คู่แข่ง Tesla Cybertruck ส่งมอบรถศูนย์คัน แต่มีมูลค่าบริษัทล้านล้าน /โดย ลงทุนแมน
ไม่กี่ปีก่อน อีลอน มัสก์ ได้ประกาศว่าจะรุกเข้าสู่ธุรกิจรถกระบะไฟฟ้า
และก็ได้เปิดตัวโมเดลต้นแบบ รุ่น “Cybertruck” ซึ่งตอนนี้กำลังอยู่ในสายการผลิต
และคาดว่าจะส่งมอบถึงมือลูกค้าได้ในปีนี้
หากพูดถึงบริษัทผู้ผลิตรถกระบะไฟฟ้า
ก็ยังมีอีกบริษัท ที่ชื่อว่า “Rivian Automotive”
ที่มีแนวโน้มจะกลายมาเป็นคู่แข่งคนสำคัญของ Cybertruck
และเมื่อไม่นานมานี้ มีข่าวว่า Rivian Automotive กำลังจะจดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์
โดยมีมูลค่าบริษัทคาดการณ์อยู่ที่ 1.5 ล้านล้านบาท ใหญ่กว่า Ford บริษัทรถยนต์ที่ทำธุรกิจมายาวนานกว่า 117 ปี เสียอีก
แล้ว Rivian Automotive คือใคร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Rivian Automotive ถูกก่อตั้งขึ้นมาในปี 2009
โดย Robert “RJ” Scaringe นักศึกษาที่จบในด้านวิศวกรรมเครื่องกล
จาก Massachusetts Institute of Technology (MIT)
โดยในตอนแรก Robert ต้องการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในกลุ่มรถสปอร์ต
ซึ่งแน่นอนว่า มาจากความชอบของเด็กวัยหนุ่มทั่วไป
แต่ต่อมา เขาได้พบว่ารถยนต์อเนกประสงค์ หรือ SUV
ยังไม่มีผู้เล่นที่เข้าไปพัฒนาเรื่องของนวัตกรรมระบบไฟฟ้า
เขาจึงได้เปลี่ยนความสนใจในการพัฒนามาตรงจุดนี้
เพื่อที่จะได้เป็นหนึ่งในกลุ่มผู้บุกเบิก
ในเวลาต่อมา เขาก็ได้จ้างอดีตพนักงานเก่าจากบริษัทเทคโนโลยีมากมาย
เช่น Apple, Ford, Tesla, Intel, Netflix เพื่อเข้ามาร่วมพัฒนาในโพรเจกต์นี้
จากตรงนี้ เราจะเห็นได้ว่า Robert ค่อนข้างให้ความสนใจในเรื่องเทคโนโลยี และนวัตกรรม
สังเกตได้จากการดึงมันสมองจากบริษัทเทคโนโลยี ชื่อดังทั้งนั้น
โดยสิ่งที่ Robert วางแผนไว้คือ การพัฒนาฐานโครงช่วงล่างของรถยนต์ หรือ แชสซี
ให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานสูงที่สุด นั่นจึงเป็นที่มาของ “Skateboard Platform”
แล้ว Skateboard Platform คืออะไร?
Skateboard Platform เป็นรูปแบบแชสซีที่ทางบริษัท Rivian Automotive ออกแบบขึ้น
เพื่อให้มีโครงสร้างของรถมีศูนย์ถ่วงที่ต่ำ และมีความยืดหยุ่นสูง
ซึ่งจะช่วยให้การขับขี่สนุก และยังเหมาะกับการขับเคลื่อนสี่ล้อ
เหมาะกับรถยนต์ประเภท Off-Road เช่น ตระกูล SUV และรถกระบะ
ที่สำคัญที่สุดคือ Skateboard Platform จะเป็นศูนย์กลางของส่วนประกอบของการกำเนิดพลังงานไฟฟ้า
นั่นก็เพราะว่า แบตเตอรี่จะถูกบรรจุไว้ตรงกลางลำตัวของแชสซี
โดยโครงสร้างรถยนต์แบบ Skateboard นี้ ยังเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญของรถยนต์ไฟฟ้าอีกหลายเจ้า เช่น General Motor และ Audi
จนในปี 2018 บริษัท Rivian Automotive ก็ได้ผลิต “Rivian R1T” เป็นรถกระบะไฟฟ้าต้นแบบ
ซึ่งถือว่าเป็นรถกระบะรุ่นแรกที่ใช้พื้นฐานรถแบบ Skateboard Platform ออกมาสำเร็จ
และในเดือนต่อมา ก็ได้คลอดรถยนต์ไฟฟ้าประเภท SUV มาอีกในชื่อของ “Rivian R1S”
ต้องบอกว่า การที่บริษัท Rivian Automotive สามารถพัฒนายนตรกรรมไฟฟ้าได้รวดเร็วและมีคุณภาพขนาดนี้ ส่วนหนึ่งก็มาจากการเงินระทุนจากบริษัทยักษ์ใหญ่อย่าง Amazon.com และ Ford Motor
ด้วยการเข้ามาของค่ายรถยนต์ยักษ์ใหญ่อย่าง Ford นี้เอง
ก็ทำให้ Rivian Automotive ได้ออกรถยนต์กระบะไฟฟ้ารุ่นใหม่
เป็นรูปทรงที่มีกลิ่นอายของ Ford ในชื่อรุ่น “F-150” ออกมาอีกด้วยเช่นกัน
และบริษัท Amazon.com ยังเพิ่มการสนับสนุน ด้วยการสั่งซื้อรถตู้ขนของไฟฟ้า
จำนวนมากกว่า 100,000 คัน จาก Rivian Automotive ซึ่งมีกำหนดส่งมอบภายในปี 2030
และมีบางส่วนที่ Amazon.com ได้นำไปทดลองวิ่งส่งของแล้วในสหรัฐฯ
ปัจจุบัน บริษัท Rivian Automotive กำลังจะจดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์
โดยจะระดมทุนได้อีก 240,000 ล้านบาท
ซึ่งมูลค่าการระดมทุนในครั้งนี้ จะดันให้มูลค่าบริษัท Rivian Automotive สูงถึง 1.5 ล้านล้านบาท
ซึ่งมากกว่า Ford บริษัทรถยนต์ที่ทำธุรกิจมายาวนานกว่า 117 ปี เสียอีก
ถึงตรงนี้ เราก็ต้องบอกว่า Rivian Automotive
น่าจะกลายมาเป็นคู่แข่งคนสำคัญของ Tesla Cybertruck
แล้วถ้าถามว่า Rivian Automotive ที่กำลังจะจดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์
ส่งมอบรถยนต์ไปแล้วกี่คัน คำตอบที่น่าตกใจก็คือ “ศูนย์คัน”
เพราะบริษัทประกาศว่า การส่งมอบครั้งแรกของบริษัทกำลังจะเกิดขึ้นในอีก 4 เดือนข้างหน้า..
นั่นเท่ากับว่าตอนนี้บริษัทยังไม่ได้มีรายได้
มีเพียงสัญญาที่จะขายรถให้กับ Amazon.com
และกำลังขายอนาคต ให้กับนักลงทุน
ซึ่งอนาคตที่ว่านี้ กำลังจะมีมูลค่า 1.5 ล้านล้านบาท เลยทีเดียว..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.bloomberg.com/news/articles/2021-02-10/amazon-backed-ev-maker-rivian-is-said-to-aim-for-ipo-this-year?sref=x0EQiAMH
https://www.bloomberg.com/news/articles/2021-01-19/amazon-backed-ev-startup-rivian-raises-2-65-billion
https://www.aboutamazon.com/news/transportation/amazons-custom-electric-delivery-vehicles-are-starting-to-hit-the-road
https://www.magcarzine.com/rivian-history/
https://rivian.com/
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「startup netflix 2018」的推薦目錄:
startup netflix 2018 在 半路出家軟體工程師在矽谷 Facebook 的最讚貼文
學習成為更好的工程師、更好的人,我的精神食糧推薦
我在一年前寫了學習成為更好的軟體工程師: podcast 推薦及尋求推薦,有許多朋友讀者在 Facebook 文章或是 blog 文章留言幫我推薦 podcast,一年多過去了,更新 2018 年版本的精神食糧推薦。
軟體工程類:
Syntax- Tasty Web Development Treats
兩位主持人 Wes Bos 和 Scott Tolinski 都是 Web Developer,有自己的線上課程,他們會聊各種網頁開發的相關技術、軟技能等等,因為他們都有很多授課經驗,所以他們講解技術蠻清楚的,許多前端的技術、工具、及各式技巧都有很好的介紹,前端工作的朋友們可以聽聽看。
Front End Happy Hour
節目以輕鬆的方式討論前端開發的相關主題,參與討論的來賓多為 Netflix、Evernote、 LinkedIn,及矽谷科技公司的前端工程師。每集節目他們會因為討論題目決定一個禁止說的詞,如果來賓們在討論中提到了,那所有的人就得乾杯。這裡可以學習到資深前端工程師對各個技術、趨勢的分析優缺點、他們個人的經歷體悟、以及一些 soft skills 。如果你也是前端工程師,相信你也會從這個 podcast 學習到很多。
Soft Skills Engineering
節目座右銘 "It takes more than great code to be a great engineer."
要成為好的軟體工程師,僅僅只會寫好代碼是不夠的。從各種職場的情境、辦公室政治、工作選擇、職涯轉換、美式文化,軟體工程師,或是各個職業的人,都需要有 soft skills 來幫助你進對應退。 Soft Skills Engineering 是一個兩人主持的 podcast,Dave Smith 和 Jamison Dance 兩個人每期會回答幾個聽眾詢問的問題,他們的回答通常都很幽默,佐以他們的經驗分享。我從中有許多體悟、學習,並且對可能遇到的辦公室情況有一點心理準備。這個 podcast 可以算是我目前聽的眾多 podcast 最喜歡的 (可能是因為他們講話最好笑)。
朱赟的技术管理课
朱贇 Angela 是前 Airbnb 工程經理,現在是 Coinbase 工程經理。在極客時間專欄中,Angela 聚焦在技術管理、技術實踐、矽谷文化和個人成長領域,以女工程師和技術領導的視角,講解技術和認知的故事。她把自己在技術和管理上的領悟及忠告、在矽谷工作的體會與見識,通過這個專欄分享給大家。現在有限時特價,歡迎使用我的邀請 QR code,專欄有文字,也可以直接用聽的,如果你比較想看實體書,可以讀專欄最後集結成的書 “躍遷”。
探索未來類:
Indie Hackers
主持人 Courtland Allen 訪問賺錢的 startup 創辦人的故事,探討他們為什麼當初會想要創業,或是做 side project ,他們是如何進展到他們當下的賺錢時刻的。有許多有趣的公司故事,對發展 side project 或是創業有蠻多啟發。
Smart Passive Income
主持人 Pat Flynn 2008 年被資遣,被迫離開了心愛的建築師工作,但也開啟了他人生的新道路,他藉由分享建築考試的讀書筆記,進入了 online business 的領域,節目也訪問了許多創業家或是有副業收入的人,有許多有意思的訪談及 online business 歷程。
你有推薦什麼 podcast 或是線上的課程、資源嗎? 歡迎留言分享。
最後,感謝讀者 Makris 過去幾個月的 Patreon 贊助,如果你覺得我的文章有對你一些啟發,歡迎贊助我,鼓勵我多寫文章。 詳情請看我的 Patreon 頁面。最近新增加幾個贊助選項,贊助 $5 的話,我會在文章結尾署名謝謝你的支持,$10 可以署名加上你選的圖片,$50 的話幫助你宣傳你的公司、網頁、或是你。
https://brianhsublog.blogspot.com/2018/12/podcast-and-learning.html
startup netflix 2018 在 創業台槓 Startup Talk Facebook 的最讚貼文
早鳥最後一天📣12/20(四)【台槓導讀會】Netflix 最《#給力》的人才策略!顛覆全球企業用人思維!
#用人心法 #人才須具備思維 #Netflix
❓ 該怎麼為公司找到適合的人才,並創造擁有共同目標的環境呢?
❓ 是什麼獨特的企業文化,讓Netflix持續維持創新動能,不斷強大成長?
❓ 公司選你,還是你選公司? 如何讓選擇權回到自己手上呢?
21年前,Netflix以出租光碟服務起家,21年後,成為全球影音串流霸主,今年更宣布將服務推展至190個國家,且仍不斷創新成長中。而Netflix是以什麼樣的經營策略,讓Netflix能夠與時俱進,不斷維持創新動能,持續強化與成長呢?
《給力》的作者、Netflix人才長 珮蒂.麥寇德,在書中揭露其關鍵重點。
本次活動,邀請到商業思維教練游舒帆(Gipi)老師,將以過去十數年擔任專業經理人、並落實Netflix經營觀點經驗,帶你從以企業面、職場面兩大思維角度切入探討,你將能更深入理解Netflix的經營關鍵,並挖掘出其一連串的策略背後,有什麼樣的管理思維?並更進一步將帶你思考想成為企業需要的菁英人才,須做好哪些準備與思維?
幫助你與公司共同成長,讓公司更給力!
※ 台槓導讀會〈以聆聽帶您閱讀、以分享領您體會〉沒看過書籍也無妨,只要對此議題有興趣即可參加
【了解更多】https://stalk.pse.is/CREXW 12/17前享早鳥優惠
活動時間:2018/12/20(四)19:00~21:30(18:45 開放入場)
活動地點:高雄市前鎮區一心二路33號11樓A2
主辦單位:創業台槓 Startup Talk