เช่นกัน
จุดนี้เอง ก็ได้กลายเป็นตัวเร่งให้มีการใช้บัตรจนกลายมาเป็นที่นิยมมากขึ้น
และไม่กี่ปีหลังจากนั้น ก็ได้มีทางเลือกใหม่ สำหรับใครที่ไม่ใช้บัตร
นั่นก็คือ PayPal ซึ่งถือว่าเป็นแพลตฟอร์มชำระเงินออนไลน์รายแรก ๆ ของโลก
ซึ่งบัญชีของ PayPal จะผูกกับบัญชีธนาคาร และใช้ PayPal เป็นช่องทางโอนและรับเงินที่ทำได้ทั้งในประเทศไปจนถึงระหว่างประเทศ
มาถึงตรงนี้ การใช้จ่ายแบบไม่ใช้เงินสด จึงเริ่มเข้าสู่ “ยุคไร้บัตร”
และเมื่อมาถึงยุครุ่งเรืองของสมาร์ตโฟน
ก็ได้มีการพัฒนาระบบใช้จ่ายแบบไร้บัตรในอีกรูปแบบหนึ่งเพิ่มเข้ามา
นั่นก็คือการใช้จ่ายผ่านแอปพลิเคชัน ซึ่งจะคล้ายกับการจ่ายด้วยแอปพลิเคชันของธนาคารไทยที่เราคุ้นเคย
ตัวอย่างเช่น Venmo ที่ในภายหลัง PayPal ได้เข้ามาซื้อกิจการไป
หรือ Cash App แอปพลิเคชันของบริษัท Square ฟินเทคที่มีผู้ก่อตั้งคนเดียวกับ Twitter
ซึ่งทั้งคู่ต่างใช้วิธีเดียวกัน นั่นคือการใช้จ่ายผ่านแอปพลิเคชันที่ผูกกับบัญชีธนาคาร
ส่วนกระเป๋าเงินดิจิทัล เกิดมาจากการที่เหล่าผู้พัฒนาแพลตฟอร์ม
ต่างต้องการสร้าง Ecosystem เพื่อใช้จ่ายในเครือข่ายแพลตฟอร์มทั้งหมดของตัวเอง
อย่างเช่น Apple Pay และ Google Pay
แต่ในกลุ่มประเทศที่บัตรเป็นที่นิยมมานาน
แม้ว่าจะมีช่องทางการชำระเงินออนไลน์แบบอื่น ๆ เพิ่มเข้ามา และมีอัตราการเติบโตที่สูง แต่บัตรก็ยังเป็นที่นิยมมากที่สุดอยู่ดี
ซึ่งส่วนหนึ่งก็สะท้อนได้จาก บริษัทฟินเทคที่ยังให้ความสำคัญกับบัตรอยู่
อย่างในสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือเป็นประเทศที่ใช้เงินสดน้อยเป็นอันดับ 5 ของโลก
ฟินเทคยักษ์ใหญ่อย่าง Square ที่แม้จะมี Cash App แต่ผลิตภัณฑ์หลักก็เริ่มมาจาก Square Reader
ที่เป็นอุปกรณ์สี่เหลี่ยมขนาดเล็ก ใช้เชื่อมต่อกับสมาร์ตโฟนเพื่อรับชำระเงินด้วยบัตร
ไปจนถึงเครื่องรับบัตรตามร้านค้า ที่มีค่าธรรมเนียมต่ำกว่าเครื่องรับบัตรของธนาคาร
หรืออย่างเกาหลีใต้ ประเทศที่ใช้เงินสดน้อยที่สุดในภูมิภาคเอเชีย
แม้กระเป๋าเงินดิจิทัลของแอปพลิเคชันแช็ตอันดับหนึ่งอย่าง KakaoPay จะได้รับความนิยมสูงมาก จนเป็นรองเพียงบัตรของธนาคารใหญ่ไม่กี่เจ้า
แต่ด้วยความที่คนเกาหลีใต้ยังนิยมใช้บัตร KakaoPay จึงออกบัตรเดบิตที่ผูกกับบัญชี KakaoPay ควบคู่ไปด้วย
ถ้าอย่างนั้น เจ้าตลาดในยุคไร้บัตร คือใคร ?
คำตอบก็คือกลุ่มประเทศที่สัดส่วนประชากรที่เข้าไม่ถึงบริการของธนาคาร
หรือมีบัญชีธนาคารแต่ไม่เคยใช้บริการด้านอื่น ยังมีอยู่มาก
เลยทำให้จำนวนคนที่ใช้บัตรมีน้อย
ซึ่งเมื่อโลกได้มุ่งสู่การใช้จ่ายแบบออนไลน์มากขึ้นเรื่อย ๆ แต่เมื่อไม่มีบัตร
ช่องทางการชำระเงินที่เลือกใช้ จึงเป็นกระเป๋าเงินดิจิทัลและแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน
ตัวอย่างประเทศในกลุ่มนี้ก็เช่น จีน, อินเดีย รวมถึงประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดยเฉพาะจีนและอินเดีย เป็นสองประเทศที่มีสัดส่วนของกลุ่มคนที่เข้าไม่ถึงธนาคาร มากที่สุดในโลก
ในขณะเดียวกัน ก็มีสัดส่วนการใช้กระเป๋าเงินดิจิทัลสูงที่สุด
และแม้ว่าจีนจะยังไม่ใช่ประเทศที่ใช้เงินสดน้อยที่สุดในเอเชีย
แต่จีนก็ได้กลายเป็นเจ้าตลาดการใช้จ่ายแบบไร้บัตรที่ใหญ่ที่สุดในโลกไปแล้ว
ซึ่งจุดเริ่มต้น เกิดขึ้นหลังจากที่ฝั่งตะวันตกได้รู้จัก PayPal ไปประมาณ 5 ปี
คนจีนก็ได้รู้จักกับ Alipay ที่เป็นต้นตำรับของกระเป๋าเงินดิจิทัล
ในตอนนั้นอีคอมเมิร์ซอย่าง Alibaba ได้พัฒนา Alipay เพื่อเป็นแพลตฟอร์มใช้จ่าย
สำหรับซื้อของออนไลน์แบบไม่ต้องใช้บัตร จนต่อยอดมาเป็นกระเป๋าเงินดิจิทัล
รวมถึงแอปพลิเคชันเพื่อใช้จ่ายผ่านสมาร์ตโฟนด้วย
จนในปี 2013 Alipay สามารถแซง PayPal ขึ้นมาเป็นแพลตฟอร์มชำระเงินบนสมาร์ตโฟนที่ใหญ่ที่สุดในโลกได้สำเร็จ
โดยในแถบเอเชียนั้น นอกจากเหตุผลเรื่องคนเข้าถึงบริการจากธนาคารไม่มากแล้ว
การใช้จ่ายแบบไร้บัตรยังเติบโตได้อย่างรวดเร็วตามการเติบโตของแพลตฟอร์ม
อย่างอีคอมเมิร์ซ, แช็ต, เรียกรถ หรือสั่งอาหาร
ในประเทศจีน เช่น Alipay และ WeChat Pay
ในประเทศอินเดีย เช่น Paytm
ในประเทศกลุ่มอาเซียน เช่น GrabPay, ShopeePay และ GoPay
ทำให้ในปัจจุบัน เอเชียแปซิฟิก ได้กลายเป็นภูมิภาคเดียวในโลก
ที่สัดส่วนการใช้จ่ายเมื่อซื้อของออนไลน์
มาจากช่องทางกระเป๋าเงินดิจิทัลมากที่สุด
และได้แซงการใช้บัตรไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ซึ่งการเติบโตของการใช้จ่ายแบบไร้บัตร ก็ทำให้คนเริ่มตั้งคำถามว่า
หรือ Cashless Society จะกลายเป็น Cardless Society ไปด้วย
สำหรับคำตอบของเรื่องนี้ ถ้ามาดูในกลุ่มประเทศที่ใช้เงินสดน้อยสุดในโลก
จะพบว่าในประเทศเหล่านั้น บัตรยังคงเป็นช่องทางหลักในการใช้จ่ายอยู่
หรือถ้าลองหาคำตอบจากเรื่องใกล้ตัว จะพอเห็นได้ว่า
การใช้จ่ายแบบไร้บัตร ยังมีข้อจำกัดในบางเรื่อง
อย่างเช่นเวลาจ่ายค่าสมาชิกรายเดือนแบบตัดเงินอัตโนมัติ
หรือการซื้อขายของแบบข้ามประเทศ ก็ยังต้องใช้บัตรอยู่
แม้จะมี PayPal ที่เป็นช่องทางไร้บัตรแบบสากล
แต่ในแถบบ้านเราก็ไม่ได้รับความนิยมมากนัก
และยังรวมไปถึงบางคนที่ถ้าต้องจ่ายเงินก้อนใหญ่ การใช้บัตรยังรู้สึกปลอดภัยมากกว่า เช่นกัน
นอกจากนั้นบัตรเครดิต ยังมีโมเดลธุรกิจที่จะหักเงินส่วนหนึ่งจากร้านค้า
เพื่อให้ธนาคารผู้ออกบัตรมาทำส่วนลดโปรโมชัน เพื่อให้ผู้ใช้บัตรรู้สึกคุ้มค่า
และในมุมมองของผู้บริโภค การจ่ายด้วยบัตรเครดิต จะเป็นการได้สินค้าหรือบริการมาก่อน แล้วค่อยจ่ายเงินทีหลังในวันที่ครบกำหนด
ดังนั้นสำหรับผู้ที่มีบัตรเครดิต ก็มักเลือกที่จะใช้บัตรเครดิตก่อนช่องทางอื่น ๆ เพราะมีสิทธิประโยชน์มากกว่า
นั่นคงทำให้เราพอสรุปได้ว่า สังคมไร้เงินสด จะยังไม่ได้กลายเป็นสังคมไร้บัตรในเร็ววันนี้
ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว การชำระเงินแต่ละช่องทาง ก็มีจุดเด่นที่ต่างกันไป
แถมยังคอยเสริมจุดอ่อนของกันและกันไปในตัว
แม้แต่ธนาคารเอง ที่ถึงจะโดนดิสรัปต์จากการใช้จ่ายแบบไร้เงินสด
แต่แพลตฟอร์มเหล่านั้นโดยส่วนใหญ่ ยังคงต้องผูกกับบัญชีธนาคารอยู่ดี..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.bcg.com/publications/2020/southeast-asian-consumers-digital-payment-revolutions
-https://asia.nikkei.com/Editor-s-Picks/FT-Confidential-Research/Mobile-payments-sideswipe-credit-cards-in-Southeast-Asia
-https://www.rapyd.net/resource/asia-pacific-ecommerce-and-payments-guide/
-https://www.techinasia.com/future-southeast-asias-mobile-wallets
-https://www.mckinsey.com/industries/financial-services/our-insights/joining-the-next-generation-of-digital-banks-in-asia
-https://www.mckinsey.com/industries/financial-services/our-insights/banking-matters/digital-commerce-and-the-rise-of-alternative-payments-methods
-http://documents1.worldbank.org/curated/en/332881525873182837/pdf/126033-PUB-PUBLIC-pubdate-4-19-2018.pdf
-https://www.jpmorgan.com/merchant-services/insights/reports/thailand-2020
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過7,540的網紅ワヒワヒch【マツダ3オーナー】,也在其Youtube影片中提到,▼チャンネル登録お願いします↓↓↓↓↓ https://www.youtube.com/channel/UCkqlZRfI9geQTNRla5_W8mA?sub_confirmation=1 LINE Payが使えるお店(請求書支払い) https://line.me/ja/pay/merchan...
「line pay merchant」的推薦目錄:
- 關於line pay merchant 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於line pay merchant 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
- 關於line pay merchant 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於line pay merchant 在 ワヒワヒch【マツダ3オーナー】 Youtube 的最讚貼文
- 關於line pay merchant 在 岩間よいこ / よいこチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於line pay merchant 在 [心得] Linepay與街口支付使用心得(店家角度) - 看板MobilePay 的評價
- 關於line pay merchant 在 yidas/line-pay-sdk-php - GitHub 的評價
- 關於line pay merchant 在 LINE Global - LINE Pay Merchant | Facebook 的評價
- 關於line pay merchant 在 Re: [心得] Linepay與街口支付使用心得(店家角度) 的評價
- 關於line pay merchant 在 Check regKey Status | line-pay-sdk-nodejs 的評價
- 關於line pay merchant 在 Line pay integration with android app - Stack Overflow 的評價
line pay merchant 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
ข่าวประชาสัมพันธ์..
Wongnai for Business ประกาศตัวเป็นพาร์ทเนอร์ธุรกิจร้านอาหารอันดับ 1 ของไทย พร้อมพาธุรกิจร้านอาหารไทยลุยศึก O2O (Online to Offline) จัดงานสัมมนาครั้งใหญ่แห่งปี “Wongnai for Business: Restaurant 2020” อัพเดตเทรนด์ร้านอาหารที่น่าสนใจ และโชว์เคสเทคโนโลยีร้านอาหารพร้อมลุยยุค O2O
การทำธุรกิจร้านอาหารไม่ใช่เรื่องง่าย ธุรกิจร้านอาหารในฐานข้อมูลของ Wongnai มีอัตราการเติบโตสูงขึ้น 40% ระหว่างปี 2018-2019
แต่หากย้อนดูสถิติในช่วง 3 ปีที่ผ่านมามีร้านอาหารที่เปิดใหม่ 10% เท่านั้นที่อยู่รอด และมีการเปิด-ปิดร้านอาหารหลายร้อยร้านในทุกสัปดาห์ โดยมีจำนวนร้านอาหารเปิดใหม่ทั้งหมดในปี 2019 ทั่วประเทศ พุ่งเป็น 70,149 ร้าน โตขึ้นจากจำนวนร้านเปิดใหม่ในปี 2018 ถึง 97%
แล้วยิ่งในยุคนี้ที่กระแส O2O กำลังส่งสัญญาณแรงขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลกระทบต่อทั้งพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป การเติบโตอย่างก้าวกระโดดของเดลิเวอรี และการแข่งขันที่ดุเดือดยิ่งขึ้น จึงทำให้ Wongnai for Business เกิดขึ้นมาเพื่อเป็นพาร์ทเนอร์หรือเพื่อนคู่คิดที่คอยแชร์ข้อมูล ความรู้ เทคนิค และเทคโนโลยีที่ช่วยเหลือในการทำธุรกิจร้านอาหารให้ ‘อยู่รอด’ ในยุคแห่ง O2O นี้
บทความนี้ขอ “ฟันธง” เทคโนโลยีร้านอาหารที่ต้องใช้เพื่อ ‘อยู่รอด’ และ ‘เติบโต’ เมื่อยุค O2O มาถึง นั่นก็คือ “Restaurant Solution” เครื่องมือสำหรับร้านอาหารในยุค O2O ทั้งเทคโนโลยี ระบบ แอปพลิเคชัน รวมไปถึงบริการใหม่ๆ ที่ครบวงจรที่สุดเพื่อเชื่อมต่อร้านอาหารเข้ากับลูกค้าได้อย่างไร้รอยต่อ
● Wongnai POS ระบบบริหารจัดการร้านอาหารแบบครบวงจร ทั้งการจัดการเมนู รับออเดอร์ การคิดเงิน และสรุปและวิเคราะห์ยอดขาย ฟีเจอร์ O2O ที่เชื่อมต่อแอปฯ และเว็ปไซต์ Wongnai เพื่ออัพเดตเมนูและโปรโมชันใหม่, เชื่อมต่อ LINE MAN เพื่อรับออเดอร์เดลิเวอรี, เชื่อมต่อบัตรสะสมแต้ม Wongnai Reward Card
● Wongnai Merchant App แอปพลิเคชันจัดการออเดอร์เดลิเวอรี่ที่เชื่อมต่อกับ LINE MAN เชื่อมต่อกับ Rabbit LINE Pay รับชำระเงินผ่านบัตรเครดิต พร้อมทั้งเชื่อมต่อกับบัตรสะสมแต้ม Wongnai Reward Card
● Wongnai Owner Connect บริการล่าสุดที่สามารถรายงานยอดขายที่เกิดขึ้นบน Wongnai Merchant App และ Wongnai POS ผ่านทาง LINE OA แบบเรียลไทม์
● Wongnai Reward Card ระบบบัตรสะสมแต้มเพื่อสร้างฐานลูกค้าประจำผ่านเบอร์โทรศัพท์ ทำให้รู้จักลูกค้ามากยิ่งขึ้น เข้าใจพฤติกรรมและความต้องการของลูกค้า
● ฟีเจอร์ล่าสุด “สั่งกลับบ้าน (Pick-up)” บนแอปพลิเคชัน Wongnai และ Wongnai Merchant App ที่ให้ลูกค้าสามารถกดสั่งอาหารกลับบ้านก่อนถึงร้าน เพื่อย่นเวลาในการรอคิวหน้าร้าน
“ในปีที่ผ่านมาธุรกิจ Restaurant Solution ของ Wongnai เติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดดถึงกว่า 5 เท่า จากปีก่อนหน้า และมีจำนวนร้านอาหารที่ใช้ระบบของเรามากกว่า 80,000 ร้านทั่วประเทศ โดยในปีนี้มีแผนที่จะพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง” คุณยอด ชินสุภัคกุล CEO & Co-founder แห่ง Wongnai กล่าว
ที่เดียวจบ! สรุปเทรนด์ปี 2020 ธุรกิจร้านอาหารมาแรง จากฐานข้อมูลร้านอาหารที่ใหญ่ที่สุดในไทย กว่า 320,000 ร้านอาหารบน Wongnai และผู้ใช้บริการอาหารเดลิเวอรีผ่าน LINE MAN กว่า 2,200,000 คน
● ร้านกาแฟและคาเฟ่ อาหารไทย และก๋วยเตี๋ยว ติด Top 3 ประเภทร้านอาหารเปิดใหม่สูงสุด
● ร้านชานมไข่มุกมาแรง อัตราการเปิดใหม่สูงที่สุดถึง 700%
● กรุงเทพฯ ครองแชมป์จังหวัดที่มีร้านอาหารเปิดใหม่มากที่สุด ตามมาด้วยจังหวัดในเขตปริมณฑล นนทบุรี สมุทรปราการ ปทุมธานี ตามลำดับ
● “ยำ” เมนูยอดฮิตแห่งปี ขึ้นแท่นอันดับ 1 เมนูอาหารที่ถูกค้นหามากที่สุดบน Wongnai
● ในปี 2019 มีจำนวนการค้นหาร้านอาหารจาก Google และมาจบที่ Wongnai กว่า 200 ล้านครั้ง
● ธุรกิจร้านอาหารเดลิเวอรีโตต่อเนื่อง 5 ปีติด (2014-2018) โตเฉลี่ย 10% ต่อปี ในปี 2019 โตสูงสุดเป็นประวัติการณ์ แตะ 14%
● เขตปทุมวัน ครองแชมป์เขตที่มีออเดอร์สั่งซื้ออาหารสูงสุดในปี 2019
● อำเภอเมืองนนทบุรี ม้ามืดโตพุ่ง 300% ภายในปีเดียว กระโดดจากอันดับที่ 20 ในปี 2018 มาเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2019 ของเขตที่มีการสั่งออเดอร์เพิ่มขึ้นมากที่สุด
● ในปี 2019 มีจำนวนร้านอาหารที่มีเพียงหน้าร้านออนไลน์เพียงอย่างเดียวเพิ่มขึ้นเกือบ 50% จากปี 2018 ที่มีเพียง 800 ร้าน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ทำความรู้จักกับระบบจัดการร้านอาหาร Restaurant Solution จาก Wongnai ได้ที่ https://bit.ly/2O81b0e หรือ Wongnai for Business
#Restaurant2020 #WongnaiforBusiness
line pay merchant 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
ข่าวประชาสัมพันธ์..
Wongnai for Business ประกาศตัวเป็นพาร์ทเนอร์ธุรกิจร้านอาหารอันดับ 1 ของไทย พร้อมพาธุรกิจร้านอาหารไทยลุยศึก O2O (Online to Offline) จัดงานสัมมนาครั้งใหญ่แห่งปี “Wongnai for Business: Restaurant 2020” อัพเดตเทรนด์ร้านอาหารที่น่าสนใจ และโชว์เคสเทคโนโลยีร้านอาหารพร้อมลุยยุค O2O
การทำธุรกิจร้านอาหารไม่ใช่เรื่องง่าย ธุรกิจร้านอาหารในฐานข้อมูลของ Wongnai มีอัตราการเติบโตสูงขึ้น 40% ระหว่างปี 2018-2019
แต่หากย้อนดูสถิติในช่วง 3 ปีที่ผ่านมามีร้านอาหารที่เปิดใหม่ 10% เท่านั้นที่อยู่รอด และมีการเปิด-ปิดร้านอาหารหลายร้อยร้านในทุกสัปดาห์ โดยมีจำนวนร้านอาหารเปิดใหม่ทั้งหมดในปี 2019 ทั่วประเทศ พุ่งเป็น 70,149 ร้าน โตขึ้นจากจำนวนร้านเปิดใหม่ในปี 2018 ถึง 97%
แล้วยิ่งในยุคนี้ที่กระแส O2O กำลังส่งสัญญาณแรงขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลกระทบต่อทั้งพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป การเติบโตอย่างก้าวกระโดดของเดลิเวอรี และการแข่งขันที่ดุเดือดยิ่งขึ้น จึงทำให้ Wongnai for Business เกิดขึ้นมาเพื่อเป็นพาร์ทเนอร์หรือเพื่อนคู่คิดที่คอยแชร์ข้อมูล ความรู้ เทคนิค และเทคโนโลยีที่ช่วยเหลือในการทำธุรกิจร้านอาหารให้ ‘อยู่รอด’ ในยุคแห่ง O2O นี้
บทความนี้ขอ “ฟันธง” เทคโนโลยีร้านอาหารที่ต้องใช้เพื่อ ‘อยู่รอด’ และ ‘เติบโต’ เมื่อยุค O2O มาถึง นั่นก็คือ “Restaurant Solution” เครื่องมือสำหรับร้านอาหารในยุค O2O ทั้งเทคโนโลยี ระบบ แอปพลิเคชัน รวมไปถึงบริการใหม่ๆ ที่ครบวงจรที่สุดเพื่อเชื่อมต่อร้านอาหารเข้ากับลูกค้าได้อย่างไร้รอยต่อ
● Wongnai POS ระบบบริหารจัดการร้านอาหารแบบครบวงจร ทั้งการจัดการเมนู รับออเดอร์ การคิดเงิน และสรุปและวิเคราะห์ยอดขาย ฟีเจอร์ O2O ที่เชื่อมต่อแอปฯ และเว็ปไซต์ Wongnai เพื่ออัพเดตเมนูและโปรโมชันใหม่, เชื่อมต่อ LINE MAN เพื่อรับออเดอร์เดลิเวอรี, เชื่อมต่อบัตรสะสมแต้ม Wongnai Reward Card
● Wongnai Merchant App แอปพลิเคชันจัดการออเดอร์เดลิเวอรี่ที่เชื่อมต่อกับ LINE MAN เชื่อมต่อกับ Rabbit LINE Pay รับชำระเงินผ่านบัตรเครดิต พร้อมทั้งเชื่อมต่อกับบัตรสะสมแต้ม Wongnai Reward Card
● Wongnai Owner Connect บริการล่าสุดที่สามารถรายงานยอดขายที่เกิดขึ้นบน Wongnai Merchant App และ Wongnai POS ผ่านทาง LINE OA แบบเรียลไทม์
● Wongnai Reward Card ระบบบัตรสะสมแต้มเพื่อสร้างฐานลูกค้าประจำผ่านเบอร์โทรศัพท์ ทำให้รู้จักลูกค้ามากยิ่งขึ้น เข้าใจพฤติกรรมและความต้องการของลูกค้า
● ฟีเจอร์ล่าสุด “สั่งกลับบ้าน (Pick-up)” บนแอปพลิเคชัน Wongnai และ Wongnai Merchant App ที่ให้ลูกค้าสามารถกดสั่งอาหารกลับบ้านก่อนถึงร้าน เพื่อย่นเวลาในการรอคิวหน้าร้าน
“ในปีที่ผ่านมาธุรกิจ Restaurant Solution ของ Wongnai เติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดดถึงกว่า 5 เท่า จากปีก่อนหน้า และมีจำนวนร้านอาหารที่ใช้ระบบของเรามากกว่า 80,000 ร้านทั่วประเทศ โดยในปีนี้มีแผนที่จะพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง” คุณยอด ชินสุภัคกุล CEO & Co-founder แห่ง Wongnai กล่าว
ที่เดียวจบ! สรุปเทรนด์ปี 2020 ธุรกิจร้านอาหารมาแรง จากฐานข้อมูลร้านอาหารที่ใหญ่ที่สุดในไทย กว่า 320,000 ร้านอาหารบน Wongnai และผู้ใช้บริการอาหารเดลิเวอรีผ่าน LINE MAN กว่า 2,200,000 คน
● ร้านกาแฟและคาเฟ่ อาหารไทย และก๋วยเตี๋ยว ติด Top 3 ประเภทร้านอาหารเปิดใหม่สูงสุด
● ร้านชานมไข่มุกมาแรง อัตราการเปิดใหม่สูงที่สุดถึง 700%
● กรุงเทพฯ ครองแชมป์จังหวัดที่มีร้านอาหารเปิดใหม่มากที่สุด ตามมาด้วยจังหวัดในเขตปริมณฑล นนทบุรี สมุทรปราการ ปทุมธานี ตามลำดับ
● “ยำ” เมนูยอดฮิตแห่งปี ขึ้นแท่นอันดับ 1 เมนูอาหารที่ถูกค้นหามากที่สุดบน Wongnai
● ในปี 2019 มีจำนวนการค้นหาร้านอาหารจาก Google และมาจบที่ Wongnai กว่า 200 ล้านครั้ง
● ธุรกิจร้านอาหารเดลิเวอรีโตต่อเนื่อง 5 ปีติด (2014-2018) โตเฉลี่ย 10% ต่อปี ในปี 2019 โตสูงสุดเป็นประวัติการณ์ แตะ 14%
● เขตปทุมวัน ครองแชมป์เขตที่มีออเดอร์สั่งซื้ออาหารสูงสุดในปี 2019
● อำเภอเมืองนนทบุรี ม้ามืดโตพุ่ง 300% ภายในปีเดียว กระโดดจากอันดับที่ 20 ในปี 2018 มาเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2019 ของเขตที่มีการสั่งออเดอร์เพิ่มขึ้นมากที่สุด
● ในปี 2019 มีจำนวนร้านอาหารที่มีเพียงหน้าร้านออนไลน์เพียงอย่างเดียวเพิ่มขึ้นเกือบ 50% จากปี 2018 ที่มีเพียง 800 ร้าน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ทำความรู้จักกับระบบจัดการร้านอาหาร Restaurant Solution จาก Wongnai ได้ที่ https://bit.ly/2O81b0e หรือ Wongnai for Business
#Restaurant2020 #WongnaiforBusiness
line pay merchant 在 ワヒワヒch【マツダ3オーナー】 Youtube 的最讚貼文
▼チャンネル登録お願いします↓↓↓↓↓
https://www.youtube.com/channel/UCkqlZRfI9geQTNRla5_W8mA?sub_confirmation=1
LINE Payが使えるお店(請求書支払い)
https://line.me/ja/pay/merchant/invoiceline#md_card
[関連動画]
これは便利!LINEPayで自動車税の請求書を支払いが可能【使い方】
https://www.youtube.com/watch?v=4DwKxOUH-S8
自動車税をお得に支払おう!
https://www.youtube.com/watch?v=lt5jS-0ie1Q
自動車税はクレジットカードや電子マネーで払うのがお得!
https://www.youtube.com/watch?v=_osHCa0Pqj8
自動車税をクレジットカードで支払ってみた結果がwww得するの?損するの?
https://www.youtube.com/watch?v=fbrFexuUj68
#LINEPay
#キャッシュレス
#自動車税
#車
#維持費
line pay merchant 在 岩間よいこ / よいこチャンネル Youtube 的最讚貼文
【2019/03/11追記】
・この動画を上げた後に使えるお店がぐっと増えて、さらに便利になりました!
LINE Payが使えるお店
https://line.me/ja/pay/merchant
・2018年11月7日、PontaカードがApple Walletに対応しました。
【2019/04/23追記】
・2019年4月23日、iOS版LINE Payアプリがリリースされました。
─────────────────────
LINE Payコード支払いの方法をご紹介します。
現在2018年8月1日から2019年7月31日の1年間、
ポイント還元3.5%〜5%となっています!
ローソンやドラッグストア、飲食店などで使えます。
コード支払いでいつでも3.5%~5%ポイント還元!お得なマイカラーとコード支払いキャンペーンを使いこなそう - LINE Pay 公式ブログ
http://pay-blog.line.me/archives/10928823.html
LINE Payの登録
https://line.me/ja/pay/howto
■■関連動画■■
【ICカード/iPhone】コンビニでの電子マネー払いのやり方
https://youtu.be/-P-nYZ5PspA
【Apple Watch】Suicaでの支払いのやり方 4つのポイント
https://youtu.be/DVQuhqRrO6Y
#LINEPay #キャッシュレス
─────────────────────
▶よいこチャンネル
http://www.youtube.com/c/iwamayoiko
▶よいこのTwitter
http://twitter.com/iwamayoiko
▶よいこのInstagram
http://www.instagram.com/iwamayoiko
─────────────────────
line pay merchant 在 yidas/line-pay-sdk-php - GitHub 的推薦與評價
Authentication. Each LINE Pay merchant Requires authentication information for LINE Pay integration, as shown below: channel ID; channel Secret. To get an ... ... <看更多>
line pay merchant 在 [心得] Linepay與街口支付使用心得(店家角度) - 看板MobilePay 的推薦與評價
剛好兩種支付的店家/用戶兩種都有經歷過,也分享一下 LINE 比較少被說到的部分心得
提供參考。
[LINE ]
1. 後台很完整,不需手動申請撥款與擔心撥款次數/手續費,簡單攤成交易手續費好懂。
2. 去年下半開始(?),帳號 LINE PAY POS(線下,掃/被掃) 與 LINE PAY EC(純
線上電商)需分開申請。
3. LINE PAY MONEY(綁金融卡,原一卡通)與LINE PAY(綁信用卡)手續費發票是分開立
給店家的,前者已經全線上數位化,後者還是每個月要等寄紙本發票(2020/08開始電子化發票)。
4. 程式方面 LINE 比較強,應該說是自我開發能量比較充足(個人意見)。但就如很多
人遇到的情況,台灣的客服有點依賴運氣,一個科技數位原生的公司客服與申請流程
這麼沒效率,真的會嚇退不少一般用戶說。街口在台北佔有率很高,只有不要特別遇
到鼻孔朝天的業務,一般服務應該是比較好的。
如果已經克服前面難關的店家,順利申請帳號開通 LINE PAY 使用,建議
5. 開啟免費 LINE 官方帳號(一開始選擇一對一客服,放一些美麗的圖/門面即可,之後
有需要再切程式機器人),並綁定 LINE PAY『付款 default 自動加好友』,線下
導線上,累積自己的線上會員經營互動經驗,盡量嘗試 LINE 後台陸續新增的免費功
能,將來有機會擴充,才說得清楚需求,知道哪些是必要哪些用不上。
6. 從 LINE Pay 後台動態綁定老闆與員工 LINE ID,分不同角色與權限(哪些人在 LINE
Pay Merchant 頻道即時收到付費通知,哪些人有權限看報表,哪些人可退款與編輯)
。對於人員會流動的店家來說這尤其重要,不管是 LINE PAY 或 LINE 官方帳號(一
對一客服),離職就動態調整綁定LINE ID權限的做法才是符合管理安全的,不需要再
擺一台專用結帳手機在櫃台抽屜,或人員離職就得要換共用密碼,甚至經歷離職員工
只是想退出,卻誤按刪除帳號造成對話紀錄大滅絕這種慘事。
7. 店家碼如果要採用,盡量擺放立牌位置是有人看,是動線出入比較單純的情況,立牌
可在後台產出店家碼 pdf 檔,聯絡業務協助製作彩色立牌比較漂亮。如果有主動出
擊出去外面參加市集擺攤的情況,可從 LINE PAY 後台切開一家虛擬分店,有獨立的
分店店家碼,這樣對帳就容易一目了然,也一樣享受 LINE Pay Merchant 頻道即時
通知的好處。
※ 引述《Abysslol (Abyss)》之銘言:
: 大家好 個人營業了一家小店 目前店內採用街口支付以及Line Pay兩種行動支付
: 版上好像沒有以店家角度來比較兩者優劣的文章 因此來分享一下
: 先從街口支付開始:
: 街口支付我從申請到實際使用大概花了兩周到三周的時間,申請過程算蠻流暢的
: 沒有遇到太多問題.我申請的是街口支付刷卡機(街口支付+信用卡),網頁上的店
: 家頁面介紹的蠻清楚的,與業務連繫後業務處理的速度也算快速.
: 手續費部分蠻低的(行動支付2.2/信用卡1.8),不過費用整體所需費用較高,機台
: 有6000元押金,使用滿一年歸還.此外,前60天需無條件提供5%街口幣回饋,這算一
: 筆不小費用,就當回饋消費者了.
: 操作方面,街口支付的POS介面算蠻簡潔的,速度也很快.退款可以直接在上面操作
: 也有店家專用app可以隨時查看以及退款,這部分我很喜歡.請款可以設定週期自動
: 撥款,時間一到就會轉帳到公司戶並請郵件通知.
: 整體來說我認為申辦街口支付效率蠻高的,使用率也比原本預期的高很多.原本只
: 估大概會佔10%營業額,實際使用一個月後發現超過15%,所以也噴了很多手續費跟
: 回饋.
: 優點
: 申辦速度快
: 操作介面簡單
: 有店家專用APP
: 有自動撥款
: 缺點
: 前60天要綁定5%街口幣回饋(很貴
: LinePay:
: 首先我必須說,與我接洽的Linepay業務處理速度真的非常慢==
: 常常會已讀不回,過好幾天才回你,很多問題都沒有得到解答,雖然申辦內容很簡
: 單,但我從申請到辦好花了快一個月,中間對方還找不到我們寄去的申請資料.
: 我申請的是POS串接的方式,我不知道為什麼業務完全沒有跟我提到Linepay Mini
: 這個東西,等到我掃碼槍等等設備都添購好後,才發現原來Linepay自己就有專用
: 的收款機,想用也來不及了囧.
: 費用部分比起街口支付簡單很多,只需要3%手續費,沒有額外費用,這很不錯.
: (Linepay Mini好像每個月300吧,但我沒用)
: 再來要講我覺得最痛苦的後台部分了,跟街口支付不一樣,Linepay Money沒有專
: 用的App,所有操作都要透過登入Linepay Money的後台網頁(包括退款
: Linepay Money的後台功能很多,但也相當複雜,而且我真的不能理解,既然你沒有
: 後台專用的App,那也好歹設計個手機板網頁吧,用手機滑後台的網頁字都超小超
: 難點,這個真的很痛苦.然後我在後台找了很久,沒有找到自動撥款的設定,不知道
: 是真的要一筆一筆手動請款還是我沒找到?知道的人可以跟我解答嗎...
: 整體來說,我覺得Linepay雖然費用簡單明瞭,但使用起來蠻不方便的.希望Linepay
: 的工程師們可以再接再厲,不然我真的很想要只用街口就好.
: 優點
: 費用簡單明瞭也不貴
: 缺點
: 申請很久
: 後台很爛
: 以上是兩大行動支付使用一段時間後的心得,有任何錯誤請指點我我會立刻改內文
: 再強調一次,這是以店家角度寫的心得,可能會跟各位的想法不太一樣,歡迎討論
: 謝謝
-----
Sent from JPTT on my Samsung SM-N960F.
--
※ 發信站: 批踢踢實業坊(ptt.cc), 來自: 223.140.70.5 (臺灣)
※ 文章網址: https://www.ptt.cc/bbs/MobilePay/M.1594028072.A.CC5.html
嗯,就是原 PO 推文有截圖的 LINE PAY Merchant 喔
※ 編輯: kuakua (223.140.70.5 臺灣), 07/06/2020 17:52:17
※ 編輯: kuakua (223.140.70.5 臺灣), 07/06/2020 17:55:38
※ 編輯: kuakua (223.140.70.5 臺灣), 07/06/2020 20:10:46
※ 編輯: kuakua (223.140.70.5 臺灣), 07/06/2020 23:59:51
※ 編輯: kuakua (223.140.70.5 臺灣), 07/07/2020 00:13:49
※ 編輯: kuakua (223.136.248.81 臺灣), 07/28/2020 15:53:54
... <看更多>