เรื่อง "เลขอารบิก คิดจากจำนวนมุม" กลับมาใช้กันใหม่อีกแล้วนะครับ .... เรื่องนี้ไม่จริงนะครับ มโนกันไปเองมากกว่า
"ตัวเลขอารบิก ไม่ได้คิดจากจำนวนมุม"
วันนี้คงมีหลายคนที่ได้รับฟอร์เวิร์ดรูปนี้มา อ้างว่าตามประวัติศาสตร์การคิดตัวเลขอารบิกที่เราใช้กันนั้น ตัวเลขแต่ละตัวสร้างขึ้นจาก "จำนวนของมุม" ภายในตัวเลข ใช้มาทั้งชีวิต ไม่เคยรู้เลย !? .... เสียใจด้วย มันไม่ใช่เรื่องจริงหรอกครับ
ตัวเลขในปัจจุบันที่เราเรียกว่า "เลขฮินดู-อารบิก" นั้น จริงๆ แล้วมาจากตัวอักขระอินเดียโบราณที่ใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ระหว่างช่วง 200ปีก่อนคริสตกาลจนถึงศตวรรษที่ 3 ปรากฏอยู่ในบันทึก Bakhshali ซึ่งมีชื่อเสียงมาก จากการที่เป็นบันทึกเก่าแก่ที่สุดทางด้านคณิตศาสตร์และแสดงให้เห็นถึงการใช้เลข 0 ศูนย์ ... ดูในรูปประกอบ จะเห็นถึงความคล้ายคลึงระหว่างตัวเลขโบราณนี้ (หรือเรียกว่า ตัวเลขพรามมิ Brahmi numerals) กับเลขอารบิกปัจจุบัน
หลังจากนั้น ลักษณะของตัวเลขก็วิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปอีกหลายศตวรรษ และแพร่กระจายไปถึงเปอร์เซียในยุคกลาง และกลุ่มชาวอาหรับได้นำเข้าไปเผยแพร่ในยุโรปในที่สุด โดยปรากฏในบันทึก Codex Vigilanus โดยผลงานของพระชาวคริสต์ในสเปนตอนเหนือ เมื่อปี ค.ศ. 881 ... ดูรูปประกอบ จะเห็นว่ายิ่งเหมือนตัวเลขอารบิกในปัจจุบันมากขึ้นอีก (แต่เค้าเขียนจาก ขวาไปซ้าย นะ) ซึ่งจะมีแค่เลข 4 กับ 5 ที่ดูต่างออกไปหน่อย
จากนั้น ตัวเลขฮินดู-อารบิกนี้ก็ได้ถูกปรับปรุงอีกครั้งในปี 1202 โดยผลงานของ Leonardo Fibonacci (คนที่คิดเรื่องลำดับฟิโบนัคชี่ นั่นแหล่ะ) โดยเอาระบบนี้มาใช้ในหนังสือ Liber Abaci (แปลว่า Book of Calculation) ของเค้าจนเป็นที่นิยมไปทั่วยุโรป
ตัวเลขอารบิกเป็นที่นิยมอย่างมากในยุโรป และในช่วงศตวรรษที่ 15 และ 16 ก็พบว่ามีการใช้กันทั่วไป รวมทั้งใช้เขียนบนหน้าปัดนาฬิกาด้วย ... ดังในรูปประกอบ (มาจากคู่มือที่ชื่อว่า Ms.Thott.290.2º เขียนโดย Hans Talhoffer ในปี 1459) ซึ่งเขียนวิธีการเรียงลำดับเลขทั้งหมดเอาไว้
เมื่อยุโรปผ่านยุคฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม หรือยุคเรเนสซอง (Renaissance) มีการศึกษาประวัติของเลขฮินดู-อารบิกเพิ่มเติม และพบว่านอกจากจะมีรากฐานมากจากเลขพรามมิโบราณ ยังได้รับอิทธิพลมาจากวิวัฒนาการของการจัดเรียงพิมพ์ตัวอักขระต่างๆ ในยุโรปสมัยนั้นด้วย ... ดังแผนภูมิเปรียบเทียบในภาพประกอบ ซึ่งจัดทำโดยนักประวัติศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Jean-Étienne Montcula พิมพ์ในหนังสือ Histoire de la Mathematique ในปี ค.ศ. 1757
จนมาถึงช่วงกลายศตวรรษที่ 18 นั่นเอง ที่ตัวเลขทั้งหมดที่นิยมใช้กันในยุโรปนั้น ได้เปลี่ยนมาเป็นแบบตัวเลขอารบิกในปัจจุบัน ... ซึ่งก็ชัดเจนว่า ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับเรื่องจำนวนมุมภายในตัวเลขแต่อย่างไรครับ
ข้อมูลและภาพ จาก https://gizmodo.com/no-this-viral-image-does-not-explain-th…
-------------
สนใจหนังสือ "อ๋อ! มันเป็นอย่างนี้นี่เอง" ติดต่อสั่งซื้อได้ที่เว็บไซต์ สนพ. มติชน http://www.matichonbook.com/…/matichonb…/newbooks/-2997.html
"Arabic numbers don't think of the number of angles"
Today, there are many people who have received this forward. According to the history of the arbic numbers we use. Each number is made up of "the number" within the numbers. I have been used for their whole life. So!? I'm sorry. It's not true.
The current numbers we call "Hindu-Arabic" are actually from the ancient Indian cuddle characters used in mathematical calculation between 200 years before crystal to the 3th century. Appearing in Bakhshali record which is very famous from the oldest record in mathematics and shows the use of 0 zeros... See in the illustrations, it will see the similarity between this antique numbers (aka the numbers. Brahmi numerals) with current Arabic numbers
After that, the characteristics of the numbers changed centuries and spread to medieval Persians and Arabs were finally published in Europe. It appears in Codex Vigilanus by the work of Christians in Northern Spain in July. Prof. 881... Look at the illustrations, you will see that the more like the current Arabic numbers (but they write from right to left) which will only have number 4 and 5 that look different. Please.
Then this Hindu-Arabic number was renovated in 1202 by Leonaci's work of Leonaci (who thought about Fibonacci cuddle ci sequence) by using this system in liber. (It means book of calculation) is popular all over Europe.
Arabic numbers are highly popular in Europe and in the 15th and 16th centuries, it is found that they are commonly used as well as written on the watch dial... as in the illustration (from the Ms. Thott. 290.2º written by Hans Talhoffer in 1459) Writes how to sort out all numbers.
When Europe passed the era of art, culture or Renaissance), there was more study of Hindu-Arabic history and found that in addition to a lot of primmi numbers, it is also influenced by the evolution of printing. cuddle carabinieri, cuddle characters in Europe in those days... As a comparison chart in the illustration made by a French historian-étienne montcula, printed in the book in the book of Histoire de la Mathemathematique in July. Prof. 1757
Until the 18th century, that all the popular numbers in Europe have changed to the current Arabic numbers... which clearly has nothing to do with the number of corners within the numbers.
Info and pics from https://gizmodo.com/no-this-viral-image-does-not-explain-the-history-of-ar-1719306568
-------------
Interested in the book " oh! This is how it is " Contact to order at the website. Matichon http://www.matichonbook.com/index.php/matichonbook/newbooks/-2997.htmlTranslated
renaissance art characteristics 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
"ตัวเลขอารบิก ไม่ได้คิดจากจำนวนมุม"
วันนี้คงมีหลายคนที่ได้รับฟอร์เวิร์ดรูปนี้มา อ้างว่าตามประวัติศาสตร์การคิดตัวเลขอารบิกที่เราใช้กันนั้น ตัวเลขแต่ละตัวสร้างขึ้นจาก "จำนวนของมุม" ภายในตัวเลข ใช้มาทั้งชีวิต ไม่เคยรู้เลย !? .... เสียใจด้วย มันไม่ใช่เรื่องจริงหรอกครับ
ตัวเลขในปัจจุบันที่เราเรียกว่า "เลขฮินดู-อารบิก" นั้น จริงๆ แล้วมาจากตัวอักขระอินเดียโบราณที่ใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ระหว่างช่วง 200ปีก่อนคริสตกาลจนถึงศตวรรษที่ 3 ปรากฏอยู่ในบันทึก Bakhshali ซึ่งมีชื่อเสียงมาก จากการที่เป็นบันทึกเก่าแก่ที่สุดทางด้านคณิตศาสตร์และแสดงให้เห็นถึงการใช้เลข 0 ศูนย์ ... ดูในรูปประกอบ จะเห็นถึงความคล้ายคลึงระหว่างตัวเลขโบราณนี้ (หรือเรียกว่า ตัวเลขพรามมิ Brahmi numerals) กับเลขอารบิกปัจจุบัน
หลังจากนั้น ลักษณะของตัวเลขก็วิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปอีกหลายศตวรรษ และแพร่กระจายไปถึงเปอร์เซียในยุคกลาง และกลุ่มชาวอาหรับได้นำเข้าไปเผยแพร่ในยุโรปในที่สุด โดยปรากฏในบันทึก Codex Vigilanus โดยผลงานของพระชาวคริสต์ในสเปนตอนเหนือ เมื่อปี ค.ศ. 881 ... ดูรูปประกอบ จะเห็นว่ายิ่งเหมือนตัวเลขอารบิกในปัจจุบันมากขึ้นอีก (แต่เค้าเขียนจาก ขวาไปซ้าย นะ) ซึ่งจะมีแค่เลข 4 กับ 5 ที่ดูต่างออกไปหน่อย
จากนั้น ตัวเลขฮินดู-อารบิกนี้ก็ได้ถูกปรับปรุงอีกครั้งในปี 1202 โดยผลงานของ Leonardo Fibonacci (คนที่คิดเรื่องลำดับฟิโบนัคชี่ นั่นแหล่ะ) โดยเอาระบบนี้มาใช้ในหนังสือ Liber Abaci (แปลว่า Book of Calculation) ของเค้าจนเป็นที่นิยมไปทั่วยุโรป
ตัวเลขอารบิกเป็นที่นิยมอย่างมากในยุโรป และในช่วงศตวรรษที่ 15 และ 16 ก็พบว่ามีการใช้กันทั่วไป รวมทั้งใช้เขียนบนหน้าปัดนาฬิกาด้วย ... ดังในรูปประกอบ (มาจากคู่มือที่ชื่อว่า Ms.Thott.290.2º เขียนโดย Hans Talhoffer ในปี 1459) ซึ่งเขียนวิธีการเรียงลำดับเลขทั้งหมดเอาไว้
เมื่อยุโรปผ่านยุคฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม หรือยุคเรเนสซอง (Renaissance) มีการศึกษาประวัติของเลขฮินดู-อารบิกเพิ่มเติม และพบว่านอกจากจะมีรากฐานมากจากเลขพรามมิโบราณ ยังได้รับอิทธิพลมาจากวิวัฒนาการของการจัดเรียงพิมพ์ตัวอักขระต่างๆ ในยุโรปสมัยนั้นด้วย ... ดังแผนภูมิเปรียบเทียบในภาพประกอบ ซึ่งจัดทำโดยนักประวัติศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Jean-Étienne Montcula พิมพ์ในหนังสือ Histoire de la Mathematique ในปี ค.ศ. 1757
จนมาถึงช่วงกลายศตวรรษที่ 18 นั่นเอง ที่ตัวเลขทั้งหมดที่นิยมใช้กันในยุโรปนั้น ได้เปลี่ยนมาเป็นแบบตัวเลขอารบิกในปัจจุบัน ... ซึ่งก็ชัดเจนว่า ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับเรื่องจำนวนมุมภายในตัวเลขแต่อย่างไรครับ
ข้อมูลและภาพ จาก https://gizmodo.com/no-this-viral-image-does-not-explain-th…
-------------
สนใจหนังสือ "อ๋อ! มันเป็นอย่างนี้นี่เอง" ติดต่อสั่งซื้อได้ที่เว็บไซต์ สนพ. มติชน http://www.matichonbook.com/…/matichonb…/newbooks/-2997.html
"Arabic numbers don't think of the number of angles"
Today, there are many people who have received this forward. According to the history of the arbic numbers we use. Each number is made up of "the number" within the numbers. I have been used for their whole life. So!? I'm sorry. It's not true.
The current numbers we call "Hindu-Arabic" are actually from the ancient Indian cuddle characters used in mathematical calculation between 200 years before crystal to the 3th century. Appearing in Bakhshali record which is very famous from the oldest record in mathematics and shows the use of 0 zeros... See in the illustrations, it will see the similarity between this antique numbers (aka the numbers. Brahmi numerals) with current Arabic numbers
After that, the characteristics of the numbers changed centuries and spread to medieval Persians and Arabs were finally published in Europe. It appears in Codex Vigilanus by the work of Christians in Northern Spain in July. Prof. 881... Look at the illustrations, you will see that the more like the current Arabic numbers (but they write from right to left) which will only have number 4 and 5 that look different. Please.
Then this Hindu-Arabic number was renovated in 1202 by Leonaci's work of Leonaci (who thought about Fibonacci cuddle ci sequence) by using this system in liber. (It means book of calculation) is popular all over Europe.
Arabic numbers are highly popular in Europe and in the 15th and 16th centuries, it is found that they are commonly used as well as written on the watch dial... as in the illustration (from the Ms. Thott. 290.2º written by Hans Talhoffer in 1459) Writes how to sort out all numbers.
When Europe passed the era of art, culture or Renaissance), there was more study of Hindu-Arabic history and found that in addition to a lot of primmi numbers, it is also influenced by the evolution of printing. cuddle carabinieri, cuddle characters in Europe in those days... As a comparison chart in the illustration made by a French historian-étienne montcula, printed in the book in the book of Histoire de la Mathemathematique in July. Prof. 1757
Until the 18th century, that all the popular numbers in Europe have changed to the current Arabic numbers... which clearly has nothing to do with the number of corners within the numbers.
Info and pics from https://gizmodo.com/no-this-viral-image-does-not-explain-the-history-of-ar-1719306568
-------------
Interested in the book " oh! This is how it is " Contact to order at the website. Matichon http://www.matichonbook.com/index.php/matichonbook/newbooks/-2997.htmlTranslated
renaissance art characteristics 在 Renaissance Art: History, Characteristics, and Examples ... 的相關結果
The manifestation of the Renaissance in visual art can be understood as several key compositional features. Through creating illusionistic form ... ... <看更多>
renaissance art characteristics 在 5 Characteristics of Renaissance Art That Changed the ... 的相關結果
Top 5 Characteristics of Renaissance Art that Changed the World · 1. A positive willingness to learn and explore · 2. Faith in the nobility of man ... ... <看更多>
renaissance art characteristics 在 Renaissance art | Definition, Characteristics, Style ... 的相關結果
Renaissance art, painting, sculpture, architecture, music, and literature produced during the 14th, 15th, and 16th centuries in Europe under the combined ... ... <看更多>