Trust หรือความเชื่อใจคือหนึ่งในการยอมรับให้เกิดความเสี่ยง แต่การไม่เชื่อใจก็เป็นความเสี่ยงรูปแบบที่มีผลต่อความยั่งยืนในองค์กร องค์กรที่จะขับเคลื่อนต่อไปด้วย Distrust คือองค์กรที่ให้ความสำคัญกับ Process ใส่ Input ไปเท่าไหร่ Output ต้องออกมาตามที่คาดหวังไว้ มี Efficiency เป็นตัวชี้วัดที่จะบอกว่าองค์กรทำสำเร็จหรือไม่
Creativity และ Innovation คือสิ่งที่หายไป และนั่นคือต้นทุนสำคัญที่ Distrust Organization ต้องจ่าย แต่ถ้านั่นไม่ใช่เป้าหมายที่สำคัญขององค์กร ให้จ่ายเยอะแค่ไหนก็ไม่ใช่เรื่องที่องค์กรต้องใส่ใจ
คำถามที่น่าสนใจคือ องค์กรของเรามี "Trust" ในกระบวนการบริหารแค่ไหน แล้วเป้าหมายขององค์กรต้องใช้ "Trust" ในระดับไหนในการขับเคลื่อนองค์กร แล้วกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่องค์กรออกแบบมา ไปด้วยกันได้ดีกับการสร้าง Culture of Trust ใช่หรือไม่
เมื่อไหร่ที่องค์กรบอกว่าเราจะใช้ Trust ในการขับเคลื่อนองค์กร นั่นหมายถึงว่าองค์กรให้ Value กับ People มากกว่า Process นี่คือจุดที่สำคัญเพราะถ้าหาก People & Organization Policy, Practice และ Strategy ขัดแย้งกับการที่บอกว่า "Trust คือสิ่งสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร"
นั่นคืออีกหนึ่งต้นทุนที่เราต้องจ่ายไปโดยที่ไม่ได้อะไรตอบแทน
สิ่งที่องค์กรต้องการในวันนี้ คือ The Right People คนที่เก่งคนที่ใช่ เราใช้เวลาและกระบวนการที่มีต้นทุนในการเลือกคนที่ใช่มาเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร เมื่อถึงเวลาที่เค้ามาทำงานให้กับองค์กร องค์กร Control หรือ Empower ให้คนเก่งได้ทำงาน
การแสกนลายนิ้วมือลงเวลาในการทำงาน ยังจำเป็นอยู่มั้ย ถ้าเราบอกว่าเราเลือกคนที่ใช่มาแล้ว ทำไมเราถึงไม่ไว้ใจเค้า หรือจริง ๆ แล้วกระบวนการคัดเลือกของเรา ไม่ได้ดีพอที่จะเลือกคนที่เรา Trust ได้มาเป็นส่วนหนึ่งของทีม
นี่อาจจะยังเป็นเรื่องเล็ก ๆ
เรื่องที่ใหญ่กว่านั้นในกระบวนการบริหารคือ องค์กรให้คุณค่ากับการ "พูดจริงทำจริง" แค่ไหน ระบบประเมินผลขององค์กร ที่เชือมโยงไปสู่การให้ Reward & Recognition ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน รวมไปถึงการปรับระดับ แนวทางในการเลือกใครขึ้นมาเป็น Leader ถูกออกแบบมาเพื่อสนับสนุนให้เกิด Culture of Trust ใช่หรือไม่
ถ้าไม่ใช่ นั่นหมายความว่าองค์กรคาดหวังให้เกิด Trust แต่ไม่ได้ออกแรงหรือสร้างตัวเร่งให้เกิด ตีความเป็นนัย ๆ คือ ไม่ได้รีบร้อนให้บริหารด้วย Trust
เรื่องจริงคือไม่ใช่ แทบจะทุกองค์กรอยากเดินไปข้างหน้าให้เร็วขึ้น แต่ลืมที่จะมองและสร้างการบริหารด้วย Trust ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ลองเช็คดูง่าย ๆ คือเราฟังกันแค่ไหนเวลาที่เกิดปัญหาหรือมีความขัดแย้งในองค์กร และผลสรุปสุดท้ายของการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้ง เราเลือก The Best Solution หรือเราเลือกจากคนที่เสียงดังที่สุด
และแน่นอนว่าองค์กรประกอบที่สำคัญที่ทำให้องค์กรขับเคลื่อนไปด้วย Trust คือ Empowerment ให้กับ The Right People เพราะฉนั้นเราต้องเริ่มจากการเลือก The Right People ที่มีทั้ง Character และ Capability ที่ใช่ ซึ่ง The Right People เองก็ต้อง "พูดจริงทำจริง" และรักษา "ความสม่ำเสมอ" ไว้ให้ได้ภายใต้เงื่อนไขของการกระบวนการบริหารคนในองค์กร
องค์กรที่บริหารแบบไม่เชื่อใจใน The Right Person นั่นก็คือต้นทุนอีกแบบนึงที่เราต้องเสียไปโดยไม่ได้อะไรตอบแทน
ทุกการลงทุนมีความเสี่ยง การไม่ลงทุนก็ทำให้เกิดความเสี่ยง การลงทุนด้วยการบริหารอย่างเป็นระบบและสร้างวัฒนธรรมในความเชื่อใจ จะสนับสนุนและผลักดันให้เกิด Creativity และ Innovation ที่จะส่งผลต่อไปถึงความยั่งยืนขององค์กร และเป็นการบริหาร The Right People ให้แสดงศักยภาพอย่างเต็มที่
กลยุทธ์ นโยบาย กระบวนการในการบริหาร People & Organization สร้างให้เกิด Trust ในองค์กรแล้วหรือยัง
#PeopleStrategy #OrganizationStrategy
#QGEN
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「organizationstrategy」的推薦目錄:
- 關於organizationstrategy 在 HR - The Next Gen Facebook 的最佳貼文
- 關於organizationstrategy 在 HR - The Next Gen Facebook 的最讚貼文
- 關於organizationstrategy 在 HR - The Next Gen Facebook 的精選貼文
- 關於organizationstrategy 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
- 關於organizationstrategy 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於organizationstrategy 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於organizationstrategy 在 Organizational Strategy - YouTube 的評價
- 關於organizationstrategy 在 Organization as Strategy 的評價
organizationstrategy 在 HR - The Next Gen Facebook 的最讚貼文
QGEN - HR Practice Provider
Trust หรือความเชื่อใจคือหนึ่งในการยอมรับให้เกิดความเสี่ยง แต่การไม่เชื่อใจก็เป็นความเสี่ยงรูปแบบที่มีผลต่อความยั่งยืนในองค์กร องค์กรที่จะขับเคลื่อนต่อไปด้วย Distrust คือองค์กรที่ให้ความสำคัญกับ Process ใส่ Input ไปเท่าไหร่ Output ต้องออกมาตามที่คาดหวังไว้ มี Efficiency เป็นตัวชี้วัดที่จะบอกว่าองค์กรทำสำเร็จหรือไม่
Creativity และ Innovation คือสิ่งที่หายไป และนั่นคือต้นทุนสำคัญที่ Distrust Organization ต้องจ่าย แต่ถ้านั่นไม่ใช่เป้าหมายที่สำคัญขององค์กร ให้จ่ายเยอะแค่ไหนก็ไม่ใช่เรื่องที่องค์กรต้องใส่ใจ
คำถามที่น่าสนใจคือ องค์กรของเรามี "Trust" ในกระบวนการบริหารแค่ไหน แล้วเป้าหมายขององค์กรต้องใช้ "Trust" ในระดับไหนในการขับเคลื่อนองค์กร แล้วกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่องค์กรออกแบบมา ไปด้วยกันได้ดีกับการสร้าง Culture of Trust ใช่หรือไม่
เมื่อไหร่ที่องค์กรบอกว่าเราจะใช้ Trust ในการขับเคลื่อนองค์กร นั่นหมายถึงว่าองค์กรให้ Value กับ People มากกว่า Process นี่คือจุดที่สำคัญเพราะถ้าหาก People & Organization Policy, Practice และ Strategy ขัดแย้งกับการที่บอกว่า "Trust คือสิ่งสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร"
นั่นคืออีกหนึ่งต้นทุนที่เราต้องจ่ายไปโดยที่ไม่ได้อะไรตอบแทน
สิ่งที่องค์กรต้องการในวันนี้ คือ The Right People คนที่เก่งคนที่ใช่ เราใช้เวลาและกระบวนการที่มีต้นทุนในการเลือกคนที่ใช่มาเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร เมื่อถึงเวลาที่เค้ามาทำงานให้กับองค์กร องค์กร Control หรือ Empower ให้คนเก่งได้ทำงาน
การแสกนลายนิ้วมือลงเวลาในการทำงาน ยังจำเป็นอยู่มั้ย ถ้าเราบอกว่าเราเลือกคนที่ใช่มาแล้ว ทำไมเราถึงไม่ไว้ใจเค้า หรือจริง ๆ แล้วกระบวนการคัดเลือกของเรา ไม่ได้ดีพอที่จะเลือกคนที่เรา Trust ได้มาเป็นส่วนหนึ่งของทีม
นี่อาจจะยังเป็นเรื่องเล็ก ๆ
เรื่องที่ใหญ่กว่านั้นในกระบวนการบริหารคือ องค์กรให้คุณค่ากับการ "พูดจริงทำจริง" แค่ไหน ระบบประเมินผลขององค์กร ที่เชือมโยงไปสู่การให้ Reward & Recognition ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน รวมไปถึงการปรับระดับ แนวทางในการเลือกใครขึ้นมาเป็น Leader ถูกออกแบบมาเพื่อสนับสนุนให้เกิด Culture of Trust ใช่หรือไม่
ถ้าไม่ใช่ นั่นหมายความว่าองค์กรคาดหวังให้เกิด Trust แต่ไม่ได้ออกแรงหรือสร้างตัวเร่งให้เกิด ตีความเป็นนัย ๆ คือ ไม่ได้รีบร้อนให้บริหารด้วย Trust
เรื่องจริงคือไม่ใช่ แทบจะทุกองค์กรอยากเดินไปข้างหน้าให้เร็วขึ้น แต่ลืมที่จะมองและสร้างการบริหารด้วย Trust ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ลองเช็คดูง่าย ๆ คือเราฟังกันแค่ไหนเวลาที่เกิดปัญหาหรือมีความขัดแย้งในองค์กร และผลสรุปสุดท้ายของการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้ง เราเลือก The Best Solution หรือเราเลือกจากคนที่เสียงดังที่สุด
และแน่นอนว่าองค์กรประกอบที่สำคัญที่ทำให้องค์กรขับเคลื่อนไปด้วย Trust คือ Empowerment ให้กับ The Right People เพราะฉนั้นเราต้องเริ่มจากการเลือก The Right People ที่มีทั้ง Character และ Capability ที่ใช่ ซึ่ง The Right People เองก็ต้อง "พูดจริงทำจริง" และรักษา "ความสม่ำเสมอ" ไว้ให้ได้ภายใต้เงื่อนไขของการกระบวนการบริหารคนในองค์กร
องค์กรที่บริหารแบบไม่เชื่อใจใน The Right Person นั่นก็คือต้นทุนอีกแบบนึงที่เราต้องเสียไปโดยไม่ได้อะไรตอบแทน
ทุกการลงทุนมีความเสี่ยง การไม่ลงทุนก็ทำให้เกิดความเสี่ยง การลงทุนด้วยการบริหารอย่างเป็นระบบและสร้างวัฒนธรรมในความเชื่อใจ จะสนับสนุนและผลักดันให้เกิด Creativity และ Innovation ที่จะส่งผลต่อไปถึงความยั่งยืนขององค์กร และเป็นการบริหาร The Right People ให้แสดงศักยภาพอย่างเต็มที่
กลยุทธ์ นโยบาย กระบวนการในการบริหาร People & Organization สร้างให้เกิด Trust ในองค์กรแล้วหรือยัง
#Trust #Culture
#PeopleStrategy #OrganizationStrategy
#QGEN
organizationstrategy 在 HR - The Next Gen Facebook 的精選貼文
NO RULES RULES Netflix and the Culture of Reinvention เป็นหนังสืออีกเล่มที่ออกมากระทุ้งผู้บริหารอีกทีว่าวิธีการที่เราใช้บริหารองค์กร บริหารคนในตอนนี้ยังใช่อยู่หรือไม่
ไม่ใช่ประเด็นที่เราจะพูดกันว่าเป็นเรื่องใหม่ เป็นเรื่องทันสมัยหรือเป็นเรื่องโบราณ แต่คำถามที่สำคัญที่สุดคือมันใช่หรือเปล่า เพราะใหม่ไม่ได้แปลว่าเหมาะ แพงไม่ได้หมายความว่าจะมีประสิทธิภาพเสมอไป
ความเชื่อนึงที่ผมมีเสมอในการบริหารคือ มีกฎให้น้อยที่สุด เท่าที่จำเป็น แล้วเมื่อไหร่ที่คิดจะตั้งกฎเพิ่ม คิดให้ดี ๆ ก่อนว่านั่นเป็นกฎที่ส่งเสริมศักยภาพในการทำงานใช่หรือไม่ หรือตั้งกฎเพิ่มขึ้นมาเพื่อควบคุมคนที่ "ไม่ใช่" ให้ออกนอกลู่นอกทางให้น้อยที่สุด
นี่คือช่วงเวลาที่เราต้องโฟกัสไปที่ "คนที่ใช่" มากกว่าคนที่ไม่ใช่ และวิธีการบริหารคนที่ใช่เริ่มต้นตั้งแต่การเลือก The Right People at First Time คือสิ่งที่ Netflix เอง Google เอง และหลายองค์กรให้ความใส่ใจเป็นอันดับต้น ๆ ถ้าอยากให้องค์กรเดินหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็๋ว และจับต้องได้
แล้วถ้าอยากได้คนที่ใช่ ก็ยอมจ่ายให้แพงกว่าคนอื่น นี่คือกลยุทธ์ของ Netflix
ต้องเงินเหลือ ๆ ใช้มั้ยถึงใช้กลยุทธ์แบบนั้นได้ นั่นก็อาจจะใช่ แต่ผมก็มั่นใจว่าองค์กรอย่าง Netflix มองเห็นถึงความคุ้มค่า ถ้ายอมจ่ายราคา Average แล้วผลลัพธ์ Average ด้วย องค์กรจะเดินหน้าทิ้งห่างคนอื่นได้ยังไง
องค์กรอย่างเราควรเอาอย่างมั้ย ผมแนะนำให้เราพิจารณาหา Strategic Position ของเราให้เจอ แล้วลองใช้กลยุทธ์ Pay Top of Personal Market เหมือนที่ Netflix ทำดู ย้ำอีกทีว่า Focus ที่ Strategic Position ก่อน ยังไม่จำเป็นต้องทำทุกตำแหน่ง ผมมั่นใจว่าการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเร็วกว่าที่เราคาดหวังไว้
แต่ต้องไม่ลืมว่า เราควรจ่ายแบบนี้ให้ "คนที่ใช่" ต้องมั่นใจว่าคนที่ใช่คือคนที่ผลงานได้ดีกว่าคนอื่น X เท่า
อีกอย่างคือเมื่อได้คนที่ใช่มาร่วมงานกับเรา ด้วยการจ่ายที่ Top of Market แล้ว อย่าดูแลเค้าเหมือนดูแลเด็ก Treat เค้าอย่างมืออาชีพ เหมือนผู้ใหญ่คุยกับผู้ใหญ่ อย่าจ้างใครมาแพง ๆ แล้วทำเหมือนเค้าทำอะไรไม่เป็น ตัดสินใจอะไรไม่ได้
เพราะต่อให้จ่ายแพงแค่ไหนให้คนที่ใช่ ถ้าบริหารจัดการเค้าอย่างไม่มืออาชีพ ไม่ให้คุณค่าที่สมราคา องค์กรของเราก็อาจจะไม่ใช่องค์กรที่ใช่สำหรับคนเก่งเช่นกัน
#TheRightPeople #PeopleStrategy #OrganizationStrategy
#NoRulesRules #Netflix
#QGEN
organizationstrategy 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
organizationstrategy 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
organizationstrategy 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
organizationstrategy 在 Organization as Strategy 的推薦與評價
10.4 Organization as Strategy. Organizational design should be about developing and implementing corporate strategy. In a global context, ... ... <看更多>
organizationstrategy 在 Organizational Strategy - YouTube 的推薦與評價
Organizational Strategy is about having a plan, a comprehensive set of actions an organization intends to take to achieve its long term ... ... <看更多>