【📗輕量級 顧客人物誌 Buyer Persona 介紹】
顧客人物誌,與使用者人物誌一樣皆為一個模型,而它並不純然只從用戶行為所關注的產品易用性作為主要考量。顧客人物誌關注角色間的相關利益人員,從購買產品的決策者視角切入。因此,決策者可能有更多的考量,例如對於公司的成本、對於長期收益的影響。購買的決策人在商業角色中可能是最終用戶的部門決策者、公司決策團隊或領導者、IT團隊、採購部門。
👾如果喜歡這篇內容,歡迎按讚、分享給需要的夥伴!
Code For Marketing 也會繼續努力,就讓我們一起學習、成長吧!
👾點下方連結看更多📎
《輕量級 | 顧客人物誌 Buyer Persona 介紹》
👉 https://blog.codeformarketing.co/marketresearch-basics-buyer-persona/
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「persona marketing」的推薦目錄:
persona marketing 在 Code For Marketing Facebook 的最讚貼文
【📗輕量級 使用者人物誌 User Persona 介紹】
使用者人物誌,就是一個模型,基於使用者行為模式所建立出來的模型。其目標和特徵代表了使用者的需求,並描述行為模式、目標、技能、態度和背景信息,以及使用者會使用商品的環境。
一個好的模型,在它的結構或組建之間的關係上應該要有顯著的特徵,舉例來說,一個汽車的模型,我們一定能看到輪子,而這個輪子就是它顯著的特徵。所以一個人物誌也應該要有這樣的特徵,包含著最重要的部分,並將不重要、沒有任何幫助或是會造成歧視、誤會的特徵去除。
👾如果喜歡這篇內容,歡迎按讚、分享給需要的夥伴!
Code For Marketing 也會繼續努力,就讓我們一起學習、成長吧!
👾點下方連結看更多📎
《輕量級 | 使用者人物誌 User Persona 介紹》
👉 https://blog.codeformarketing.co/marketresearch-basics-user-persona/
persona marketing 在 อ้ายจง Facebook 的精選貼文
วิเคราะห์ "การสื่อสารการตลาด" กรณี "ดราม่า รองเท้าแตะ" ทำไม คอนเท้นที่คิดว่า "ปัง" กลับกลายเป็น "ดราม่าวงกว้าง"
-----
ในฐานะของทั้งคนที่ทำงานสายที่ปรึกษาการตลาด และเป็นอาจารย์สอนทางด้านการตลาดดิจิทัล-สื่อสารการตลาด เมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา ผมจึงได้เขียนบทวิเคราะห์ถึงกรณี "ประเด็นดราม่า Youtuber ชาวไทยกล่าวถึงรองเท้าแตะ เป็นสิ่งไม่ควรใส่ในยุคนี้" ส่งไปให้นักศึกษาที่ผมสอน
.
เพราะชั่วโมงนี้ มีแต่คนพูดถึงเรื่องนี้ แต่เราลองมาดูเบื้องหลัง "หลักการตลาด" ที่แฝงอยู่ในดราม่านี้กันบ้าง เลยขอนำมาแชร์ที่นี่ด้วย
.
"Content is King" เป็นประโยคคุ้นหูคุ้นตาตีคู่มากับยุครุ่งเรืองของ Digital Content ยุคที่ทุกคนสามารถสร้างเนื้อหาออกมาได้ตลอดเวลา
.
แข่งกันที่เนื้อหา ของใครน่าสนใจ ของใครมีกิมมิค แปลกแหวกแนว หรืออะไรก็ตามที่ "ดีพอ" และ "โดนใจ" กลุ่มเป้าหมาย จนเขารับรู้ อินตาม และทำอะไรบางอย่างตามจุดประสงค์ที่เราส่งต่อผ่านเนื้อหานั้น
.
เราเลยลุยๆๆๆแต่การสร้าง Content ออกมา
.
การทำเนื้อหาที่ดี มันควรเป็นอีกประโยค : Content is King But Context is God
คอนเท้นเป็นพระราชา แต่ Context หรือบริบทที่เราต้องคำนึงถึงกลุ่มรับสาร เปรียบดั่ง พระเจ้า
.
กล่าวคือ
"เรามักจะคิดว่าทำคอนเท้นออกมาดีแล้ว ซึ่งมันอาจจะดีแค่ในมุมของเรา
แต่ถ้าขาดการมอง Context หรือบริบทของกลุ่มเป้าหมายที่รับสารของเรา ทั้งกลุ่มเป้าหมายโดยตรงและโดยอ้อม มันก็จะเกิดเป็นปัญหาได้"
.
เราได้เห็นทั้งจากแบรนด์ระดับโลก D&G ที่ทำคลิปโปรโมทแฟชั่นในเซี่ยงไฮ้เมื่อสองสามปีก่อน แต่ในคลิปมีเนื้อหาละเอียดอ่อน ทำให้คนจีนมองว่า ดูถูกคนจีนในมุม ไม่รู้จักกินอาหารอิตาเลียน ใช้ตะเกียบคีบทุกสิ่ง จนแบรนด์โดนแบนในจีนไปเลย
.
จะสื่อสารการตลาดไปที่กลุ่มไหน ก็ควรรู้เกี่ยวหับเขาสักหน่อยว่าเขาชอบไม่ชอบ อยากรับ หรือไม่อยากรับสารอะไร
.
และกรณีของ Youtuber ชาวไทยคนนี้ก็เช่นกัน ที่กำลังดังตอนนี้
.
Context ของคนไทยคือ ชอบใส่รองเท้าแตะ มองว่ามันสบายๆ ใส่ได้ทุกไทย เพราะไทยเมืองร้อน แต่รองเท้าผ้าใบ รองเท้าอื่นๆก็ใส่กัน มันอยู่ที่กาลเทศะ สถานการณ์และความพึงพอใจแต่ละบุคล
.
เท่าที่ดูคลิปนะครับ Youtuberคนนี้มีเทคนิคการทำคอนเท้นค่อนข้างโอเคเลยนะ ก็คือ Storytelling มีการเล่าเรื่องออกมา สร้างตัวละคร สร้าง้หตุการณ์ต่างๆ เพื่อเข้าถึงคนรับสาร
.
แต่สิ่งหนึ่งที่เรามักหลงลืมไปเวลาใช้หลัก Storytelling คือ
"..เราต้องคำนึงถึงการนำสารอะไรก็ตามที่เราจะสื่อจากเรา ไปจับใจ ไปเข้าถึงหัวใจ ให้อยู่ในใจคนเหล่านั้นนะ " เวลาทำการตลาด ถึงต้องมีการวิเคราะห์ Customer Persona วางไว้เลยว่าลูกค้า-กลุ่มเป้าหมายเราหน้าตาเป็นไง พฤติกรรมอย่างไร จะได้สื่อสารถูกจริต
.
ดังนั้น อะไรที่สื่อไปแล้ว มันกลายเป็น "ลบ" ในใจของพวกเขา ไม่ว่าจะกลุ่มเป้าหมายหลัก หรือกลุ่มเป้าหมายรอง หรือคนรอบข้างของกลุ่มเป้าหมายที่เราตั้งไว้ เราก็ "ไม่ควร" ใช้สารนั้นส่งออกไป
.
นอกจากนี้ อีกหนึ่งหลักการตลาดที่ได้เห็นจากคลิปนี้
พยายามใช้ emotional marketing เข้าถึงกลุ่มฐานแฟนของตนเอง และคนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย คือ ชอบการแต่งตัวดูดี และเน้นการเปรียบเทียบชัดเจน "รองเท้าแตะ vs ผ้าใบแบรนด์เนม"
.
ทว่า มันเกินขอบเขต ลืมมองบริบทไป จนมีประโยค "อยากเตะคนใส่รองเท้าแตะด้วยจอร์แดน"
.
ในคลาส Emotional Marketing ผมเคยบรรยายแก่นักศึกษาว่า
"Clip ที่มีอารมณ์ โกรธ มันเป็นไวรัลไวเสมอ"
.
จริงๆตัวคลิปนี้ ไม่ได้จะเป็นอารมณ์นี้ทั้งคลิปนะ แต่พอมีคนตัดตอนบางช่วงที่เป็นปัญหามาตีแผ่ มันก็ดราม่า Viral ทันที
.
ถ้ามองใน ทฤษฎีความต้องการ 5 ขั้นของแมสโลว์ ที่กล่าวถึงความต้องการของมนุษย์เรา มีอยู่ 5 ขั้น
# ขั้น 1: ต้องการปัจจัยสี่ ปัจจัยพื้นฐานในการใช้ชีวิตให้อยู่รอดได้
# ขั้น 2: ความปลอดภัย
# ขั้น 3: การยอมรับ ความรักจากครอบครัว คนรอบข้าง สังคม
# ขั้น 4: ชื่อเสียง รางวัล เกียรติยศ
# ขั้น 5 : ความเป็นตัวของตัวเอง ตามที่เรามักเคยเห็นประโยคทองที่เคยนำมาใช้โปรโมทแนวการลงทุน การหารายได้เสริม เช่น "ปลดปล่อยอิสระทางการเงิน" เป็นต้น
.
Youtuber คนนี้ พยายามสื่อออกมาในขั้นที่ 3 ต้องการการยอมรับ คือยอมรับในแนวติดของเขา ยอมรับในตัวเขา
.
ขั้นที่ 4 ต้องการชื่อเสียง ได้รับการยกย่อง อย่างน้อยก็จากกลุ่มแฟนและคนที่ชอบในแนวเดียวกันพวกการแต่งตัวต่างๆ ตามที่สื่อในคลิป และขั้นที่ 5 ความเป็นตัวของตนเอง อิสระ Freedom
.
แต่มันก็กลายเป็นดราม่า เพราะคนอื่นๆก็มีความต้องการ ขั้นที่ 3 เช่นกัน คือคนที่ใส่รองเท้าแตะ ก็เหมือนถูกโดนด่ากลางสี่แยก เลย ตีแผ่ประเด็น ทุกคนที่ใส่รองเท้าแตะเป็นปกติ ซึ่งก็คือคนไทยเรานี่แหล่ะ ก็เลยพากันเข้าร่วม
.
ขั้นที่ 4 พอประเด็นนี้เป็น Viral เพจน้อยเพจใหญ่ แบรนด์ รวมถึงคนมั่วไป ก็ร่วมแจมด้วย เพราะมันเป็นโอกาสที่คนจะได้เห็นคอนเท้นของเรามากขึ้น กระแสเลยยิ่งโหมไปอีก
.
และสุดท้าย ขั้นที่ 5 จะเห็นเลยว่าส่วนใหญ่แสดงความเห็นและอารมณ์ออกมาในมุม
"ก็สิทธิของเรานี่นาที่จะใส่อะไร เรามีอิสระที่จะทำ"
.
ขอจบ session วิเคราะห์การสื่อสารการตลาดในมุมมองของอ้ายจง แต่เพียงเท่านี้ หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อทุกคนนะครับ หากมีผิดพลาดหรือตกหล่นอะไรไป แสดงความคิดเห็น ช่วยเสริมเพิ่มเติมได้เลยครับ
#อ้ายจง #เล่าเรื่องเมืองจีน #ชีวิตในจีน #การตลาด
persona marketing 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
persona marketing 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
persona marketing 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
persona marketing 在 How To Create Personas For Marketing In 2021 - Digital ... 的相關結果
A marketing persona is a “fictional” representation of an actual user and is applied in the early stages of product development or product ... ... <看更多>
persona marketing 在 How to Create Detailed Buyer Personas for Your Business ... 的相關結果
How can buyer personas be used in marketing? ... At the most basic level, developing personas allows you to create content and messaging that ... ... <看更多>
persona marketing 在 The Beginner's Guide to Creating Marketing Personas ... 的相關結果
What are marketing personas? · Composite sketch – A marketing persona is not supposed to detail one specific person and should never be based off one specific ... ... <看更多>