วันนี้ผมจะมาเล่าเรื่องการฟื้นฟูเมจิให้ฟัง
และจะอธิบายครับว่า
ทำไมมันถึงเป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองที่พิสดารที่สุดในโลก
การฟื้นฟูเมจิ มีชื่อญี่ปุ่นว่า 明治維新 Meiji Ishin
ภาษาอังกฤษเรียก Meiji Restoration
ซึ่งทั้งไทยกับญี่ปุ่นไม่ได้ใช้ศัพท์ที่ตรงกันกับของญี่ปุ่น
ถ้าจะเลือกคำศัพท์อันเดียว
Ishin จะใกล้เคียง Reform หรือ ปฏิรูปมากกว่า
แต่มันก็ไม่ได้ตรงกันเสียทีเดียว
และภาษาญี่ปุ่นก็มีคำว่า 改革 ที่ตรงกับความหมายนี้มากกว่า
และจะมาขออธิบายว่าเพราะอะไรมันถึงเลือกใช้คำๆนี้
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
ก่อนที่จะเล่าเรื่องการปฏิรูปนี้เอง
ขอเกริ่นสภาพการเมืองของญี่ปุ่นในยุคนั้นก่อน
ซึ่งเรื่องเหล่านี้ผมเคยเล่าในเพจไปแล้ว
ถ้าอยากรู้รายละเอียดเชิญไปค้นกันเอาเองได้ครับ
1. ญี่ปุ่นไม่ใช่ประเทศเดียว
แต่เป็นการรวมตัวกันของแคว้นกึ่งอิสระหลายแคว้น
และเจ้าแคว้นแต่ละแคว้นเป็นเหมือนกษัตริย์ของแคว้นตัวเอง
2. เทนโน (สมเด็จพระจักรพรรดิ)
เป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ ไม่ใช่ผู้นำทางการปกครอง
3. ฝรั่งเศสกับอังกฤษมีผลได้ผลเสียกับผู้นำแต่ละแคว้น
และมีโอกาสในการครองญี่ปุ่นเป็นเมืองขึ้น
4. ก่อนเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทั้งเทนโนและประชาชนทั่วไป
แทบไม่ได้มีส่วนร่วมโดยตรงในสงครามเลย
-\-\-\-\-
ทีนี้ขออธิบายว่าการปฏิวัติ (Revolution)
กับการปฏิรูป (Reform) คืออะไร
การปฏิวัติคือการโค่นอำนาจผู้ปกครองเดิม
โดยกำลังที่เป็นคนละส่วนกับอำนาจผู้ปกครองเดิม
เช่นการปฏิวัติโดยประชาชน
หรือการปฏิวัติโดยทหารต่อรัฐบาล
ส่วนการปฏิรูปคือการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
โดยอำนาจของกลุ่มผู้ปกครองนั้นเอง
เช่นรัฐสภาอนุมัติการปฏิรูปกฏหมายเป็นต้น
ซึ่งทั้งสองอันนี้ไม่ได้เข้าข่าย
กรณีของ Meijin Ishin
-\-\-\-\-\-\-
สงครามโบะชิน 戊辰戦争 ที่เป็นตัวก่อให้เกิด Meijin Ishin นั้น
เป็นสงครามระหว่างกลุ่มแคว้นพันธมิตรตะวันตก
และรัฐบาลโชกุนโทคุกาว่า
ซึ่งมันเป็นสงครามระหว่างคนระดับผู้นำแคว้นด้วยกัน
ไม่ใช่สงครามระหว่างชนชั้น
และไม่ใช่สงครามปฏิวัติที่เกิดขึ้นจากทหารหรือประชาชน
แบบในไทยและฝรั่งเศส
ซึ่งโดยปกติแล้ว ฝั่งซัตซึมะที่ชนะ
จะมีสิทธิในการได้ก่อตั้งเป็นตระกูลโชกุนรุ่นใหม่
แต่ก่อนจะจบสงคราม
โทคุกาว่ากลับยกอำนาจของตัวเองให้ผู้อื่นแทน (เทนโน)
จึงไม่ได้ถือว่ารัฐบาลโทคุกาว่าถูกโค่นล้มอำนาจ
และไม่ได้นับว่าเป็นการปฏิวัติ
แต่ในขณะเดียวกัน นี่ก็ไม่ใช่การปฏิรูปด้วย
เพราะรัฐบาลเทนโน หรือรัฐบาลเมย์จินั้น
เป็นรัฐบาลที่ถูกสร้างใหม่
ไม่ใช่รัฐบาลที่ถูกแก้ไขโดยอำนาจเดิม
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
หลังโทคุกาว่าคืนอำนาจปกครองให้ราชวงศ์เบญจมาศ
ฝั่งซัตซึมะก็ทำอะไรไม่ได้ทั้งๆที่ตัวเองเป็นฝ่ายชนะแท้ๆ
เพราะที่ตัวเองสู้อยู่ด้วยไม่ใช่รัฐบาลเมย์จิ
และถึงจะเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารประเทศหลังจากนั้น
แต่ก็ไม่ถือว่าเป็นการยึดครองอำนาจโดยการรุกรานได้
-\-\-\-\
ส่วนอังกฤษกับฝรั่งเศสก็งงเป็นไก่ตาแตก
เพราะเลือกข้างเชียร์แต่ละฝั่งอยู่
แต่คนเข้าวินกลับเป็นม้ามืดนอกสายตา
เลยจะมาทำให้ญี่ปุ่นเป็นเมืองขึ้นก็ไม่ได้
-\-\-\-\
ในขณะที่ประชาชนเองก็งงอยู่ว่า
เอ่อ.... นี่เราเปลี่ยนการปกครองแล้วเหรอ?
ทั้งๆที่ตัวเองก็ไม่ได้เรียกร้องหรือทำอะไร
แล้วอยู่ๆก็มามีสิทธิมากกว่าที่ตัวเองเคยมี
-\-\-\-\-
และที่งงสุดๆเลยก็คือตัวสมเด็จเทนโนเมย์จิเอง
ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมโดยตรงกับการที่จะมาแย่งอำนาจด้วย
ในสงครามครั้งนี้
แต่อยู่ๆเขาก็ประเคนเอาอำนาจปกครองมาให้
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\
ด้วยเหตุนี้
การเปลี่ยนการปกครองเมย์จิ
จึงได้เลือกใช้คำว่า 維新 Ishin
ที่หากเราจะเรียกมันด้วยภาษาชาวบ้านก็คือ
...
..
.
เราลืมเรื่องในอดีตแล้วมาเริ่มใหม่กันเถอะนะ
..
.
.
เป็นการเปลี่ยนการปกครองที่ประหลาดมากและไม่เหมือนใครในโลกครับ
同時也有4部Youtube影片,追蹤數超過2萬的網紅hulan,也在其Youtube影片中提到,早稻田大學(日語:早稲田大学/わせだだいがく Waseda Daigaku;英語譯名:Waseda University),簡稱早大、早稻田,是一所本部位於日本東京都新宿區的私立大學。早稻田大學於1882年,由明治維新時期開國元老之一,前內閣總理大臣大隈重信創立,建校之精神為「學問之獨立」、「學問之...
「meiji restoration」的推薦目錄:
- 關於meiji restoration 在 โอตาคุบริโภคมาม่า Facebook 的最佳貼文
- 關於meiji restoration 在 โอตาคุบริโภคมาม่า Facebook 的最佳貼文
- 關於meiji restoration 在 蝦叔跑步 Uncle Shrimp Running Facebook 的最讚貼文
- 關於meiji restoration 在 hulan Youtube 的精選貼文
- 關於meiji restoration 在 852郵報 Youtube 的最佳解答
- 關於meiji restoration 在 marcel060329 Youtube 的最讚貼文
meiji restoration 在 โอตาคุบริโภคมาม่า Facebook 的最佳貼文
วันนี้ผมจะมาเล่าเรื่องการฟื้นฟูเมจิให้ฟัง
และจะอธิบายครับว่า
ทำไมมันถึงเป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองที่พิสดารที่สุดในโลก
การฟื้นฟูเมจิ มีชื่อญี่ปุ่นว่า 明治維新 Meiji Ishin
ภาษาอังกฤษเรียก Meiji Restoration
ซึ่งทั้งไทยกับญี่ปุ่นไม่ได้ใช้ศัพท์ที่ตรงกันกับของญี่ปุ่น
ถ้าจะเลือกคำศัพท์อันเดียว
Ishin จะใกล้เคียง Reform หรือ ปฏิรูปมากกว่า
แต่มันก็ไม่ได้ตรงกันเสียทีเดียว
และภาษาญี่ปุ่นก็มีคำว่า 改革 ที่ตรงกับความหมายนี้มากกว่า
และจะมาขออธิบายว่าเพราะอะไรมันถึงเลือกใช้คำๆนี้
-------------
ก่อนที่จะเล่าเรื่องการปฏิรูปนี้เอง
ขอเกริ่นสภาพการเมืองของญี่ปุ่นในยุคนั้นก่อน
ซึ่งเรื่องเหล่านี้ผมเคยเล่าในเพจไปแล้ว
ถ้าอยากรู้รายละเอียดเชิญไปค้นกันเอาเองได้ครับ
1. ญี่ปุ่นไม่ใช่ประเทศเดียว
แต่เป็นการรวมตัวกันของแคว้นกึ่งอิสระหลายแคว้น
และเจ้าแคว้นแต่ละแคว้นเป็นเหมือนกษัตริย์ของแคว้นตัวเอง
2. เทนโน (สมเด็จพระจักรพรรดิ)
เป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ ไม่ใช่ผู้นำทางการปกครอง
3. ฝรั่งเศสกับอังกฤษมีผลได้ผลเสียกับผู้นำแต่ละแคว้น
และมีโอกาสในการครองญี่ปุ่นเป็นเมืองขึ้น
4. ก่อนเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทั้งเทนโนและประชาชนทั่วไป
แทบไม่ได้มีส่วนร่วมโดยตรงในสงครามเลย
-----
ทีนี้ขออธิบายว่าการปฏิวัติ (Revolution)
กับการปฏิรูป (Reform) คืออะไร
การปฏิวัติคือการโค่นอำนาจผู้ปกครองเดิม
โดยกำลังที่เป็นคนละส่วนกับอำนาจผู้ปกครองเดิม
เช่นการปฏิวัติโดยประชาชน
หรือการปฏิวัติโดยทหารต่อรัฐบาล
ส่วนการปฏิรูปคือการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
โดยอำนาจของกลุ่มผู้ปกครองนั้นเอง
เช่นรัฐสภาอนุมัติการปฏิรูปกฏหมายเป็นต้น
ซึ่งทั้งสองอันนี้ไม่ได้เข้าข่าย
กรณีของ Meijin Ishin
-------
สงครามโบะชิน 戊辰戦争 ที่เป็นตัวก่อให้เกิด Meijin Ishin นั้น
เป็นสงครามระหว่างกลุ่มแคว้นพันธมิตรตะวันตก
และรัฐบาลโชกุนโทคุกาว่า
ซึ่งมันเป็นสงครามระหว่างคนระดับผู้นำแคว้นด้วยกัน
ไม่ใช่สงครามระหว่างชนชั้น
และไม่ใช่สงครามปฏิวัติที่เกิดขึ้นจากทหารหรือประชาชน
แบบในไทยและฝรั่งเศส
ซึ่งโดยปกติแล้ว ฝั่งซัตซึมะที่ชนะ
จะมีสิทธิในการได้ก่อตั้งเป็นตระกูลโชกุนรุ่นใหม่
แต่ก่อนจะจบสงคราม
โทคุกาว่ากลับยกอำนาจของตัวเองให้ผู้อื่นแทน (เทนโน)
จึงไม่ได้ถือว่ารัฐบาลโทคุกาว่าถูกโค่นล้มอำนาจ
และไม่ได้นับว่าเป็นการปฏิวัติ
แต่ในขณะเดียวกัน นี่ก็ไม่ใช่การปฏิรูปด้วย
เพราะรัฐบาลเทนโน หรือรัฐบาลเมย์จินั้น
เป็นรัฐบาลที่ถูกสร้างใหม่
ไม่ใช่รัฐบาลที่ถูกแก้ไขโดยอำนาจเดิม
-------------
หลังโทคุกาว่าคืนอำนาจปกครองให้ราชวงศ์เบญจมาศ
ฝั่งซัตซึมะก็ทำอะไรไม่ได้ทั้งๆที่ตัวเองเป็นฝ่ายชนะแท้ๆ
เพราะที่ตัวเองสู้อยู่ด้วยไม่ใช่รัฐบาลเมย์จิ
และถึงจะเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารประเทศหลังจากนั้น
แต่ก็ไม่ถือว่าเป็นการยึดครองอำนาจโดยการรุกรานได้
----
ส่วนอังกฤษกับฝรั่งเศสก็งงเป็นไก่ตาแตก
เพราะเลือกข้างเชียร์แต่ละฝั่งอยู่
แต่คนเข้าวินกลับเป็นม้ามืดนอกสายตา
เลยจะมาทำให้ญี่ปุ่นเป็นเมืองขึ้นก็ไม่ได้
----
ในขณะที่ประชาชนเองก็งงอยู่ว่า
เอ่อ.... นี่เราเปลี่ยนการปกครองแล้วเหรอ?
ทั้งๆที่ตัวเองก็ไม่ได้เรียกร้องหรือทำอะไร
แล้วอยู่ๆก็มามีสิทธิมากกว่าที่ตัวเองเคยมี
-----
และที่งงสุดๆเลยก็คือตัวสมเด็จเทนโนเมย์จิเอง
ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมโดยตรงกับการที่จะมาแย่งอำนาจด้วย
ในสงครามครั้งนี้
แต่อยู่ๆเขาก็ประเคนเอาอำนาจปกครองมาให้
------------------------------------------------
------------------------------------------------
ด้วยเหตุนี้
การเปลี่ยนการปกครองเมย์จิ
จึงได้เลือกใช้คำว่า 維新 Ishin
ที่หากเราจะเรียกมันด้วยภาษาชาวบ้านก็คือ
...
..
.
เราลืมเรื่องในอดีตแล้วมาเริ่มใหม่กันเถอะนะ
..
.
.
เป็นการเปลี่ยนการปกครองที่ประหลาดมากและไม่เหมือนใครในโลกครับ
meiji restoration 在 蝦叔跑步 Uncle Shrimp Running Facebook 的最讚貼文
近來項明生主持的節目《明治憑甚麼》大獲好評,我尚未看,但似乎非看不可了。
非常巧合,今個月我介紹的書也是借明治維新以喻今。書名坦白直接,就叫做《日本足球的明治維新》。
趕稿關係,坦白說我在事前沒對此書做太多research,拿起就讀,卻出乎意料地好看。後來好奇到豆瓣看看,果然,書得到相當高的8.1分。(傳送門:https://goo.gl/a8tMYG)
有一點,我沒寫在稿上,但卻不妨在這裡一提:我搜作者應虹霞的資料時,發現此君在大陸頗受爭議。不少網民對他口誅筆伐,說他「漢奸」、「媚日」。
看到這些評語,我更覺得這本書真的值得一讀了,請別因為它是簡體字就錯過。
【吾運動‧吾閱讀】- #蝦叔 蝦叔跑步 Uncle Shrimp Running
《日本足球的明治維新》
作者:應虹霞
「戰後重建日本足球,其難度不亞於在廢墟上重建國家。」
「一如福澤諭吉的思想之於日本明治維新的意義,理念變革和意識先行引發了日本足球職業化這場足球領域的劃時代變革。」
「內田篤人制勝德甲的秘訣,是德國人的鬥志外加日本球員的敏捷性、協調性。」
-----------------------------------------------------------------------
這一篇刊出之時,2019亞洲盃足球賽已到了白熱化階段,而今屆冠軍亦將於2月1日在阿布扎比揭盅。說起至今已舉辦16屆的亞洲盃,曾經四度奪冠的日本可謂這項賽事的最成功球隊。今次為大家介紹的書,亦正是與日本足球發展有關。
《日本足球的明治維新》(下稱《維新》)於2012年出版,作者應虹霞是一名中國體育記者,而她諳熟日語,不時訪問日本教練及球員,對日本足球發展所知甚詳,同時被譽為「日本足球通」,所以她寫的《維新》可說是一部日本足球簡史,由1936年柏林奧運,說到2010年南非世界盃,將日本足球發展呈現讀者眼前。
作者以「明治維新」為書名,明顯意在讚揚日本足球廿年改革成功。我們現在看到J聯賽之盛,看到日本國家隊成為世界盃常客,絕難想像在數十年前它曾經是那麼的業餘。再反觀幾乎與日本同步開始職業化的中國足球,相比之下,兩者發展大相逕庭,情況令人感慨。
原來1936年奧運足球賽中,日本爆大冷擊敗瑞典一役,會影響到十多年後首個奪得諾貝爾的日本科學家?原來J聯賽球隊命名各有深意?原來巴西名宿薛高當年赴日也只是踢乙組球隊?《維新》述說的無數故事,使讀者領略到日本足球有今天的成就絕非倖致,而且足以成為中國足球的殷鑑。它雖然是七年前的作品,但今天看來仍未過時。
筆者簡介:蝦叔,愛寫作,愛運動。期待未來以一雙腳和一枝筆,繼續從體育探索世界。
#新地公益垂直跑 #新鴻基地產 #足球
【Exercise and Read】Uncle Shrimp Running
Meiji Restoration of Japanese Football
Author: Ying Hong-xia
‘Restoring Japanese football after the war was as difficult as rebuilding the country on its ruins.’
‘Similar to the impact of Fukuzawa Yukichi's thoughts on Japan’s Meiji Restoration, conceptual reform and ideology first triggered the epoch-making revolution in the professionalization of Japanese football.’
‘The secret of Atsuto Uchida's success in the Bundesliga is the mix of the German's perseverance plus the agility of Japanese football players.’
-----------------------------------------------------------------------
By the time of the release of this article, the 2019 AFC Asian Cup should have reached a critical stage and this year’s champion will be crowned in Abu Dhabi on 1 February. To date, the Asian Cup has been held 16 times, during which Japan has emerged the most successful team winning the championship four times. The book introduced in this issue also chronicles the overall development of Japanese football.
Meiji Restoration of Japanese Football (referred to as The Restoration) was published in 2012. Author Ying Hong-xia is a Chinese sports journalist, who is also regarded as a ‘Japanese football guru’ because of her mastery of the Japanese language, frequent interviews with Japanese coaches and players as well as her in-depth knowledge about football’s development in Japan. For this reason, her book The Restoration can indeed be considered a brief history of Japanese football, presenting to readers its development all the way from the 1936 Berlin Olympics to the 2010 World Cup in South Africa.
The use of ‘Meiji Restoration’ in the book title is an allegorical reference to Japan’s success in its 20-year football reform. With the flourishing J-League and Japanese national team being the Finalist in the World Cup regularly, it is hard to imagine how Japanese football grew from amateur level to professional a few decades ago. By contrast, the development of Chinese football – which started professionalization at a similar time as Japan – stands in stark opposition to the case of Japan and the situation is indeed disheartening.
Who would have ever thought that the 1936 Olympic football match where Japan pulled off an upset of Sweden would influence the Japanese scientist who won the country’s first Nobel Prize more than a decade later? Who knew that the names of J-League football teams have their own special meanings, and that the legendary Brazilian player Zico once joined Japanese commercial football team in second division only?
Through stories behind these facts as told in The Restoration, readers will realize that Japanese football’s achievements nowadays did not come about through sheer luck, and that the success Japan has achieved can serve as a good example for Chinese football. Although the book was written seven years ago, it still retains relevancy even today.
About the writer: Uncle Shrimp loves reading, writing and athletics, and hopes he can continue exploring the world through sports.
meiji restoration 在 hulan Youtube 的精選貼文
早稻田大學(日語:早稲田大学/わせだだいがく Waseda Daigaku;英語譯名:Waseda University),簡稱早大、早稻田,是一所本部位於日本東京都新宿區的私立大學。早稻田大學於1882年,由明治維新時期開國元老之一,前內閣總理大臣大隈重信創立,建校之精神為「學問之獨立」、「學問之活用」及「成就模範之國民」
校內著名建築
坪內博士記念演劇博物館
會津八一記念博物館
早稻田大学(日语:早稲田大学/わせだいがくWaseda Daigaku;英语译名:早稻田大学),简称早大,早稻田,是一所本部位于日本东京都新宿区的私立大学。早稻田大学于1882年,由明治维新时期开国元老之一,前内阁总理大臣大隈重信创立,建校之精神为「学问之独立」,「学问之活用「及」成就模范之国民」
校内著名建筑
坪内博士记念演剧博物馆
会津八一记念博物馆
Waseda University (Japanese: Waseda Daigaku; Waseda University), referred to as Waseda University, is a private university located in Shinjuku, Tokyo, Japan. Waseda University was founded in 1882 by one of the founding fathers of the Meiji Restoration Period. The former Prime Minister of the Cabinet was founded by the Secretary of the Prime Minister. The spirit of the school was "independence of learning", "learning to use" and "nationals of exemplary achievements".
Famous buildings on campus
Dr. Pingu Memorial Theatre Museum
Aizu Bayi Memorial Museum
와세다 대학 (일본어 : 와세다 다이 가쿠, 와세다 대학)은 일본 도쿄 신주쿠에 위치한 사립 대학입니다. 와세다 대학은 1882 년 메이지 유신시기의 창시자 중 한 명에 의해 설립되었으며, 내각 총리는 국무 장관이 설립했으며, 학교의 정신은 "학습의 독립성", "사용의 학습", "예시 적 성취의 국가"였다.
캠퍼스의 유명한 건물
닥터 핀구 기념 극장 박물관
아이즈 바이 기념관
meiji restoration 在 marcel060329 Youtube 的最讚貼文
tube 2012.10.22 - https://twitter.com/noboru_kisaragi/status/509862565841629184 - Kyoto festival of the ages meiji restoration edo period aduchi momoyama muromachi yoshino kamakura fujiwara enryaku
meiji restoration 在 The Meiji Restoration and Modernization - Asia for Educators 的相關結果
In 1868 the Tokugawa shôgun ("great general"), who ruled Japan in the feudal period, lost his power and the emperor was restored to the supreme position. ... <看更多>
meiji restoration 在 Tokugawa Period and Meiji Restoration - HISTORY 的相關結果
The Meiji Restoration spelled the beginning of the end for feudalism in Japan, and would lead to the emergence of modern Japanese culture, politics and ... ... <看更多>
meiji restoration 在 Meiji Restoration - Wikipedia 的相關結果
The Meiji Restoration (明治維新, Meiji Ishin), referred to at the time as the Honorable Restoration (御一新, Goisshin), and also known as the Meiji ... ... <看更多>