【歷史上的今天 vs 推薦電影】480 BC -August-11 溫泉關戰役
.
【波希戰爭】Greco-Persian Wars
.
自公元前547年開始,波斯帝國征服愛奧尼亞、小亞細亞地區後,因為民族和語言的衝突而漸漸發生叛亂運動。雖然波斯最終平定叛亂,但仍希望能夠確保帝國安定而決定征服愛琴海地區的希臘。
.
自公元前492年,大流士一世進攻希臘,卻在馬拉松戰役遭雅典軍擊敗,第一次入侵失敗,大流士一世也在戰後去世;經過12年後,繼承王位的薛西斯一世,開始了第二次入侵,並與斯巴達和雅典所主導的希臘聯軍正面交鋒,最終也在陸海軍接連失利的情況下宣告失敗,希臘以寡敵眾跌破士人眼鏡。
.
.
【薛西斯一世】Xerxes I
.
公元前480年,波斯帝國國王薛西斯一世繼承父親大流士一世未完的志業,揮軍入侵希臘;有關薛西斯一世的傳奇故事相當多,據說大流士一世在第一次入侵希臘失敗後告誡薛西斯「希臘是個神才能摧毀的地方」,因此讓薛西斯自許為「神王」;在發動波斯第二次入侵希臘初期,船艦遭遇暴風雨侵襲後,命令部屬給他一個鞭子,讓他向大海鞭打咒罵,並命令以百艘軍艦並排讓大軍安穩渡過海峽。
.
.
【血戰溫泉關】The Hot Gate
.
薛西斯一世帶領了十萬大軍,從愛琴海北方沿著海岸揮軍南下,直搗巴爾幹半島南端的希臘核心地帶;大軍浩浩蕩蕩來到溫泉關隘口,與斯巴達領頭的精兵正面對決。溫泉關是個易守難攻的濱海隘口,雙方足足交戰三天,最終被希臘叛兵告密繞道而攻破。斯巴達戰士雖全數戰死,卻為海上的雅典海軍提供寶貴時間,為接下來的關鍵海戰取得勝利。
.
值得一提的是,許多傳說街主要歌頌300名戰死的斯巴達戰士,事實上除了斯巴達外仍有諸如曼提亞尼、特吉亞、科林斯、邁錫尼、底比斯、鐵斯匹亞等城邦加入,加上斯巴達的奴隸黑勞士,總計約6000名以上的士兵參戰。
.
.
【推薦電影】
《300壯士:斯巴達的逆襲》300, 2006
導演 查克史奈德
主演 傑哈巴特勒、琳娜海蓮
產地 美國
.
改編自美漫大師法蘭克米勒的同名圖像小說,描述斯巴達戰士英勇抵抗波斯帝國大軍的溫泉關戰役;電影畫面皆參考原著漫畫的構圖,大量的特效場景使本片在視覺成就上有著相當卓越的表現,也讓當年的查克史奈德導演一砲而紅。
.
值得一提的是,本片在史實上不免有誇大及加入許多虛構劇情,有將波斯帝國歷史妖魔化之嫌,而引發了部分中東國家不滿或抵制聲浪。
.
【這就是斯巴達!】This is Sparta!
電影中,飾演主角雷奧尼達一世的傑哈巴特勒,在拒絕波斯使者的條件並大叫「這就是斯巴達!」將波斯人一腳踹入井裡,成為本片的經典片段,也是後來許多電影致敬甚至諧仿的橋段。
.
這段丟井裡的劇情,在史詩中確實被記錄下來;大約在公元前490年,波斯王大流士一世攻打雅典與埃維厄兩城邦時,便要求希臘城邦獻上泥土與水表示臣服。而斯巴達人則回敬波斯使者,在井底可以找到很多,甚至還叫他們自己挖地道回波斯。
.
.
.
看完這則「歷史上的今天」你有什麼想法呢?
歡迎留言分享與我討論唷!
.
.
**************
歡迎加入【有梗電影俱樂部】,不錯過任何電影實體聚會與活動喔!
臉書社團(需回答問題審核):https://www.facebook.com/groups/viewpointmovieclub/
Telegram群組:https://t.me/viewpointmovieclub2
.
PODCAST - Firstory APP
📣 XXY:https://open.firstory.me/user/xxymovie
📣 What A MAXX!:https://open.firstory.me/user/whatamaxx
.
別忘了按讚追蹤XXY視覺動物
📣 XXY視覺動物 YouTube頻道 http://pcse.pw/9ZNYT
📣 XXY @Yahoo頁面 https://tw.tv.yahoo.com/xxy/
📣 IG:xxy_djfishmb
📣 XXY @方格子 https://vocus.cc/user/@XXY2018
.
.
#電影 #歷史 #點評 #影評 #知識 #解析 #movie #history #歷史上的今天 #溫泉關戰役 #波希戰爭 #斯巴達 #300壯士 #斯巴達的逆襲 #波斯 #希臘 #battleofthermopylae #thehotgate #sparta #greece #persian #grecopersianwars #薛西斯一世 #xerxes
xerxes 300 在 JZB Studio Facebook 的最佳貼文
300 กับภาคต่อที่ล้มเหลวในด้านรายได้และบทวิจารณ์
ประเด็นคือภาคแรกมันทำกำไรสูงและนักวิจารณ์หลายคนชอบ WB เลยสั่งทำภาคต่อทั้งที่ตัวผู้กำกับ Zack Snyder ไม่มีแผนจะทำภาคต่ออยู่แล้วพอมาภาค 2 ตัว Zack ก็ไปทำหน้าที่เป็นโปรดิวแทนแล้วให้ผู้กำกับที่ไหนไม่รู้มากำกับ ผลที่ออกมาคือหนังเจ๊ง นักวิจารณ์จวกยับ ด้วยทุนสร้างสูงถึง 100 ล้านแต่ทำกำไรทั่วโลกมาเพียง 300 ล้านตามชื่อ ผลคือแป๊กดับฝันภาค 3
ส่วนตัวผมก็ไม่ค่อยชอบภาคนี้เท่าไร ภาคแรกมันสโลแล้วเท่นะแต่ภาคนี้มันเยอะไปจนเอียน ทั้งเรื่องมีดีแค่ อีวาน กรีน พระเอกภาคนี้ไม่มีอะไรให้น่าจดจำเลย ถ้าไม่ตั้งชื่อ 300 มันจะโอเคกว่านี้มากแต่ใจหนึ่งก็อยากให้มันมีภาคต่อ อยากเห็น King Xerxes ว่าจะตายยังไง Leonidas กูยังไม่ได้ความเป็นธรรมเลย
xerxes 300 在 Coolerist Facebook 的最佳貼文
รู้ไว้ไม่เสียหาย
Leonidas ราชา Sparta ในตำนาน
--------------------------------
Leonidas (ลีโอนีดัส) สิ่งที่ทำให้ชื่อนี้เป็นที่รู้จักในหมู่ชาวไทยขึ้นมาก็คงไม่พ้นภาพยนตร์ปี 2006 เรื่อง 300 ที่กำกับโดย Zack Snyder อันอ้างอิงมาจากคอมิคชื่อเดียวกันโดย Frank Miller และ Lynn Varley นั่นเอง ตัวเขานั้นเป็นราชาแห่งนครรัฐ Sparta (สปาร์ตา) ที่นำทัพนักรบชาวสปาร์ตา 300 นายร่วมกับตนเพื่อทำศึกต้านกองทัพเปอร์เซีย จนต้องพลีชีพใต้น้ำมือของทัพเปอร์เซียกันไปทุกราย ซึ่งประวัติของเขานั้นปรากฏอยู่ในบันทึกของนักประวัติศาสตร์ชาวกรีกที่ชื่อ Herodotus (เฮโรโดตุส) ครับ
สำหรับ Assassin’s Creed: Odyssey ซึ่งเป็นภาคล่าสุดของซีรีส์ ก็ได้นำเอาแง่มุมทางประวัติศาสตร์ในส่วนนี้มาใช้เช่นกัน โดยหยิบจับเอาความคลุมเครือของชีวประวัติวีรบุรุษ/วีรสตรีในบันทึกดังกล่าวของเฮโรโดตุสที่มีความคลุมเครือมาให้ผู้เล่นได้เลือกว่าต้องการจะรับบทเป็นนักรบชายหรือนักรบหญิงนั่นเอง และไม่เพียงเท่านั้นเพราะตัวเอกประจำภาคอย่าง Alexios (อเล็กซิออส) หรือ Kassandra (คาสซานดร้า) ก็สืบเชื้อสายมาจากลีโอนีดัสและได้รับสืบทอดปลายหอกชำรุดของลีโอนีดัสที่เป็นหนึ่งใน Isu Artifact มาด้วย
ด้วยเหตุนี้ เราเลยอยากมาขอนำเสนอประวัติโดยคร่าวๆ ของลีโอนีดัสผู้มีบทบาทเบื้องหลังในเกมภาคนี้ให้ได้อ่านกันครับ
----------------------------
ลีโอนีดัสนั้นเป็นบุตรชายของราชาแห่งสปาร์ตานั่นคือ Anaxandrides (อนาซันไดรดีส) โดยลีโอนีดัสขึ้นครองบัลลังก์ต่อจากพี่ชายต่างมารดาของตนนั่นคือ Cleomenes I (คลีโอมีนีสที่หนึ่ง) เสียชีวิตในปีที่ 490 ก่อนคริสตกาลโดยหาได้มีทายาทชายแต่อย่างใด ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตนั้น บันทึกกล่าวไว้ว่าในปีนั้นคลีโอมีนีสจำต้องหลบหนีออกไปจากสปาร์ตาเนื่องจากตนวางแผนลอบสังหาร Demaratus (ดีมาราตุส) ผู้เป็นราชาที่ครองบัลลังก์ร่วมกับตน ทว่าภายหลังจากที่คลีโอมีนีสเริ่มรวบรวมสรรพกำลังในบริเวณใกล้เคียงได้ ชาวสปาร์ตาก็ยินยอมให้คลีโอมีนีสกลับเข้าเมืองอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตามบันทึกของเฮโรโดตุสระบุเอาไว้ว่า ในคราวนั้นคลีโอมีนีสได้มีสภาวะเสียสติไปเสียแล้ว เมื่อเป็นเช่นนี้ลีโอนีดัสผู้เป็นพี่น้องจึงได้ออกคำสั่งให้จองจำคลีโอมีนีสเสีย และไม่นานนักคลีโอมีนีสก็ถูกพบเป็นศพอยู่ในห้องคุมขังและสาเหตุการตายก็ถูกลงความเห็นว่าเป็นการทำอัตวินิบาตกรรมไปโดยปริยาย
เมื่อขึ้นครองบัลลังก์แล้ว ลีโอนีดัสก็เป็นทั้งผู้นำทางการทหารรวมถึงผู้นำทางการเมือง ซึ่งก็แน่นอนว่าเขาได้รับการฝึกฝนทั้งกายและจิตใจตั้งแต่ยังเยาว์วัยเฉกเช่นเดียวกับพลเมืองสปาร์ตาผู้อื่นเพื่อเติบโตเป็นนักรบ Hoplite (ฮอปลีต) ฝีมือฉกาจ นักรบฮอปลีตนั้นเข้าสู่สมรภูมิโดยโล่ทรงกลม, หอกยาวและดาบสั้น แต่พวกเขามีชื่อเสียงจากชบวนรบ Phalanx (แฟแลงซ์) อันโด่งดัง ที่ซึ่งเหล่านักรบฮอปลีตจะยืนเคียงข้างกันให้โล่ประชิดติดซ้อนกันประหนึ่งกำแพง และเมื่อใดที่ข้าศึกโจมตีจากด้านหน้า กำแพงโล่ก็จะคอยปกป้องเหล่านักรบได้อย่างดีเยี่ยม หากแต่ถ้าขบวนรบดังกล่าวแตกลงเมื่อใดหรือหากข้าศึกจู่โจมจากด้านข้างหรือด้านหลัง ก็จะมีโอกาสแตกพ่ายในทันที
-------------------------------
กรีซโบราณนั้นประกอบไปด้วยนครรัฐต่างๆ มากมายนับร้อย แต่นครรัฐที่ทรงอำนาจมากที่สุดในขณะนั้น Athens (เอเธนส์) และสปาร์ตานี่เอง หากแต่แม้ว่าบรรดานครรัฐเหล่านี้จะปะทะกันเองอยู่เป็นนิจเพื่อแย่งชิงดินแดนและทรัพยากร เมื่อยามที่กองทัพภายนอกเข้ารุกรานเมื่อใดพวกเขาก็จะจับมือกันเพื่อร่วมต้านศึกทันที ซึ่งในช่วงต้นของศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลนี่เอง ทัพ Persia (เปอร์เซีย) ได้พยายามเข้ารุกรานกรีซถึงสองครั้งสองครา ในปี 490 ก่อนคริสตกาล กษัตริย์แห่งเปอร์เซียในขณะนั้นคือ Darius I (ดาริอุสที่หนึ่ง) ได้ริเริ่มก่อการรุกรานที่เรียกขานกันว่า First Persian War (สงครามเปอร์เซียครั้งแรก) ทว่าทัพผสมของกรีซได้ขับไล่ทัพเปอร์เซียได้สำเร็จใน Battle of Marathon (การศึกที่มาราธอน) จากนั้นสิบปีต่อมา ในช่วง Second Persian War (สงครามเปอร์เซียครั้งที่สอง) หนึ่งในบุตรชายของดาริอุสนั่นคือ Xerxes I (เซอร์ซีสที่หนึ่ง) ได้เริ่มเข้ารุกรานกรีซอีกคำรบหนึ่ง
-----------------------------
ภายใต้รัชสมัยของเซอร์ซีสที่หนึ่งนี้ กองทัพเปอร์เซียได้ยาตราลงทิศใต้ผ่านชายฝั่งตะวันออกของกรีซ โดยที่มีทัพเรือเปอร์เซียล่องประกบมาตลอดแนวฝั่ง หากแต่การจะไปถึงจุดหมายที่ Attica (แอตติก้า) อันเป็นแว่นแคว้นใต้การปกครองของนครรัฐเอเธนส์ได้นั้น กองทัพเปอร์เซียจำต้องเคลื่อนทัพผ่านช่องแคบริฝั่งของ Thermopylae (เธอร์โมพีเล) อันมีอีกชื่อหนึ่งว่า Hot Gates (ประตูแห่งความร้อน) จากแหล่งน้ำพุร้อนในบริเวณใกล้เคียง และในช่วงปลายฤดูร้อนปี 480 ก่อนคริสตกาลนี่เอง ที่ลีโอนีดัสได้นำกองทัพกรีซที่มีกำลังพลราว 6,000-7,000 นายจากหลายนครรัฐ ซึ่งก็รวมถึงนักรบสปาร์ตาจำนวน 300 รายเคลื่อนพลไปยับยั้งทัพเปอร์เซียไม่ให้ผ่านเธอร์โมพีเลไปได้เด็ดขาด
ลีโอนีดัสได้ตั้งกระบวนทัพของตนที่เธอร์โมพีเล โดยคาดการณ์ว่าด้วยเส้นทางอันคับแคบดังกล่าวจะเป็นการบีบให้ทัพเปอร์เซียไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากตรงเข้ามาปะทะกับทัพของตนเท่านั้น ซึ่งก็เป็นความจริงเช่นนั้น เพราะทัพกรีซสามารถต้านทานการจู่โจมจากทัพข้าศึกที่มีจำนวนมากกว่าเหลือคณานับได้เป็นเวลาสองวันเต็ม กระนั้น แม้ว่ายุทธศาสตร์ของลีโอนีดัสจะได้ผลในคราวแรก ลีโอนีดัสกลับคาดไม่ถึงว่ามีเส้นทางลับผ่านเทือกเขาฝั่งตะวันตกของเธอร์โมพีเลที่จะทำให้ทัพข้าศึกอ้อมผ่านปราการของตนไปได้ สาเหตุที่ทัพเซอร์ซีสทราบเส้นทางลับดังกล่าว ก็เพราะมีชาวกรีซที่บอกให้เซอร์ซีสทราบและนำพากองทัพเปอร์เซียเข้าเส้นทางดังกล่าวอย่างง่ายดาย จนทัพเปอร์เซียสามารถล้อมทัพกรีซได้สำเร็จ
ในคราวนั้นทหารของทัพกรีซจำนวนมากต่างล่าถอยและทิ้งศึก ไม่ยอมเผชิญหน้ากับทัพเปอร์เซียอันมีจำนวนมหาศาล เหลือเพียงทัพสปาร์ตา, ทัพ Thespiae (เธสพิเอ) และทัพ Thebes (ธีบส์) เท่านั้นที่ยืนหยัดต่อกรกับทัพเปอร์เซีย สุดท้าย ณ สถานที่แห่งนี้เองจึงเป็นสถานที่ทอดร่างทิ้งชีวิตของลีโอนีดัสและกองทัพสปาร์ตา 300 นายของเขาไปด้วยกัน รวมถึงพันธมิตรรายอื่นๆ ที่ยืนหยัดต่อสู้โดยไม่ถอยหนี ซึ่งหลังจากชนะศึกแล้วทัพเปอร์เซียก็ได้ทำการตัดศีรษะของลีโอนีดัสออกเพื่อทำการหยามเกียรติอย่างรุนแรง
----------------------------
การสละชีพของลีโอนีดัสและนักรบฮอปลีตของเขา ไม่ได้หยุดยั้งการยาตราทัพของเปอร์เซียเลย เพราะทัพเปอร์เซียสามารถเคลื่อนพลตามแนวชายฝั่งเข้าสู่ Boeotia (โบเอโอเทีย) ได้สำเร็จ อย่างไรก็ตาม ในเดือนกันยายนปี 480 ก่อนคริสตกาล ทัพเรือของเอเธนส์ก็สามารถเอาชนะทัพเปอร์เซียได้ใน Battle of Salamis (การศึกที่ซาลามิส) และความพ่ายแพ้ในครั้งนั้นก็บีบให้ทัพเปอร์เซียต้องยกทัพกลับในที่สุด ถึงกระนั้น การเสียสละของลีโอนีดัสก็ได้แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของสปาร์ตาที่ยอมสละตนเพื่อปกป้องดินแดนแคว้นของกรีซอย่างเต็มที่
ชื่อเสียงเกียรติภูมิของลีโอนีดัสนั้นเกริกไกรไม่รู้ลืมจากการสละตนดังกล่าว ซึ่งกรีซโบราณนั้นมีประเพณีในการบูชาวีรบุรุษมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาลเป็นต้นมา และสถานที่บูชาก็มักเป็นจุดที่ฝังร่างของวีรบุรุษเหล่านั้นในฐานะที่เป็นสื่อกลางระหว่างเทพเจ้าและมนุษย์ โดยสี่สิบปีหลังจากสิ้นสุดศึกที่เธอร์โมพีเลนั้น ชาวสปาร์ตาได้รวบรวมซากสังขารของลีโอนีดัส (หรืออย่างน้อยพวกเขาก็เชื่อแบบนั้น) และสร้างวิหารเพื่อเป็นเกียรติแด่ลีโอนีดัสในที่สุด
ที่มา
https://www.history.com/topics/ancient-history/leonidas
https://en.wikipedia.org/wiki/Cleomenes_I#Exile_and_death
xerxes 300 在 In the "300" movie, in the final battle, Why didn't Leonidas kill ... 的推薦與評價
Because Leonidas and Xerxes were actual historical figures that have well documented histories. Xerxes lived through the battle. ... <看更多>
xerxes 300 在 King Xerxes, 300 - Pinterest 的推薦與評價
King Xerxes, 300 Rodrigo Santoro, Sullivan Stapleton, 300 Movie, Movie Tv,. mayaglick. Maya G*. 3k followers. Follow. Rodrigo Santoro. King Xerxes, 300 ... ... <看更多>