【歷史上的今天 vs 推薦電影】480 BC -August-11 溫泉關戰役
.
【波希戰爭】Greco-Persian Wars
.
自公元前547年開始,波斯帝國征服愛奧尼亞、小亞細亞地區後,因為民族和語言的衝突而漸漸發生叛亂運動。雖然波斯最終平定叛亂,但仍希望能夠確保帝國安定而決定征服愛琴海地區的希臘。
.
自公元前492年,大流士一世進攻希臘,卻在馬拉松戰役遭雅典軍擊敗,第一次入侵失敗,大流士一世也在戰後去世;經過12年後,繼承王位的薛西斯一世,開始了第二次入侵,並與斯巴達和雅典所主導的希臘聯軍正面交鋒,最終也在陸海軍接連失利的情況下宣告失敗,希臘以寡敵眾跌破士人眼鏡。
.
.
【薛西斯一世】Xerxes I
.
公元前480年,波斯帝國國王薛西斯一世繼承父親大流士一世未完的志業,揮軍入侵希臘;有關薛西斯一世的傳奇故事相當多,據說大流士一世在第一次入侵希臘失敗後告誡薛西斯「希臘是個神才能摧毀的地方」,因此讓薛西斯自許為「神王」;在發動波斯第二次入侵希臘初期,船艦遭遇暴風雨侵襲後,命令部屬給他一個鞭子,讓他向大海鞭打咒罵,並命令以百艘軍艦並排讓大軍安穩渡過海峽。
.
.
【血戰溫泉關】The Hot Gate
.
薛西斯一世帶領了十萬大軍,從愛琴海北方沿著海岸揮軍南下,直搗巴爾幹半島南端的希臘核心地帶;大軍浩浩蕩蕩來到溫泉關隘口,與斯巴達領頭的精兵正面對決。溫泉關是個易守難攻的濱海隘口,雙方足足交戰三天,最終被希臘叛兵告密繞道而攻破。斯巴達戰士雖全數戰死,卻為海上的雅典海軍提供寶貴時間,為接下來的關鍵海戰取得勝利。
.
值得一提的是,許多傳說街主要歌頌300名戰死的斯巴達戰士,事實上除了斯巴達外仍有諸如曼提亞尼、特吉亞、科林斯、邁錫尼、底比斯、鐵斯匹亞等城邦加入,加上斯巴達的奴隸黑勞士,總計約6000名以上的士兵參戰。
.
.
【推薦電影】
《300壯士:斯巴達的逆襲》300, 2006
導演 查克史奈德
主演 傑哈巴特勒、琳娜海蓮
產地 美國
.
改編自美漫大師法蘭克米勒的同名圖像小說,描述斯巴達戰士英勇抵抗波斯帝國大軍的溫泉關戰役;電影畫面皆參考原著漫畫的構圖,大量的特效場景使本片在視覺成就上有著相當卓越的表現,也讓當年的查克史奈德導演一砲而紅。
.
值得一提的是,本片在史實上不免有誇大及加入許多虛構劇情,有將波斯帝國歷史妖魔化之嫌,而引發了部分中東國家不滿或抵制聲浪。
.
【這就是斯巴達!】This is Sparta!
電影中,飾演主角雷奧尼達一世的傑哈巴特勒,在拒絕波斯使者的條件並大叫「這就是斯巴達!」將波斯人一腳踹入井裡,成為本片的經典片段,也是後來許多電影致敬甚至諧仿的橋段。
.
這段丟井裡的劇情,在史詩中確實被記錄下來;大約在公元前490年,波斯王大流士一世攻打雅典與埃維厄兩城邦時,便要求希臘城邦獻上泥土與水表示臣服。而斯巴達人則回敬波斯使者,在井底可以找到很多,甚至還叫他們自己挖地道回波斯。
.
.
.
看完這則「歷史上的今天」你有什麼想法呢?
歡迎留言分享與我討論唷!
.
.
**************
歡迎加入【有梗電影俱樂部】,不錯過任何電影實體聚會與活動喔!
臉書社團(需回答問題審核):https://www.facebook.com/groups/viewpointmovieclub/
Telegram群組:https://t.me/viewpointmovieclub2
.
PODCAST - Firstory APP
📣 XXY:https://open.firstory.me/user/xxymovie
📣 What A MAXX!:https://open.firstory.me/user/whatamaxx
.
別忘了按讚追蹤XXY視覺動物
📣 XXY視覺動物 YouTube頻道 http://pcse.pw/9ZNYT
📣 XXY @Yahoo頁面 https://tw.tv.yahoo.com/xxy/
📣 IG:xxy_djfishmb
📣 XXY @方格子 https://vocus.cc/user/@XXY2018
.
.
#電影 #歷史 #點評 #影評 #知識 #解析 #movie #history #歷史上的今天 #溫泉關戰役 #波希戰爭 #斯巴達 #300壯士 #斯巴達的逆襲 #波斯 #希臘 #battleofthermopylae #thehotgate #sparta #greece #persian #grecopersianwars #薛西斯一世 #xerxes
xerxes i 在 Coolerist Facebook 的最佳貼文
รู้ไว้ไม่เสียหาย
Leonidas ราชา Sparta ในตำนาน
--------------------------------
Leonidas (ลีโอนีดัส) สิ่งที่ทำให้ชื่อนี้เป็นที่รู้จักในหมู่ชาวไทยขึ้นมาก็คงไม่พ้นภาพยนตร์ปี 2006 เรื่อง 300 ที่กำกับโดย Zack Snyder อันอ้างอิงมาจากคอมิคชื่อเดียวกันโดย Frank Miller และ Lynn Varley นั่นเอง ตัวเขานั้นเป็นราชาแห่งนครรัฐ Sparta (สปาร์ตา) ที่นำทัพนักรบชาวสปาร์ตา 300 นายร่วมกับตนเพื่อทำศึกต้านกองทัพเปอร์เซีย จนต้องพลีชีพใต้น้ำมือของทัพเปอร์เซียกันไปทุกราย ซึ่งประวัติของเขานั้นปรากฏอยู่ในบันทึกของนักประวัติศาสตร์ชาวกรีกที่ชื่อ Herodotus (เฮโรโดตุส) ครับ
สำหรับ Assassin’s Creed: Odyssey ซึ่งเป็นภาคล่าสุดของซีรีส์ ก็ได้นำเอาแง่มุมทางประวัติศาสตร์ในส่วนนี้มาใช้เช่นกัน โดยหยิบจับเอาความคลุมเครือของชีวประวัติวีรบุรุษ/วีรสตรีในบันทึกดังกล่าวของเฮโรโดตุสที่มีความคลุมเครือมาให้ผู้เล่นได้เลือกว่าต้องการจะรับบทเป็นนักรบชายหรือนักรบหญิงนั่นเอง และไม่เพียงเท่านั้นเพราะตัวเอกประจำภาคอย่าง Alexios (อเล็กซิออส) หรือ Kassandra (คาสซานดร้า) ก็สืบเชื้อสายมาจากลีโอนีดัสและได้รับสืบทอดปลายหอกชำรุดของลีโอนีดัสที่เป็นหนึ่งใน Isu Artifact มาด้วย
ด้วยเหตุนี้ เราเลยอยากมาขอนำเสนอประวัติโดยคร่าวๆ ของลีโอนีดัสผู้มีบทบาทเบื้องหลังในเกมภาคนี้ให้ได้อ่านกันครับ
----------------------------
ลีโอนีดัสนั้นเป็นบุตรชายของราชาแห่งสปาร์ตานั่นคือ Anaxandrides (อนาซันไดรดีส) โดยลีโอนีดัสขึ้นครองบัลลังก์ต่อจากพี่ชายต่างมารดาของตนนั่นคือ Cleomenes I (คลีโอมีนีสที่หนึ่ง) เสียชีวิตในปีที่ 490 ก่อนคริสตกาลโดยหาได้มีทายาทชายแต่อย่างใด ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตนั้น บันทึกกล่าวไว้ว่าในปีนั้นคลีโอมีนีสจำต้องหลบหนีออกไปจากสปาร์ตาเนื่องจากตนวางแผนลอบสังหาร Demaratus (ดีมาราตุส) ผู้เป็นราชาที่ครองบัลลังก์ร่วมกับตน ทว่าภายหลังจากที่คลีโอมีนีสเริ่มรวบรวมสรรพกำลังในบริเวณใกล้เคียงได้ ชาวสปาร์ตาก็ยินยอมให้คลีโอมีนีสกลับเข้าเมืองอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตามบันทึกของเฮโรโดตุสระบุเอาไว้ว่า ในคราวนั้นคลีโอมีนีสได้มีสภาวะเสียสติไปเสียแล้ว เมื่อเป็นเช่นนี้ลีโอนีดัสผู้เป็นพี่น้องจึงได้ออกคำสั่งให้จองจำคลีโอมีนีสเสีย และไม่นานนักคลีโอมีนีสก็ถูกพบเป็นศพอยู่ในห้องคุมขังและสาเหตุการตายก็ถูกลงความเห็นว่าเป็นการทำอัตวินิบาตกรรมไปโดยปริยาย
เมื่อขึ้นครองบัลลังก์แล้ว ลีโอนีดัสก็เป็นทั้งผู้นำทางการทหารรวมถึงผู้นำทางการเมือง ซึ่งก็แน่นอนว่าเขาได้รับการฝึกฝนทั้งกายและจิตใจตั้งแต่ยังเยาว์วัยเฉกเช่นเดียวกับพลเมืองสปาร์ตาผู้อื่นเพื่อเติบโตเป็นนักรบ Hoplite (ฮอปลีต) ฝีมือฉกาจ นักรบฮอปลีตนั้นเข้าสู่สมรภูมิโดยโล่ทรงกลม, หอกยาวและดาบสั้น แต่พวกเขามีชื่อเสียงจากชบวนรบ Phalanx (แฟแลงซ์) อันโด่งดัง ที่ซึ่งเหล่านักรบฮอปลีตจะยืนเคียงข้างกันให้โล่ประชิดติดซ้อนกันประหนึ่งกำแพง และเมื่อใดที่ข้าศึกโจมตีจากด้านหน้า กำแพงโล่ก็จะคอยปกป้องเหล่านักรบได้อย่างดีเยี่ยม หากแต่ถ้าขบวนรบดังกล่าวแตกลงเมื่อใดหรือหากข้าศึกจู่โจมจากด้านข้างหรือด้านหลัง ก็จะมีโอกาสแตกพ่ายในทันที
-------------------------------
กรีซโบราณนั้นประกอบไปด้วยนครรัฐต่างๆ มากมายนับร้อย แต่นครรัฐที่ทรงอำนาจมากที่สุดในขณะนั้น Athens (เอเธนส์) และสปาร์ตานี่เอง หากแต่แม้ว่าบรรดานครรัฐเหล่านี้จะปะทะกันเองอยู่เป็นนิจเพื่อแย่งชิงดินแดนและทรัพยากร เมื่อยามที่กองทัพภายนอกเข้ารุกรานเมื่อใดพวกเขาก็จะจับมือกันเพื่อร่วมต้านศึกทันที ซึ่งในช่วงต้นของศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลนี่เอง ทัพ Persia (เปอร์เซีย) ได้พยายามเข้ารุกรานกรีซถึงสองครั้งสองครา ในปี 490 ก่อนคริสตกาล กษัตริย์แห่งเปอร์เซียในขณะนั้นคือ Darius I (ดาริอุสที่หนึ่ง) ได้ริเริ่มก่อการรุกรานที่เรียกขานกันว่า First Persian War (สงครามเปอร์เซียครั้งแรก) ทว่าทัพผสมของกรีซได้ขับไล่ทัพเปอร์เซียได้สำเร็จใน Battle of Marathon (การศึกที่มาราธอน) จากนั้นสิบปีต่อมา ในช่วง Second Persian War (สงครามเปอร์เซียครั้งที่สอง) หนึ่งในบุตรชายของดาริอุสนั่นคือ Xerxes I (เซอร์ซีสที่หนึ่ง) ได้เริ่มเข้ารุกรานกรีซอีกคำรบหนึ่ง
-----------------------------
ภายใต้รัชสมัยของเซอร์ซีสที่หนึ่งนี้ กองทัพเปอร์เซียได้ยาตราลงทิศใต้ผ่านชายฝั่งตะวันออกของกรีซ โดยที่มีทัพเรือเปอร์เซียล่องประกบมาตลอดแนวฝั่ง หากแต่การจะไปถึงจุดหมายที่ Attica (แอตติก้า) อันเป็นแว่นแคว้นใต้การปกครองของนครรัฐเอเธนส์ได้นั้น กองทัพเปอร์เซียจำต้องเคลื่อนทัพผ่านช่องแคบริฝั่งของ Thermopylae (เธอร์โมพีเล) อันมีอีกชื่อหนึ่งว่า Hot Gates (ประตูแห่งความร้อน) จากแหล่งน้ำพุร้อนในบริเวณใกล้เคียง และในช่วงปลายฤดูร้อนปี 480 ก่อนคริสตกาลนี่เอง ที่ลีโอนีดัสได้นำกองทัพกรีซที่มีกำลังพลราว 6,000-7,000 นายจากหลายนครรัฐ ซึ่งก็รวมถึงนักรบสปาร์ตาจำนวน 300 รายเคลื่อนพลไปยับยั้งทัพเปอร์เซียไม่ให้ผ่านเธอร์โมพีเลไปได้เด็ดขาด
ลีโอนีดัสได้ตั้งกระบวนทัพของตนที่เธอร์โมพีเล โดยคาดการณ์ว่าด้วยเส้นทางอันคับแคบดังกล่าวจะเป็นการบีบให้ทัพเปอร์เซียไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากตรงเข้ามาปะทะกับทัพของตนเท่านั้น ซึ่งก็เป็นความจริงเช่นนั้น เพราะทัพกรีซสามารถต้านทานการจู่โจมจากทัพข้าศึกที่มีจำนวนมากกว่าเหลือคณานับได้เป็นเวลาสองวันเต็ม กระนั้น แม้ว่ายุทธศาสตร์ของลีโอนีดัสจะได้ผลในคราวแรก ลีโอนีดัสกลับคาดไม่ถึงว่ามีเส้นทางลับผ่านเทือกเขาฝั่งตะวันตกของเธอร์โมพีเลที่จะทำให้ทัพข้าศึกอ้อมผ่านปราการของตนไปได้ สาเหตุที่ทัพเซอร์ซีสทราบเส้นทางลับดังกล่าว ก็เพราะมีชาวกรีซที่บอกให้เซอร์ซีสทราบและนำพากองทัพเปอร์เซียเข้าเส้นทางดังกล่าวอย่างง่ายดาย จนทัพเปอร์เซียสามารถล้อมทัพกรีซได้สำเร็จ
ในคราวนั้นทหารของทัพกรีซจำนวนมากต่างล่าถอยและทิ้งศึก ไม่ยอมเผชิญหน้ากับทัพเปอร์เซียอันมีจำนวนมหาศาล เหลือเพียงทัพสปาร์ตา, ทัพ Thespiae (เธสพิเอ) และทัพ Thebes (ธีบส์) เท่านั้นที่ยืนหยัดต่อกรกับทัพเปอร์เซีย สุดท้าย ณ สถานที่แห่งนี้เองจึงเป็นสถานที่ทอดร่างทิ้งชีวิตของลีโอนีดัสและกองทัพสปาร์ตา 300 นายของเขาไปด้วยกัน รวมถึงพันธมิตรรายอื่นๆ ที่ยืนหยัดต่อสู้โดยไม่ถอยหนี ซึ่งหลังจากชนะศึกแล้วทัพเปอร์เซียก็ได้ทำการตัดศีรษะของลีโอนีดัสออกเพื่อทำการหยามเกียรติอย่างรุนแรง
----------------------------
การสละชีพของลีโอนีดัสและนักรบฮอปลีตของเขา ไม่ได้หยุดยั้งการยาตราทัพของเปอร์เซียเลย เพราะทัพเปอร์เซียสามารถเคลื่อนพลตามแนวชายฝั่งเข้าสู่ Boeotia (โบเอโอเทีย) ได้สำเร็จ อย่างไรก็ตาม ในเดือนกันยายนปี 480 ก่อนคริสตกาล ทัพเรือของเอเธนส์ก็สามารถเอาชนะทัพเปอร์เซียได้ใน Battle of Salamis (การศึกที่ซาลามิส) และความพ่ายแพ้ในครั้งนั้นก็บีบให้ทัพเปอร์เซียต้องยกทัพกลับในที่สุด ถึงกระนั้น การเสียสละของลีโอนีดัสก็ได้แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของสปาร์ตาที่ยอมสละตนเพื่อปกป้องดินแดนแคว้นของกรีซอย่างเต็มที่
ชื่อเสียงเกียรติภูมิของลีโอนีดัสนั้นเกริกไกรไม่รู้ลืมจากการสละตนดังกล่าว ซึ่งกรีซโบราณนั้นมีประเพณีในการบูชาวีรบุรุษมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาลเป็นต้นมา และสถานที่บูชาก็มักเป็นจุดที่ฝังร่างของวีรบุรุษเหล่านั้นในฐานะที่เป็นสื่อกลางระหว่างเทพเจ้าและมนุษย์ โดยสี่สิบปีหลังจากสิ้นสุดศึกที่เธอร์โมพีเลนั้น ชาวสปาร์ตาได้รวบรวมซากสังขารของลีโอนีดัส (หรืออย่างน้อยพวกเขาก็เชื่อแบบนั้น) และสร้างวิหารเพื่อเป็นเกียรติแด่ลีโอนีดัสในที่สุด
ที่มา
https://www.history.com/topics/ancient-history/leonidas
https://en.wikipedia.org/wiki/Cleomenes_I#Exile_and_death
xerxes i 在 古典好好聽 Classicalmusic to go Facebook 的最佳貼文
綠樹常廕是一首好聽的歌曲,聽習慣了歌唱版本,用管風琴演奏也非常好聽!