กรณีศึกษา Lenovo ทำอย่างไร ให้เป็นผู้นำตลาด PC ของไทย และของโลก
Lenovo Thailand x ลงทุนแมน
ผู้ที่ครองส่วนแบ่งตลาด จำนวนการส่งมอบ PC อันดับ 1 ของโลก ในปี 2020 ที่ผ่านมา
คือ Lenovo ที่ครองส่วนแบ่งตลาดอยู่ที่ 23.8%
และสำหรับในประเทศไทยในปีที่ผ่านมา
Lenovo ก็สามารถครองส่วนแบ่งตลาด PC อันดับ 1 ได้ด้วยเช่นกัน
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ลงทุนแมนมีโอกาสได้พูดคุยกับ6
คุณวรพจน์ ถาวรวรรณ ผู้จัดการทั่วไป Lenovo ประจำพม่า ลาว กัมพูชา และผู้อำนวยการส่วนธุรกิจคอนซูเมอร์ของ Lenovo ในไทย ถึงเคล็ดลับและกลยุทธ์การทำธุรกิจของ Lenovo
Lenovo ทำอย่างไร ให้เป็น ผู้นำตลาด PC ของไทยและของโลก ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
ถ้าลองไปเปิดดูผลประกอบการปีที่ผ่านมาของ Lenovo
จะเห็นว่าบริษัททำรายได้รวมเติบโต 20% กำไรสุทธิเติบโต 77%
และถ้าหากมาโฟกัสที่ไตรมาสล่าสุด
Lenovo ทำรายได้เติบโต 48% และกำไรสุทธิเติบโตถึง 512%
ลงทุนแมนถามคุณวรพจน์ด้วยคำถามแรกว่า
การเติบโตของตลาดคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊กส่วนบุคคลในไทย รวมไปถึงในพม่า ลาว กัมพูชา ที่คุณวรพจน์ เป็นผู้ดูแล เติบโตดีแค่ไหน เมื่อเทียบกับผลประกอบการภาพรวมของ Lenovo ?
คุณวรพจน์ ถาวรวรรณ ตอบด้วยตัวเลขที่บอกเราว่า “เติบโตได้ดีมาก ๆ สอดคล้องกับภาพรวม”
ในส่วน พม่า ลาว กัมพูชา ในส่วน Personal Computer และ Smart Devices (PCSD) ที่คุณวรพจน์ ดูแลนั้น รายได้เติบโตเป็นตัวเลขสองหลัก เป็นที่น่าพอใจเป็นอย่างมาก
ส่วนการเติบโตในประเทศไทยในส่วนของคอมพิวเตอร์เพื่อการใช้งานส่วนบุคคลในปีที่ผ่านมานั้นก็สอดคล้องกับการเติบโตของ Lenovo ทั่วโลก
กล่าวสรุปคือ เป็นปีที่ Lenovo มีการเติบโตทั่วโลกรวมถึงในไทย
จากสถิติของ IDC สำหรับไตรมาสที่ 1 ปี 2021 Lenovo ยังครองส่วนแบ่งตลาด จำนวนส่งมอบ PC อันดับ 1 ของโลกที่ 24.3%
คำถามต่อมาคือ กลยุทธ์อะไรที่ทำให้สินค้าของ Lenovo เหนือกว่าแบรนด์อื่น ?
คุณวรพจน์อธิบายว่า Lenovo ใช้กลยุทธ์ที่เข้าใจได้ง่ายแต่ลึกซึ้งนั่นคือ เรารับฟังความต้องการของลูกค้าอยู่ตลอดเวลา และเรานำความต้องการของลูกค้ามาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์
ซึ่งหากจะพูดในภาษาของการตลาดก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็นแบบ “Inclusive Marketing” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการตลาดยุคใหม่ล่าสุด หรือ Marketing 5.0
คำว่า Inclusive คือต้องเข้าใจความต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริงแล้ว ต้องเน้นให้ลูกค้ามีส่วนร่วม อย่างเช่น ลูกค้าฟีดแบ็กมาว่าอยากให้มีเทคโนโลยีอะไรใหม่ ๆ เพิ่มเติมขึ้นมาในสินค้า เราก็นำโจทย์ตรงนั้น มาพัฒนาให้เป็นนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ใช้งานได้จริง เพื่อให้มาตอบโจทย์ความต้องการเหล่านั้น
และคำว่า Inclusive ที่ว่านี้ ไม่ได้เจาะจงแค่สนใจใครคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น
แต่ให้ความสำคัญกับผู้ใช้งานทุกกลุ่ม ตามวิสัยทัศน์ที่ Lenovo ตั้งไว้ว่า “Smarter Technology for All”
เรามีทีมที่ดูแลในแต่ละประเทศ ที่คอยรับฟังฟีดแบ็ก และทำความเข้าใจตลาดของแต่ละประเทศอย่างลึกซึ้ง
อีกทั้งยังเน้นการทำงานร่วมกับพาร์ตเนอร์ในแต่ละประเทศอย่างเข้มแข็ง ซึ่งทำให้ Lenovo สามารถนำเสนอสินค้าได้ตรงตามความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี
นอกจากนี้ กลุยุทธ์อีกอย่างที่สำคัญคือการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง คือ Lenovo ทุ่มเทและให้ความสำคัญอย่างมาก กับเรื่องการวิจัยพัฒนา (R&D)
ในปีงบประมาณ 2019/2020 Lenovo ลงงบประมาณในส่วน R&D สูงถึง 42,000 ล้านบาท โดยทางบริษัทมี 15 ศูนย์วิจัยพัฒนาทั่วโลก และมีพนักงานกว่า 3,200 คน ดูแลในส่วนนี้โดยเฉพาะ
ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นกลยุทธ์ในภาพรวม ที่ทำให้ Lenovo ยืนหนึ่งในตลาดนี้ได้
ลงทุนแมนถามต่อว่า ผู้บริโภคยุคนี้มีความต้องการหลากหลายมาก
บางคนต้องการ PC ไปทำงาน บางคนต้องการไปดูหนัง ฟังเพลง บางคนเอาไปเล่นเกม ตรงนี้ Lenovo มีกลยุทธ์ไปจับความต้องการที่แตกต่างเหล่านั้นอย่างไรบ้าง ?
คุณวรพจน์บอกว่า Lenovo นำเทคโนโลยีที่พัฒนา มานำเสนอเป็นสินค้าและบริการที่หลากหลายออกสู่ตลาด ซึ่งก็เพื่อมาจับความต้องการของลูกค้าที่มีหลากหลายในยุคปัจจุบัน
ยกตัวอย่างเช่น
- ซีรีส์ “IdeaPad” ที่นำเสนอออกมาเพื่อเจาะตลาดกลุ่มเริ่มต้น ที่ทั้งใช้ทำงานและใช้งานทั่วไป อย่างเช่น ดูหนัง ฟังเพลง ซึ่งกลุ่มนี้ถือเป็นฐานลูกค้าที่ใหญ่ที่สุด
- ซีรีส์ “Yoga” ที่ถูกนำเสนอเป็นโน้ตบุ๊กกลุ่มพรีเมียม มีนวัตกรรมล้ำ ๆ เช่น จอที่พับได้องศากว้าง ตอบโจทย์กลุ่มทำงานและกลุ่มใช้งานทั่วไประดับสูง ที่ต้องการความยืดหยุ่น รูปลักษณ์ดีไซน์ที่แสดงออกถึงความเป็นตัวตนของแต่ละบุคคล มีลูกเล่นเยอะ และมีเทคโนโลยีล้ำ ๆ
- โน้ตบุ๊กเกมมิง อย่างซีรีส์ “Legion” ที่เน้นให้ประสบการณ์ในการเล่นเกมสูงสุด มีสเปกการใช้งานที่คุ้มราคา และมีเทคโนโลยีที่ซัปพอร์ตการเล่นเกมให้ลื่นไหลอย่างเต็มที่
- Desktop ตั้งโต๊ะ IdeaCentre สำหรับผู้ที่ต้องการคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่สามารถใช้งานได้ร่วมกันทั้งครอบครัว มีดีไซน์ที่สวยงาม ไม่เทอะทะ
โดยนอกจากไลน์ผลิตภัณฑ์ที่ครอบคลุมความต้องการที่แตกต่างแล้ว Lenovo ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใส่ไว้ในผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับประสบการณ์การใช้งานของผู้บริโภค
ยกตัวอย่างเช่น
- เทคโนโลยี Presence Detection with Zero touch Login หรือการสแกนใบหน้าผ่าน Web Camera เพื่อปลดล็อกเครื่อง และล็อกเครื่องอัตโนมัติเมื่อผู้ใช้เดินออกไปจากบริเวณหน้าจอ
- เทคโนโลยี Lenovo Q-Control ซึ่งใช้ AI มาช่วยเรื่องการจัดการพลังงานให้เหมาะสมกับการใช้งาน
- เทคโนโลยี Privacy Shutter ที่เป็นฝาครอบเพื่อเปิดปิด Web Camera ป้องกันการถูกแอบถ่าย ให้ความเป็นส่วนตัว
และยังมีเทคโนโลยีที่เน้นเรื่องสุขภาพของผู้ใช้ อาทิ
เทคโนโลยี Lenovo Aware ที่ช่วยมอนิเตอร์ท่านั่งให้ถูกตามหลักสรีระ และแจ้งเตือนถ้าเรานั่งผิดท่า หรือนั่งใกล้หน้าจอเกินไป
นอกจากนี้ยังมอนิเตอร์เวลาใช้เครื่อง มอนิเตอร์ความสนใจ
มีเทคโนโลยี Eye Care ที่ช่วยลดแสงสีฟ้าจากหน้าจอ, Noise Cancellation ช่วยลดเสียงรบกวน ซึ่งชัดเจนว่าเทคโนโลยีนี้ออกแบบมาเพื่อผู้ใช้ในปัจจุบัน ตอบโจทย์คุณพ่อคุณแม่ที่ลูก ๆ ต้องเรียนออนไลน์
คำถามต่อมาคือ ตลาด PC ในอนาคตต่อจากนี้ จะยังเติบโตได้ดีอีกไหม ?
คุณวรพจน์มองว่า Lenovo จะยังคงเติบโตได้ดีต่อไปเนื่องจาก PC ได้กลายเป็น Commodity product ซึ่งทุกคนต้องใช้ในชีวิตประจำวันไปแล้ว ยิ่งไปกว่านั้นทางศูนย์วิจัยของ Lenovo มีการวิเคราะห์และคาดการณ์พฤติกรรมของผู้คนในอีก 3-5 ปีข้างหน้าแล้ว ว่าจะเกิดอะไรขึ้น แล้วนำผลที่ได้ มาออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์และบริการที่จะนำเสนอในอนาคต
อย่างเช่น เทรนด์การใช้งาน 5G และ Wi-Fi 6 ที่จะมาพร้อมกันกับพฤติกรรมคนที่จะยิ่งใจร้อนขึ้น ต้องการการบริการที่ปัจจุบันทันด่วนมากขึ้นกว่าเดิม
เพราะฉะนั้นวิธีการนำเสนอสินค้าก็ต้องตอบโจทย์กลุ่มนี้ในอนาคต และต้องมีการพัฒนาบริการหลังการขายให้ดีขึ้น รวดเร็วขึ้น ไม่ให้ผู้บริโภคต้องรอนานหากเกิดปัญหา
คุณวรพจน์เชื่อว่า Lenovo เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคที่ต้องการอะไรอยู่ตลอดเวลา และพัฒนาสินค้า บริการใหม่ ๆ มานำเสนอให้ตรงจุด ซึ่งก็จะทำให้ Lenovo สามารถเติบโตได้ดีต่อไปเรื่อย ๆ ในอนาคต
คำถามต่อมาคือ Lenovo มีการออกแบบและจัดการบริการหลังการขาย รวมถึงเรื่องรับประกันคุณภาพสินค้าอย่างไรให้ตรงต่อความต้องการของผู้บริโภคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ?
ประการแรก: Lenovo ในส่วนของกลุ่มผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้งานทั่วไป หรือที่เราเรียกว่ากลุ่มผลิตภัณฑ์คอนซูเมอร์ นั้นมีการรับประกันที่เราเรียกว่า Premium Care
ซึ่ง Premium Care เป็นบริการหลังการขาย เช่น รับประกันสินค้าอย่างต่ำ 3 ปี เพื่อให้ผู้ใช้งานมั่นใจในคุณภาพของสินค้า และใช้งานสินค้าได้อย่างอุ่นใจเป็นเวลานาน ๆ โดยเราจะมีช่างเทคนิคผู้มีความรู้คอยเป็นผู้ตอบคำถามถ้าลูกค้าต้องการโทรปรึกษาข้อมูลตลอด 24 ชั่วโมง และตลอด 7 วัน
ประการที่สอง: Lenovo มีการรับประกันอุบัติเหตุ หรือ Accidental Damage Protection (ADP) ให้ตั้งแต่เครื่องที่ราคาหมื่นต้น ๆ ขึ้นไป
ประการที่สาม: บางรุ่นจะมีบริการ Next Business Day เช่น โทรเข้ามาแจ้งความผิดปกติของเครื่องในเช้าวันจันทร์ จะมีทีมงานเข้าไปดูแลถึงที่อย่างเร็วที่สุดภายในเย็นวันอังคาร
ประการที่สี่: มีซอฟต์แวร์ “Lenovo Vantage” ที่เอาไว้ช่วยประเมินอาการเสียหายเบื้องต้น ซึ่งซอฟต์แวร์ตัวนี้ ช่วยยกระดับการบริการหลังการขายให้ดีขึ้น เพราะจะทำให้ทีมบริการหลังการขายหรือผู้ใช้งานเอง ทราบอาการเบื้องต้นได้ทันทีเมื่อเช็กผ่านซอฟต์แวร์
นอกจากนั้น สำหรับโน้ตบุ๊กเกมมิงอย่างซีรีส์ Legion
Lenovo ก็มีบริการหลังการขาย Legion Ultimate Support
ที่มีคอลเซนเตอร์ที่เป็น Gamer Engineer คอยให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง สามารถช่วยแก้ปัญหาการใช้งานเบื้องต้นสำหรับโน้ตบุ๊กเกมมิงได้ทันที ไม่ต้องรับเรื่องไว้แล้วไปประสานงานต่อ
คำถามสุดท้ายคือ Lenovo มีแผนจะทำอะไรใหม่ ๆ ในอนาคตอีกบ้าง ?
ทางคุณวรพจน์และ Lenovo เชื่อว่า อีกไม่เกิน 5 ปี ทุกอย่างจะเชื่อมต่อเข้าด้วยกันแบบไร้รอยต่อ ซึ่งจะทำให้ Smart Home กลายเป็นเรื่องพื้นฐานของแต่ละครัวเรือนมากขึ้น และจะเป็นเมกะเทรนด์ในอนาคต
เรากำลังเข้าสู่ยุค Data Driven Society ซึ่งเมื่อรวมกับพฤติกรรมผู้บริโภคแบบปัจจุบันทันด่วนขึ้น เทคโนโลยีก็ต้องรวดเร็วทันใจ
ไม่ว่าจะเป็นการรองรับ 5G หรือ Wi-Fi 6 ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่บ้าน
หรือคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊ก ที่ใช้ AI มาวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมาก เพื่อเสริมศักยภาพให้การใช้งานของผู้ใช้ เพราะสังคมทุกวันนี้ข้อมูลมันเยอะกว่าสมัยก่อนมาก และแน่นอนว่าจะมากขึ้นไปเรื่อย ๆ
นั่นจึงเป็นที่มาให้ Lenovo กำลังจะนำเสนอดีไวซ์และโซลูชันเหล่านี้มากขึ้น ในอนาคต
ขณะที่คอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊ก ก็จะเป็นอุปกรณ์พื้นฐาน
ซึ่งคนจะเลือกจากความน่าเชื่อถือของแบรนด์ มีเทคโนโลยีที่ครบ และบริการหลังการขายที่ตอบโจทย์
ในอนาคต Lenovo ตั้งใจจะมีพื้นที่รับฟังลูกค้าที่มากขึ้น
เพื่อฟังความเห็น รับฟีดแบ็กและข้อแนะนำให้เต็มที่
เพราะฟีดแบ็ก ข้อแนะนำ และคำติชม คือสิ่งมีค่าที่สุด ที่บริษัทสามารถนำไปพัฒนาแล้วต่อยอดออกมาเป็นสินค้าและบริการที่ตอบความต้องการของผู้ใช้งานต่อไปได้
เรากำลังเข้าสู่ยุคที่ข้อมูลขับเคลื่อนโลกและสังคม
ยุคที่คนต้องการคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊ก ที่มีประสิทธิภาพที่สุดมาใช้
ยุคที่คนต้องการการบริการที่รวดเร็ว ไม่เชื่องช้า
ยุคที่ข้อมูลและทุกสิ่งทุกอย่าง จะเชื่อมต่อเข้าด้วยกันแบบไร้รอยต่อ
ยุคที่ต่อไปเราจะคุ้นชินกับ Smart Home และ Smart Devices
ซึ่งแน่นอนว่า Lenovo ก็มีความพร้อมเต็มที่
ที่จะเดินหน้าพัฒนา และนำเสนอสินค้าและบริการ
ให้มาตอบโจทย์ความต้องการต่าง ๆ เหล่านั้น ในอนาคต..
References
- https://investor.lenovo.com/en/publications/reports.php
- https://www.statista.com/statistics/255283/lenovos-rundd-expenditure/
- https://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS47601721
- บทสัมภาษณ์ คุณวรพจน์ ถาวรวรรณ ผู้จัดการทั่วไป Lenovo ประจำพม่า ลาว กัมพูชา และผู้อำนวยการส่วนธุรกิจคอนซูเมอร์ของ Lenovo ไทย โดยเพจลงทุนแมน
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過498的網紅PHIL CHEN,也在其Youtube影片中提到,Privacy is a fundamental pillar of our society. The advertisement-based model of our internet is a threat to our freedom. Phil and Göran discuss why ...
「data protection data privacy」的推薦目錄:
- 關於data protection data privacy 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於data protection data privacy 在 台灣物聯網實驗室 IOT Labs Facebook 的精選貼文
- 關於data protection data privacy 在 TPIsoftware Global Facebook 的最佳解答
- 關於data protection data privacy 在 PHIL CHEN Youtube 的精選貼文
- 關於data protection data privacy 在 Edwin H. Youtube 的最讚貼文
- 關於data protection data privacy 在 General Data Protection Regulation (GDPR) | Meta for Business 的評價
data protection data privacy 在 台灣物聯網實驗室 IOT Labs Facebook 的精選貼文
AI 助陣醫學、防疫,個人隱私難兩全?
2021/06/09 研之有物
規範不完備是臺灣個資保護的一大隱憂,《個資法》問世遠早於 AI 時代、去識別化定義不清、缺乏獨立專責監管機構,都是當前課題。
評論
本篇來自合作媒體研之有物,作者周玉文、黃曉君,INSIDE 經授權轉載。
AI 醫療、科技防疫的人權爭議
健康大數據、人工智慧(AI)已經成為醫療研發的新聖杯,新冠肺炎(COVID-19)更將 AI 技術推上防疫舞臺,各國紛紛串聯大數據監控足跡或採用電子圍籬。但當科技防疫介入公衛醫療,我們是否在不知不覺中讓渡了個人隱私?
中研院歐美研究所副研究員何之行認為,規範不完備是臺灣個資保護的一大隱憂,《個資法》問世遠早於 AI 時代、去識別化定義不清、缺乏獨立專責監管機構,都是當前課題。
「天網」恢恢,公衛醫療的新利器
自 2020 年新冠疫情大爆發,全世界為了因應危機展開大規模協作,從即時統計看板、預測病毒蛋白質結構、電子監控等,大數據與 AI 技術不約而同派上用場。但當數位科技介入公共衛生與醫療健康體系,也引發人權隱私的兩難爭議。
2020 年的最後一夜,臺灣再次出現本土案例。中央流行疫情指揮中心警告,居家隔離、居家檢疫、自主健康管理的民眾,都不應參加大型跨年活動。而且,千萬別心存僥倖,因為「天網」恢恢,「我們能找得到您」!有天網之稱的電子圍籬 2.0 出手,許多人拍手叫好,但也挑起國家進行隱私監控的敏感神經。
隱私爭議不只在防疫戰場,另一個例子是近年正夯的精準醫療。2021 年 1 月,《經濟學人》(The Economist)發布亞太區「個人化精準醫療發展指標」(Personalised-health-index)。臺灣勇奪亞軍,主要歸功於健全的健保、癌症資料庫及尖端資訊科技。
國際按讚,國內反應卻很兩極。早前曾有人質疑「個人生物資料」的隱私保障,擔憂是否會成為藥廠大數據;但另一方面,部分醫療研究者卻埋怨《個人資料保護法》(簡稱《個資法》)很嚴、很卡,大大阻擋了醫學研發。為何國內反應如此分歧?
中研院歐美所副研究員何之行認為,原因之一是,
《個資法》早在 2012 年就實施,跑在 AI 時代之前,若僅僅仰賴現行規範,對於新興科技的因應恐怕不合時宜。
健保資料庫爭議:誰能再利用我們的病歷資料?
來看看曾喧騰一時的「健保資料庫訴訟案」。
2012 年,臺灣人權促進會與民間團體提出行政訴訟,質疑政府沒有取得人民同意、缺少法律授權,逕自將健保資料提供給醫療研究單位。這意味,一般人完全不知道自己的病例被加值運用,侵害了資訊自主權。案件雖在 2017 年敗訴,但已進入大法官釋憲。
民間團體批評,根據《個資法》,如果是原始蒐集目的之外的再利用,應該取得當事人同意。而健保資料原初蒐集是為了稽核保費,並非是提供醫學研究。
但支持者則認為,健保資料庫是珍貴的健康大數據,若能串接提供學術與醫療研究,更符合公共利益。此外,如果過往的數據資料都必須重新尋求全國人民再同意,相關研發恐怕得被迫踩剎車。
種種爭議,讓醫學研究和資訊隱私之間的紅線,顯得模糊而舉棋不定。何之行指出,「個人權利」與「公共利益」之間的權衡拉鋸,不僅是長久以來政治哲學家所關心的課題,也反映了現代公共衛生倫理思辨的核心。
我們有權拒絕提供資料給醫療研究嗎?當精準醫療的腳步飛也似向前奔去,我們要如何推進醫學科技,又不棄守個人的隱私權利呢?
「精準醫療」與「精準健康」是近年醫學發展的重要趨勢,透過健康大數據來評估個人健康狀況,對症下藥。但健康資料涉及個人隱私,如何兼顧隱私與自主權,成為另一重要議題。
去識別化爭點:個資應該「馬賽克」到什麼程度?
何之行認為,「健保資料庫爭議」短期可以從幾項原則著手,確立資料使用標準,包括:允許退出權(opt-out)、定義去識別化(de-identification)。
「去識別化」是一道安全防護措施。簡單來說:讓資料不會連結、辨識出背後真正的那個人。何之行特別分享 Google 旗下人工智慧研發公司 DeepMind 的慘痛教訓。
2017 年,DeepMind 與英國皇家醫院(Royal Free)的協定曝光,DeepMind 從後者取得 160 萬筆病歷資料,用來研發診斷急性腎衰竭的健康 APP。聽來立意良善的計畫,卻引發軒然大波。原因是,資料分享不僅未取得病患同意,也完全沒有將資料去識別化,每個人的病史、用藥、就醫隱私全被看光光!這起爭議無疑是一大教訓,重創英國社會對於開放資料的信任。
回到臺灣脈絡。去識別化指的是以代碼、匿名、隱藏部分個資或其他方式,無從辨識特定個人。但要達到什麼樣的隱匿保護程度,才算是無從識別特定個人?
何之行指出,個資法中的定義不甚清楚,混用匿名化(anonymous)、假名化(pseudonymised)、去連結(delink)等規範程度不一的概念。臺灣也沒有明確定義去識別化標準,成為爭點。
現行法令留下了模糊空間,那麼他山之石是否能提供參考?
以美國《健康照護可攜法案》(HIPAA)為例,法案訂出了去除 18 項個人識別碼,作為去識別化的基準;歐盟《一般資料保護規則》則直接說明,假名化的個資仍然是個人資料。
退出權:保留人民 say NO 的權利
另一個消解爭議的方向是:允許退出權,讓個人保有退出資料庫的權利。即使健保資料並沒有取得民眾事前(opt-in)的同意,但仍可以提供事後的退出選項,民眾便有機會決定,是否提供健康資料做學術研究或商業運用。
何之行再舉英國國民健保署 NHS 做法為例:英國民眾有兩階段選擇退出中央資料庫 (NHS Digital)的機會,一是在一開始就拒絕家庭醫師將自己的醫病資料上傳到 NHS Digital,二是資料上傳後,仍然可以在資料分享給第三方使用時說不。畢竟有人願意為公益、學術目的提供個人健康數據,對商業用途敬謝不敏;也有人覺得只要無法辨識個人即可。
近年,英國政府很努力和大眾溝通,希望民眾認知到資料分享的共善,也說明退出所帶來的社會成本,鼓勵人們留在資料庫內,享受精準醫療帶給個人的好處。可以看到英國政府藉由公眾溝通,努力建立社會信任。
參照英國經驗,目前選擇退出的比率約為 2.6%。保留民眾某種程度的退出權,但善盡公眾溝通,應是平衡集體利益與個人隱私的一種做法。
歐盟 GDPR 個資保護的四大原則
健保資料庫只是案例之一,當 AI 成為大數據浪潮下的加速器,最周全之策仍然是針對 AI 時代的資料運用另立規範。 歐盟 2018 年實施的《一般資料保護規則》(General Data Protection Regulation,以下簡稱 GDPR),便是大數據 AI 時代個資保護的重要指標。
因應 AI、大數據時代的變化,歐盟在 2016 年通過 GDPR,2018 年正式上路,被稱為「史上最嚴格的個資保護法」。包括行動裝置 ID、宗教、生物特徵、性傾向都列入被保護的個人資料範疇。
歐盟在法令制定階段已將 AI 運用納入考量,設定出個資保護四大原則:目的特定原則、資料最小化、透明性與課責性原則。
其中,「目的特定」與「資料最小化」都是要求資料的蒐集、處理、利用,應在特定目的的必要範圍內,也就是只提供「絕對必要」的資料。
然而,這與大數據運用需仰賴大量資料的特質,明顯衝突!
大數據分析的過程,往往會大幅、甚至沒有「特定目的」的廣蒐資料;資料分析後的應用範圍,也可能超出原本設定的目標。因此,如何具體界定「特定目的」以及後續利用的「兼容性判斷」,便相當重要。這也突顯出「透明性」原則強調的自我揭露(self-disclosure)義務。當蒐集方成為主要的資料控制者,就有義務更進一步解釋那些仰賴純粹自動化的決策,究竟是如何形成的。
「透明性原則的用意是為了建立信任感。」何之行補充。她舉例,中國阿里巴巴集團旗下的芝麻信用,將演算法自動化決策的應用發揮得淋漓盡致,就連歐盟發放申根簽證都會參考。然而,所有被納入評分系統的人民,卻無從得知這個龐大的演算法系統如何運作,也無法知道為何自己的信用評等如此。
芝麻信用表示,系統會依照身分特質、信用歷史、人脈關係、行為偏好、履約能力等五類資料,進行每個人的信用評分,分數介於 350-950。看似為電商系統的信用評等,實則影響個人信貸、租車、訂房、簽證,甚至是求職。
這同時涉及「課責性」(accountability)原則 ── 出了問題,可以找誰負責。以醫療場域來講,無論診斷過程中動用了多少 AI 工具作為輔助,最終仍須仰賴真人醫師做最後的專業判斷,這不僅是尊重醫病關係,也是避免病患求助無門的問責體現。
科技防疫:無所遁形的日常與數位足跡
當新冠疫情爆發,全球人心惶惶、對未知病毒充滿恐懼不安,科技防疫一躍成為國家利器。但公共衛生與人權隱私的論辯,也再次浮上檯面。
2020 年 4 月,挪威的國家公共衛生機構推出一款接觸追蹤軟體,能監控足跡、提出曾接觸確診者的示警。但兩個月後,這款挪威版的「社交距離 APP」卻遭到挪威個資主管機關(NDPA)宣告禁用!
挪威開發了「Smittestopp」,可透過 GPS 與藍牙定位來追蹤用戶足跡,提出與感染者曾接觸過的示警,定位資訊也會上傳到中央伺服器儲存。然而,挪威資料保護主管機關(NDPA)宣告,程式對個人隱私造成不必要的侵害,政府應停止使用並刪除資料。
為何挪威資料保護機關會做出這個決定?大體來說,仍與歐盟 GDPR 四大原則有關。
首先,NDPA 認為挪威政府沒有善盡公眾溝通責任,目的不清。人民不知道這款 APP 是為了疫調?或者為研究分析而持續蒐集資料?而且,上傳的資料包含非確診者個案,違反了特定目的與資料最小蒐集原則。
此外,即便為了防疫,政府也應該採用更小侵害的手段(如:僅從藍牙確認距離資訊),而不是直接由 GPS 掌控個人定位軌跡,這可能造成國家全面監控個人行蹤的風險。
最後 NDPA 認為,蒐集足跡資料原初是為了即時防疫,但當資料被轉作後續的研究分析,政府應主動說明為什麼資料可以被二次利用?又將如何去識別化,以確保個資安全?
換言之,面對疫情的高度挑戰,挪威個資保護機關仍然認為若沒有足夠的必要性,不應輕易打開潘朵拉的盒子,國家採用「Smittestopp」這款接觸追蹤軟體,有違反比例原則之虞。
「有效的疫情控制,並不代表必然需要在隱私和個資保護上讓步。反而當決策者以防疫之名進行科技監控,一個數位監控國家的誕生,所妥協的將會是成熟公民社會所賴以維繫的公眾信任與共善。」何之行進一步分析:
數位監控所帶來的威脅,並不僅只於表象上對於個人隱私的侵害,更深層的危機在於,掌握「數位足跡」(digital footprint) 後對於特定當事人的描繪與剖析。
當監控者透過長時間、多方面的資訊蒐集,對於個人的「深描與剖繪」(profiling)遠遠超過想像──任何人的移動軌跡、生活習慣、興趣偏好、人脈網絡、政治傾向,都可能全面被掌握!
AI 時代需要新法規與管理者
不論是醫藥研發或疫情防控,數位監控已成為當代社會的新挑戰。參照各國科技防疫的爭論、歐盟 GDPR 規範,何之行認為,除了一套 AI 時代的個資保護規範,實踐層面上歐盟也有值得學習之處。
例如,對隱私風險的脈絡化評估、將隱私預先納入產品或服務的設計理念(privacy by design),「未來照護機器人可能走入家家戶戶,我們卻常忽略機器人 24 小時都在蒐集個資,隱私保護在產品設計的最初階段就要納入考量。」
另外最關鍵的是:設置獨立的個資監管機構,也就是所謂的資料保護官(data protection officer,DPO),專責監控公、私營部門是否遵循法規。直白地說,就是「個資警察局」。何之行比喻,
如果家中遭竊,我們會向警察局報案,但現況是「個資的侵害不知道可以找誰」。財稅資料歸財政部管,健康資料歸衛福部管,界定不清楚的就變成三不管地帶。
綜觀臺灣現狀,她一語點出問題:「我們不是沒有法規,只是現有的法令不完備,也已不合時宜。」
過往許多人擔心,「個資保護」與「科技創新」是兩難悖論,但何之行強調法令規範不是絆腳石。路開好、交通號誌與指引完善,車才可能跑得快。「GDPR 非常嚴格,但它並沒有阻礙科學研究,仍然允許了科學例外條款的空間。」
「資料是新石油」(data is the new oil),臺灣擁有世界數一數二最完整的健康資料,唯有完善明確的法規範才能減少疑慮,找出資料二次利用與科技創新的平衡點,也建立對於資料二次利用的社會信任。
資料來源:https://www.inside.com.tw/article/23814-ai-privacy-medical?fbclid=IwAR0ATcNjDPwTsZ4lkQpYjvys3NcXpDaqsmE_gELBl_UNu4FcAjBlscxMwss
data protection data privacy 在 TPIsoftware Global Facebook 的最佳解答
[Log Management Strategy: IT Security Issues that Enterprises Should Take Preventive Action On]
IT security awareness has emerged as a significant topic around the world. This trend can be found in the strict GDPR implementation, the rollout of new iOS 14 privacy policy in early 2021, and the Google browser’s phaseout of third-party cookies. It is without doubt enterprises’ and organizations’ job to ensure IT security.
🌟Log management, should be the first step taken in response to this trend. What’s more, the retention and management of logs are essential for enterprises according to many laws and regulations.
🌟TPIsoftware’s digiLogs manages massive logs centrally with just a single browser, which meets your needs for various log management, reduces IT time costs, and further boosts your work efficiency.
#昕力資訊 #TPIsoftware #digiLogs #LogManagement
📎Start your efficient log management today➠ https://pse.is/3eyfyd
data protection data privacy 在 PHIL CHEN Youtube 的精選貼文
Privacy is a fundamental pillar of our society. The advertisement-based model of our internet is a threat to our freedom. Phil and Göran discuss why privacy came into mainstream focus again via Cambridge Analytica and why it opens the door for the manipulation of our society.
While many countries increase their surveillance system to a sophisticated level, Europe is pioneering privacy rules with the GDPR.
About idka: https://www.idka.com/
Idka is a new type of social media where protection of your privacy, your integrity and your information is at the very core. On Idka you can communicate, share and work undisturbed with colleges and friends. There is no advertising, nothing irrelevant and no-one can see, share or access your stuff. Communicate freely on a platform where you own the content.
Music: Hadassah
Phil Chen
Instagram / Twitter: @philchen913
HTC Exodus
www.htcexodus.com
Instagram: @htc.exodus
FB/Telegram/Reddit: @htcexodus
Rebuilding trust, one phone at a time.
data protection data privacy 在 Edwin H. Youtube 的最讚貼文
最近係咁收到私穩條款既電郵,到底咩事?三分鐘解答你既問題!
GDPR More info:
http://bfy.tw/5WF8
Wall Street Journal - GDPR
https://www.youtube.com/watch?v=j6wwBqfSk-o
Subscribe!
https://www.youtube.com/user/wing912930?sub_confirmation=1
Follow / Direct Message me on Instagram!
https://www.instagram.com/edwinghui/
data protection data privacy 在 General Data Protection Regulation (GDPR) | Meta for Business 的推薦與評價
TABLE OF CONTENTS · Key Legal Bases · Facebook as the Data Controller vs. Facebook as the Data Processor · Transfers · Privacy Shield Certification · Advertiser ... ... <看更多>