รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปี 2020
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี 2020 นี้ได้แบ่งออกเป็นสองส่วน โดยครึ่งแรกนั้นมอบให้กับ Roger Penrose ที่ได้ค้นพบว่า “กระบวนการกำเนิดของหลุมดำนั้นสอดคล้องและยืนยันถึงทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป” อีกครึ่งหนึ่งนั้นแบ่งกันระหว่าง Reinhard Genzel และ Andrea Ghez เนื่องจาก “การค้นพบวัตถุความหนาแน่นสูงมีมวลยิ่งยวดบริเวณใจกลางกาแล็กซีของเรา”
Roger Penrose นั้นเป็นนักคณิตศาสตร์ฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ และนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ที่ได้สร้างผลงานไว้เป็นจำนวนมากเสียจนไม่สามารถอธิบายไว้ใน ณ ที่นี้ได้ทั้งหมด ในปี 1954 Roger Penrose ได้พบกับผลงานของจิตกร M. C. Esher ที่โด่งดังจากการวาดภาพสิ่งของที่เป็นไปไม่ได้ แรงบันดาลใจที่ได้จากการชมผลงานนี้ผลักดัันให้ Roger Penrose ได้สร้าง “Penrose Triangle” ขึ้นมา[3] และเขากับพ่อของเขาได้ร่วมกันคิดค้น “Penrose Stairs”[4] บันไดที่เป็นไปไม่ได้ที่สามารถขึ้นลงได้ไม่มีที่สิ้นสุด ภายหลังจากที่จิตกร M. C. Esher ได้ทราบถึงผลงานของพ่อลูกทั้งสองนี้จึงบันดาลใจให้เขาผลิตผลงานที่โด่งดังที่สุดของ M. C. Esher, “Ascending and Descending” ภาพบันไดลวงตาที่สามารถขึ้นหรือลงได้ไม่มีที่สิ้นสุด ที่ถูกนำไปกล่าวถึงแม้กระทั่งในภาพยนต์ยุคปัจจุบันอย่าง Inception
นอกจากนี้ Roger Penrose ยังได้สร้างผลงานการค้นพบทางคณิตศาสตร์อีกเป็นจำนวนมาก ตั้งแต่เมทริกซ์ Moore-Penrose inverse ไปจนถึง Penrose tiling หรือกระเบื้องสองชิ้นที่สามารถ “ปู” เต็มพื้นราบได้โดยรูปแบบที่ไม่มีการซ้ำ และเป็นรูปทรงการปูพื้นระนาบรูปแรกที่มีสมมาตรห้าส่วน (five-fold symmetry)[6] ซึ่งถูกค้นพบภายหลังในธรรมชาติในรูปของ quasicrystal
อย่างไรก็ตาม ผลงานชิ้นหนึ่งของ Roger Penrose ที่อาจจะผลักดันวงการวิทยาศาสตร์ได้มากที่สุด ก็คือผลงานของเขาในทางด้านเกี่ยวกับทฤษฎีสัมพัทธภาพ และหลุมดำ ในปี 1969 Penrose ได้ค้นพบ cosmic censorship conjecture ว่า singularity หรือสภาวะเอกฐานในเอกภพใดๆ ก็ตาม จะต้องถูกห่อหุ้มไปด้วยขอบฟ้าเหตุการณ์ (Event Horizon) ทำให้ผู้สังเกตไม่สามารถสังเกตเห็น singularity ได้ ซึ่งนำไปสู่การตั้งชื่อของวัตถุนี้ว่า “หลุมดำ”
ส่วนอีกครึ่งหนึ่งของรางวัลโนเบลในปีนี้ ได้มอบให้แก่ Reinhard Genzel และ Andrea Ghez นักดาราศาสตร์สังเกตการณ์ที่ได้ทำการติดตามดาวที่โคจรรอบใจกลางของกาแล็กซีของเรา ในบริเวณที่เรียกว่า Sagittarius A* (Sgr A*)[7] และได้ค้นพบว่าดาวฤกษ์ที่โคจรรอบใจกลางของกาแล็กซีของเรานั้นกำลังโคจรด้วยอัตราเร็วที่สูงเกินกว่าจะเป็น และจากการคำนวณพบว่าวัตถุที่มันโคจรรอบๆ อยู่ หรือ Sgr A* นั้นจะต้องมีมวลไม่ต่ำกว่าสี่ล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์ ซึ่งถูกจำกัดอยู่ในปริมาตรที่มีรัศมีเพียง 6.25 ชั่วโมงแสง หรือเทียบเท่าเพียง 45 เท่าของระยะห่างระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งนำไปสู่การค้นพบวัตถุความหนาแน่นสูงมวลยิ่งยวดที่สุดวัตถุหนึ่งในเอกภพ ในปัจจุบันนี้หลักฐานทุกอย่างบ่งชี้ว่าวัตถุ Sgr A* นี้เป็นหลุมดำมวลยิ่งยวดที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งตั้งอยู่ ณ ใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://www.nobelprize.org/prizes/physics/2020/summary/
[2] https://en.wikipedia.org/wiki/Roger_Penrose
[3] https://en.wikipedia.org/wiki/Penrose_triangle
[4] https://en.wikipedia.org/wiki/Penrose_stairs
[5] https://en.wikipedia.org/wiki/Ascending_and_Descending
[6] https://en.wikipedia.org/wiki/Penrose_tiling
[7] https://en.wikipedia.org/wiki/Sagittarius_A*
penrose triangle 在 C.C.M Math Facebook 的最佳解答
【數感之旅——到澳洲跟比利時看潘洛斯三角形】
前兩天介紹了兩個日本的數學景點,今天讓我們瞬間移動,來到澳洲西部的伯斯(Perth)。這座城市裡有一個相當搶眼的巨型地標——
高達四層樓的潘洛斯三角形(Penrose Triangle)
我們都知道,潘洛斯三角形只存在於平面,理論上是不可能存在於空間中的立體結構。然而它就這麼矗立在伯斯,人來人往,見證了不可能的結構奇蹟。
有趣的是,如果你走到另一側,你一樣會看到一個高大的地標,但不管揉幾次眼睛,原本的三角形都不見了,只剩下一根大叉子。
這座地標誕生於21年前東伯斯改造計畫的其中一項提案,由藝術家布萊恩麥凱(Brian McKay)與建築師艾哈邁德阿巴斯(Ahmad Abas)共同設計,巧妙的利用視線角度,在空間中實現潘洛斯三角形。
※
潘洛斯三角形是一種相當特殊的幾何圖形,由3個長方體組成的空心三角形,但是仔細觀察會發現邊與邊的夾角都是直角,根據三角形內角和等於180度可以知道這樣的三角形是不存在的,但是在某個角度上,可以利用錯覺創造出來。平面上則利用線條來創造出接合錯覺。除了三角形之外,這個性質同樣可以創造出其他多邊形,只是邊數越多,錯覺效果就越不明顯,看起來就只像是扭轉變形過的多邊形。
如果你想看另外一種錯覺的潘洛斯三角形,我們再瞬間移動一次,來到比利時林堡歐波芬村莊(Ophoven),這裡有另一個潘洛斯三角形,看起來更逼真了,至少邊與邊是緊密接合的,不再是拿叉子當三角形。可是,等等,當你換個角度,三角形變成了一條舞動的彩帶,原來它是透過扭曲三角形的每條邊,來製造出錯視感。
為了不掃各位的興,我們把這兩個潘洛斯三角形的真實樣貌放在留言處,大家可以再看看卸妝後,不,換個角度後的真正結構。
潘洛斯到底是從何而來呢?起初,瑞士藝術家奧斯卡(Oscar Reutersvärd)畫出一些小立方體,排列成具有錯覺效果的三角形(有傳聞說是他18歲時在上拉丁文課時隨手塗鴉的,原來塗鴉才是正確使用課本啟發學生創意的方法啊!),相關的創作超過2500幅畫。後來,數學家潘洛斯教授(Roger Penrose)父子大力推廣,將研究刊登在《英國心理學月刊》。
運用潘洛斯三角形蓋的階梯就稱為潘洛斯階梯,在電影《全面啟動》中曾經出現過,當你繞著樓梯一圈又一圈地向上爬,最後竟然繞回原處
https://www.youtube.com/watch?v=dvSD1EAlAUQ&t=21s
從藝術創作到建築裝置都可以找到潘洛斯三角形的影子,你可以說它只是一種混亂的視錯覺,可換個角度,它也是結合了數學的藝術。不論如何定義,至少你知道下回造訪澳洲時,你不能再錯過克萊斯布洛克廣場,在歐洲雄偉華麗的城堡前打卡時,也別忘了歐波芬村莊。
期待某天在台灣的打卡景點中,也能新增一個潘洛斯三角形。
本篇文章與 朱倍玉 共同完成。
penrose triangle 在 KICKSTAGE Facebook 的精選貼文
♻ 潘洛斯三角(Penrose triangle)
文末有驚喜!!
是不可能物體中的一種。最早是由瑞典藝術家Oscar Reutersvärd在1934年製作。英國數學家羅傑·潘洛斯及其父親也設計及推廣此圖案,並在1958年2月份的《英國心理學月刊》中發表,稱之為「最純粹形式的不可能」。
潘洛斯三角看起來像是一個固體,由三個截面為正方形的長方體所構成,三個長方體組合成為一個三角形,但兩長方體之間的夾角似乎又是直角。上述的性質無法在任何一個正常三維空間的物體上實現。這種物件只能存在於一些特定的歐氏三維流形中。
♻ 關於潮流
你們知道哪個街頭潮流品牌,就是用潘洛斯三角作為品牌LOGO嗎❓
#答對的隨機選出三位發出小禮物 !!!!!