เปิดประเด็นข้อเท็จจริง “จริงหรือไม่? อเมริกาและประเทศพันธมิตร ไม่อนุญาตให้คนจีนไปเรียนอีกต่อไป"
.
จริงๆมีคนถามมาตั้งแต่เมื่อวันก่อน และตอบไปในข้อความส่วนตัวแล้ว ถึงกรณีมีการโพสต์เนื้อหาบนโลกโซเชียลว่า "อเมริกา และหลายประเทศในยุโรปแบนนักศึกษาจีน" เลยอยากเขียนถึงเรื่องนี้สักหน่อย เผื่อเป็นข้อมูลสำหรับทุกคนในพิจารณาข้อเท็จจริงครับ
.
1. อเมริกาไม่ได้ "ห้าม" หรือ "ไม่อนุญาต" นักศึกษาจีนเข้าไปเรียนที่อเมริกาอีกต่อไป เหมือนกับที่มีการเขียนโพสต์ออกมาและแชร์ไปเป็นจำนวนมากก่อนหน้านี้ ยังคงมีนักศึกษาจีนได้รับการตอบรับเพื่อเข้าเรียนในอเมริกา และเริ่มเดินทางไปยังอเมริกาแล้วโดยเฉพาะเดือนสิงหาคมนี้ หลังจากอเมริกาผ่อนคลายมาตรการเข้มงวดในการขอวีซ่าและเดินทางเข้าอเมริกา โดยอนุญาตให้นักเรียนจีนเดินทางเข้าอเมริกาได้ สำหรับโปรแกรมการศึกษาที่จะเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2021 เป็นต้นไป มีเงื่อนไข “เดินทางเข้าอเมริกาล่วงหน้า ไม่เกิน 30 วัน ของเวลาเปิดเทอม - เริ่มคอร์ส”
.
แต่ต้องยอมรับว่า "มีข้อจำกัดมากขึ้นจากหลายปัจจัย เช่น จากวิกฤติโควิด ค่าตั๋วค่าเดินทางแพงขึ้น ตามข้อมูลจาก SCMP (South Morning China Post) สื่อเอกชนที่รายงานเรื่องจีน นำเสนอสกู๊ป "The high price Chinese students pay for university in the US during the Covid-19 pandemic" เผยแพร่ 21 สิงหาคม 2564 ระบุ "ค่าตั๋วเครื่องบินจากจีนเข้าอเมริกา ราคาสูงมากทีเดียว ตัวอย่างเช่น ตั๋วเที่ยวเดียวจากปักกิ่งหรือเซี่ยงไฮ้ ไปยังปลายทางมหานครนิวยอร์ก บอสตัน หรือเมืองใหญ่อีกหลายเมืองในอเมริกา ต้องจ่ายเงินสูงถึงราว 20,000 หยวน ( ประมาณ 1 แสนบาท)"
.
2. เรื่องของการเมือง มีผลกระทบจริงต่อการเรียนต่อในอเมริกาของนักเรียนนักศึกษาจีน แต่ยังสามารถไปได้อยู่ ไม่ใช่ ห้าม 100% ดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้น โดยในบทความของ SCMP (ที่อ้างอิงข้างบน) ยังระบุคำสัมภาษณ์นักศึกษาจีน
“ความสัมพันธ์ของสองประเทศยังคงมีปัญหา และกระแสชาตินิยมในจีนยิ่งสูงขึ้นเรื่อยๆ การตัดสินใจเรียนต่อในอเมริกาไมใช่เรื่องง่ายเลย แต่หวังว่าจะคุ้มค่ากับเงินและอุปสรรคปัญหาต่างๆที่เจอ”
.
3. ตั้งแต่ช่วงสงครามการค้าจีนอเมริกาอย่างหนักเมื่อช่วงปี 2019 อเมริกาได้ประกาศแบนหลายสินค้าและบริษัทของจีน อย่างเช่น Huawei ซึ่งไม่เว้นแม้แต่สถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยในจีนที่โดนแบนไปทั้งหมด 6 แห่ง (รวมถึงมหาวิทยาลัยที่อ้ายจงเรียนจบมา) โดยล้วนเกี่ยวข้องกับสายเทคโนโลยีและวิศวกรรมของจีน มีชื่ออยู่ในบทความของสื่อจีน South China Morning Post เมื่อปี2015 ว่า เป็น TOP5 มหาวิทยาลัยจีนที่ทำโปรเจคลับและสำคัญสุดๆให้แก่จีน
.
ในฐานะที่เป็นศิษย์เก่าสถาบันที่มีอยู่ในรายชื่อแบนของอเมริกา ผมจึงสอบถามไปยังเพื่อนคนจีนที่ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ในมหาวิทยาลัยแห่งนั้น โดยรับคำตอบว่า “เคยมีเหมือนกันที่อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษาปัจจุบัน และศิษย์เก่า รู้สึกว่า “ขอวีซ่าเข้าอเมริกายากขึ้นจริง”
.
4. ปี 2020 อเมริกาประกาศ “แบนและยกเลิกวีซ่านักศึกษาแก่นักศึกษาจีน” อย่างน้อย 2 รอบ สืบเนื่องมาตั้งแต่ความขัดแย้งทางการค้าในสงครามการค้าสองประเทศ โดยเหตุผลที่ยกเลิกวีซ่า อเมริกายกเหตุผล “นักศึกษาจีนเหล่านี้ มีความเกี่ยวข้องกับทางการทหารจีน และขโมยข้อมูลสำคัญของทางอเมริกาไปให้แก่ทางจีน” คาดว่ามีนักศึกษาจีนได้รับผลกระทบอย่างน้อย 3,000 – 5,000 คน จากจำนวนนักศึกษาจีนทั้งหมดที่เรียนในอเมริกาช่วงปีการศึกษา 2019-2020 372,000 คน คิดเป็นสัดส่วน 1 ใน 3 ของนักศึกษาต่างชาติหลักล้านคนในอเมริกา (อ้างอิงตัวเลขจาก China Daily สื่อจีน)
.
มีนักศึกษาจีนบางคนที่โดนแบนให้สัมภาษณ์กับสื่อ อย่างเช่น นักศึกษาหนุ่มจีนนาม “Dennis Hu” ให้สัมภาษณ์ต่อ CNN ว่า “เดินทางกลับจากอเมริกาไปยังบ้านในประเทศจีน เพื่อฉลองตรุษจีน (ช่วงจีนเกิดระบาดโควิด) และจะกลับไปต่อวีซ่าอเมริกา เพื่อกลับไปทำปริญญาเอกทางด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ให้จบ แต่ปรากฏว่าเขาเป็น 1 ในนักศึกษาจีนนับพันคนที่โดนแบนวีซ่า ไม่ให้กลับไปศึกษาต่อในอเมริกา และแน่นอนว่า เขาก็เหมือนกับทุกคนที่โดนแบน ยืนยัน ไม่ได้เกี่ยวข้องใดๆหรือเป็นสายลับให้กับรัฐบาลจีน”
.
5. เรื่องราวของความขัดแย้งทางการค้าและการเมือง ส่งผลกระทบต่อการไปเรียนอเมริกาของคนจีนมาสักพักใหญ่ๆแล้ว แต่ไม่ได้เป็นการแบนแบบหว่านแห ทุกมหาวิทยาลัย ทุกคน
“เหตุผลหลักๆมาจากประเด็นความปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศ การเกรงกลัวว่าข้อมูลสำคัญจะหลุดรั่วไหลไปยังรัฐบาลจีนและกองทัพจีน ผ่านทางนักเรียนนักศึกษาและนักวิจัยจีน โดยเฉพาะทางสายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ หรือเรียกรวมว่า STEM
.
บทความบนเว็บไซต์ Global Times สื่อกระบอกเสียงจีน ที่เผยแพร่เมื่อกรกฎาคมปีนี้ (2021) รายงานข้อมูล “ปัจจุบัน อเมริกาปฏิเสธวีซ่าแก่นักเรียนจีนที่ตั้งใจจะไปเรียนทางสาย STEM (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์) มากกว่า 500 คน”
.
6. อีกหนึ่งบทความบนเว็บไซต์ Global Times เมื่อพฤษภาคม 2021 Global Times รายงานข้อมูลจาก Gewai Education บริษัทแนะแนวศึกษาต่ออเมริกา ซึ่งเผยข้อมูลการขอวีซ่าอเมริกาของนักเรียนจีนจำนวนหนึ่งโดนปฏิเสธ เพราะพ่อแม่ผู้ปกครองทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงอยู่ในหน่วยงานเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศจีน รวมถึง หน่วยงานปราบปรามคอรัปชั่นและตรวจคนเข้าเมือง
.
7. จากมาตรการของประเทศสหรัฐอเมริกา เข้มงวดเรื่องวีซ่าแก่นักเรียนนักศึกษาจีน รวมถึงนักวิจัยจีน ด้วยเหตุผลเรื่องความปลอดภัยและความมั่นคง เคยมีการนำเสนอข่าวออกมาโดยสื่อต่างประเทศเหมือนกันว่า ประเทศพันธมิตรของอเมริกาบางประเทศ มีการดำเนินนโยบายคล้ายๆกันนี้ อย่างเช่น ญี่ปุ่น ตามการรายงานข่าวของ The Straits Times
.
และ แคนาดา ก็เคยมีการเรียกร้องให้มหาวิทยาลัยแคนาดา ระมัดระวังการทำวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยจีน เพราะข้อมูลอาจรั่วไหลไปถึงรัฐบาลจีน อย่างยิ่งทางการทหารจีน เป็นความวิตกกังวลและกลัวในประเด็นเดียวกันกับที่อเมริกาให้เหตุผลแบนวีซ่านักเรียนนักศึกษาและนักวิจัยจีน (ตามการรายงานของ CBC สื่อแคนาดา)
.
8. จีนตอบโต้นโยบายเข้มงวดแก่นักศึกษาจีนของอเมริกามาโดยตลอด ตั้งแต่ปี 2019 สงครามการค้าจีนอเมริกา รัฐบาลจีนออกประกาศเตือนประชาชนถึงการไปเรียนต่อและเที่ยวที่ประเทศสหรัฐอเมริกาให้ระมัดระวังในเรื่ิองของการขอวีซ่าที่มีข้อจำกัดมากขึ้น ให้ระยะเวลาอยู่ในอเมริกาลดน้อยลงกว่าที่ควรจะเป็น โดยเฉพาะส่งผลโดยตรงต่อนักศึกษาจีนที่ต้องการไปเรียนต่อที่อเมริกา
.
9. ไม่ใช่อเมริกา “เพิ่มข้อจำกัดในการขอวีซ่าแก่ชาวจีน เพียงอย่างเดียว” ประเทศจีนเองก็เข้มงวดแก่ชาวอเมริกา อย่างเช่นเมื่อช่วงเดือนมิถุนายน 2020 ทางการจีน ออกมาตรการ ‘เพิ่มข้อจำกัดในการออกวีซ่าแก่ชาวอเมริกัน ที่มีพฤติกรรมเชิงลบต่อเรื่องราวของจีนและฮ่องกง โดยในปี 2020 เป็นปีที่อเมริกายกเลิกวีซ่านักเรียนจีนหลักพันคน ตามการวิเคราะห์ของผู้เชี่ยวชาญและสื่อต่างประเทศ อาทิ ABC News และ Wall Street Journal มองว่า “เบื้องลึกไม่ใช่ประเด็นความมั่นคงอย่างเดียว แต่เป็นการต่อต้านการออกกฎหมายความมั่นคงแห่งชาติที่จีนนำไปใช้กับฮ่องกง”
.
10. การแก้ไขปัญหาสมองไหล-หัวกะทิ-ประชาชนผู้มีความสามารถไปใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศ อย่างยิ่งในอเมริกา ให้กลับมายังประเทศจีน มีส่วนมาผลจากความขัดแย้งทางการเมืองและปัญหาทางการค้าจีนอเมริกา ทำให้คนจีนในอเมริกาเรียนจบ หรือทำงานในอเมริกาอยู่แล้ว ย้ายกลับจีนมากขึ้น แต่ไม่ใช่เหตุผลทั้งหมด เพราะจีนดำเนินนโยบายดึงดูดคนจีนเก่งๆให้กลับมาประเทศจีน ตั้งแต่ก่อนเกิดสงครามการค้าจีนอเมริกาและการขัดแย้งทางการเมืองอย่างหนัก
.
จากประสบการณ์จริงของอ้ายจง สมัยไปทำวิจัยที่เมืองซีอานปี 2014 ตอนนั้นที่แลปดีลกับมหาวิทยาลัยในอเมริกาและยุโรปเยอะมากในด้านทำการวิจัย
.
ภายใต้การร่วมมือแต่ละครั้ง ทางแลปและมหาวิทยาลัยจะดีลโดยตรงส่วนตัวกับอาจารย์-ศาสตราจารย์จีนที่ทำงานในอเมริกา ให้มาเป็นอาจารย์และนักวิจัยในมหาวิทยาลัยจีน โดยดึงดูดด้วยผลตอบแทนและโอกาสก้าวหน้าทางอาชีพ เพื่อให้คนเก่งหัวกะทิเหล่านี้มั่นใจว่า “คุ้มค่าในการกลับไปยังประเทศบ้านเกิดเมืองนอน” (อ่านบทความเต็มที่ผมเคยเขียนเกี่ยวกับการแก้ปัญหาสมองไหลของจีน ได้ที่ https://www.blockdit.com/posts/60785b284bbb3e0c2e04f976)
.
#สรุป อเมริกาและประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะประเทศพันธมิตรของอเมริกา มีข้อจำกัดในการให้วีซ่าแก่ประชาชนชาวจีนจริง ในการเข้าศึกษาต่อและทำวิจัย แต่ขอเน้นย้ำว่า “ไม่ใช่การจำกัด หรือแบนแบบ 100%“ และจากตัวเลขตามที่มีรายงานออกมาจากสื่อต่างประเทศและสื่อจีนเอง จำนวนนักศึกษาจีนที่ได้รับผลกระทบ เอาแค่ในประเทศอเมริกา เป็นจำนวน “หลักพัน” จากทั้งหมด 3 แสนกว่าคนที่ศึกษาในอเมริกา ดังนั้น ไม่ใช่สัดส่วน 80% ที่โดนแบนและไล่กลับจีนแบบที่มีการแชร์ก่อนหน้านี้
.
โดยเหตุผลหลักของการแบนและจำกัดวีซ่าแก่คนจีน มาจากเหตุผล “ความมั่นคงและข้อขัดแย้งทางการเมือง” เน้นหนักไปที่การเกรงกลัวข้อมูลสำคัญหลุดไปยังรัฐบาลและทางกองทัพจีน ซึ่งสาขาการเรียนและการวิจัยที่โดนจับตามองเป็นพิเศษ ได้แก่ สาขาสาย STEM - วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์
.
อ้ายจงอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งข่าวทั้งจีน อเมริกา และประเทศอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับประเด็นเนื้อหา โดยใช้เป็นแหล่งข่าวภาษาอังกฤษ เพื่อทุกคนที่สนใจสามารถอ่านและตรวจเช็คข้อมูลได้ครับ
-https://www.scmp.com/news/china/diplomacy/article/3145877/high-price-chinese-students-pay-university-us-during-covid-19)
- https://news.cgtn.com/news/2020-05-30/U-S-bans-some-Chinese-students-from-entering-its-borders-QUoMxQGh4Q/index.html
- https://www.bbc.com/news/world-us-canada-54097437
- https://www.bloomberg.com/news/articles/2020-09-10/u-s-revoked-over-1-000-chinese-visas-over-national-security
- https://www.theguardian.com/world/2020/sep/10/us-cancels-1000-china-student-visas-claiming-ties-to-military
- https://www.globaltimes.cn/page/202104/1222300.shtml
- https://www.globaltimes.cn/page/202105/1223713.shtml
- https://www.globaltimes.cn/page/202107/1228072.shtml
- https://global.chinadaily.com.cn/a/202008/13/WS5f3491d4a31083481725ffd7.html
- http://www.chinadaily.com.cn/a/202107/07/WS60e4dde8a310efa1bd6601c7_2.html
- https://www.straitstimes.com/asia/east-asia/japan-to-tighten-checks-on-visa-applications-by-chinese-students-researchers-over
- https://www.cbc.ca/news/politics/china-canada-universities-research-waterloo-military-technology-1.5723846
#อ้ายจง #เล่าเรื่องเมืองจีน #ชีวิตในจีน #จีน #อเมริกา #เรียนต่ออเมริกา #แบนวีซ่า
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過2,980的網紅Philip Phạm,也在其Youtube影片中提到,English and Study abroad. Get admissions and scholarships to the best universities in the world with low English score, IELTS speaking 5.5! #IELTS_6....
「universities in canada」的推薦目錄:
universities in canada 在 國立臺灣大學 National Taiwan University Facebook 的最佳貼文
【國立臺灣大學109學年度畢業典禮 致詞代表 心理學系林世峰】
Student Address, National Taiwan University Commencement 2021
Shih-Feng Lin from the Department of Psychology
.
校長、各位貴賓、師長,親愛的家長、同學、畢業生,還有所有螢幕前的觀眾朋友,大家好!我是臺大畢業生代表,心理學系四年級的林世峰。
四年來,真的很難忘,我們同學一起在新生書院互加好友,在醉月湖找校鵝,還到舟山路上觀察大笨鳥的慢動作,又騎腳踏車到溫州街裝文青,到118巷當吃貨。多希望一切歲月靜好,但新冠肺炎疫情揮之不去,年輕生命殞落的悲劇突然到來,讓我們成為最迷惘的一屆,也是最獨特的一屆。
學校的活動臨時停辦,線上課程堆積如山,畢業舞會、椰林辦桌又被忍痛取消,最後甚至連實體畢業典禮和謝師宴也成為永遠的遺憾。我有朋友被迫放棄出國交換的機會,而我夢寐以求的芬蘭教育見習也無法成行。計畫被打亂、不安變常態,我們卻又將面臨更多挑戰。
一天,我在溫州街二手書店翻到詹姆斯.卡斯的一句話,震撼了我。這位哲學家將人類活動分為兩種遊戲,他說:「有限遊戲以取勝為目的,無限遊戲以延續遊戲為目的。」當下我驚覺,或許求學路上感到煎熬,就是因為我們被困在有限的遊戲中。有限的學習是一場短跑,只是一種手段,是為了勝過別人來證明自己,而拼命地刷新履歷、獲得標籤。
我回想起大三的一晚,我陪高三的學弟妹們為大考奮戰,原本想說幫忙解題而已,但最後他們卻對我說 :「學長,我讀書感覺好空、好累、好悶……」、「學長,我學這些到底為了什麼……」
是啊!為了考試而讀書、為了標籤而學習,不問意義與價值,讓我們陷入空虛、疲憊與痛苦。於是,我和一群來自超過二十個不同科系的夥伴創立了「臺大青鳥教育社」,有來自超過五所大學甚至香港、加拿大的大學生,一起走進的社區、偏鄉引導國高中生探索學習意義和自我價值,我們一起描繪活用所學、開展生涯的美好未來。
驀然回首,當初那麼想到芬蘭,不就是為了回台灣實現讓學習更有意義的理想嗎?疫情是一位無形的嚴師,教導我們在變動中珍惜彼此,在家園築夢踏實,更讓我們重新發現,學習是一場無限的壯遊,本身就是一種目的,是為了提升自己來造福他人,而自在地探索未知、創造價值。
經過師生共同努力,今天的臺大更重視心輔資源,「防疫一號」、「線上杜鵑花節」、「未來大學」,都讓我們這最迷惘的一屆,不僅成為了最獨特的一屆,更將蛻變為最堅韌、最覺醒的一屆。無論如何我們堅信,來到生命的必有意義,即使畢業了、即使停課了,臺大人都將繼續沉思、繼續學習,在人生的無限遊戲,繼續締造壯舉,讓傅鐘在心裡迴響起,永不止息!
一路上感謝師長、同學,感謝親友、爸爸媽媽及阿公阿嬤。感謝臺大砥礪我們脫胎換骨。期許自己並祝福各位同學,艱難時刻盡己所能,抱持無限思維活學活用,超越自我、同理他人,我們一起創造共好的故事、貢獻宇宙的精神!我是林世峰,畢業後我們一起勇敢!謝謝大家!
.
==============================
.
President Kuan, distinguished guests, professors, parents, graduates, and friends on the screen, Hi! I am the valedictorian on behalf of graduates. I am Lin, Shih-Feng from the Department of Psychology.
The past transient four years brought me lasting remembrance. We made friends with classmates at Orientation Camp, searched for geese at Drunken Moon Lake, watched languid birds, Malayan Night Heron, on Zhoushan Road, biked to Wenzhou Street like a hipster and took a bite at the Lane 118. Although I dream that serene days live on, Covid-19 pandemic and the tragic loss of young lives suddenly happened. Hence, we have become the most puzzled and unique graduating class of 2021.
The events on campus were abruptly suspended. Online courses were augmented. The graduation prom and the feast at Palm Boulevard were cancelled. Even the onsite graduation ceremony and the banquet for thanking professors have become impossible but eternal regrets. One of my friends was forced to relinquish the opportunity to exchange abroad. And I could not fulfill my internship program of which I dream in Finland. Facing the disruption of planning and uncertainty as normalcy, we meet myriad challenges.
One day, I read a sentence written by James Carse in a second-hand bookstore on Wenzhou Street. To my astonishment, the philosopher categorizes human activities as two kinds of games. He said that "a finite game is played for the purpose of winning, an infinite game for the purpose of continuing the play.” All of a sudden, I realized that my struggling study arises from the trap of finite game. The limited learning like a sprint aims to prove superiority as means that we spare no effort to renew resume and acquire labels.
Reflecting back on one evening in my junior year, I accompanied third graders of high school who strived to prepare university entrance exam. I thought I could help answer their questions but eventually they said to me that “I felt aimless, exhausted, and suffocated…"“What is the purpose for learning indeed…?”
Right. Studying for exams and labels without inquiring into meaning and value could ensnare us within emptiness, exhaustion and pains. Therefore, I found NTU Avizure Education Club in partnership with peers from more than 20 departments. Students from over five universities including those from Hong Kong and Canada enter the community and guide middle and high schoolers to explore the meaning of learning and the value of self through application of what we have learned, leading to promising careers in the future.
While viewing the past and thinking of Finland, wasn’t it the ideal that I wish to accomplish after return to make learning more meaningful? The pandemic is an invisible stern teacher who teaches us to cherish each other in times of turmoil, to pursue dreams step by step in homeland, and to discover again. Learning is infinite grand journey embodied in a purpose, improving oneself to benefit others, exploring unknown, and creating value.
With joint endeavors of faculty and students, National Taiwan University today draws more attention to counseling resources. The Device of Epidemic Prevention No. 1, Azalea Festival online, and the University of Future project allow us as the most puzzled class to transform into the most unique and perseverant class with self-awareness. We firmly believe that anything that brings to the life gives meaning. Regardless of gradation and end of class, members of NTU would continue to consider and learn as well as proceed to accomplish in the infinite game of life. And the resonance of ringing the Full Bell in our mind never ceases.
I would like to extend my gratitude to professors, fellow classmates, family, friends, parents and grandparents in my path. Thank National Taiwan University for urging us to change. I expect each student and myself to transcend ourselves and to be compassionate toward others as active learners during trying times. We together create stories of common good and embrace the spirit to contribute to the universe. I am Lin, Shih-Feng. We are brave upon graduation. Thank you all.
詳見:
https://www.facebook.com/NTUCommencement/posts/2718183551805402
.
#臺灣大學 #畢業典禮 #NTUCommencement2021 #學生致詞代表 #臺大心理學系 #林世峰
universities in canada 在 城寨 Facebook 的最讚貼文
加拿大政府詐傻扮懵還是有錢使得鬼推磨?
儘管存在安全隱患,渥太華與華為合作為大學研究提供資助
universities in canada 在 Philip Phạm Youtube 的精選貼文
English and Study abroad. Get admissions and scholarships to the best universities in the world with low English score, IELTS speaking 5.5!
#IELTS_6.5, #Scholarship, #Ph.D.
My 1st personal vlog discusses English and Getting Scholarships. With very low score of English and a screwed up accent, how have I been getting admissions and fellowships to the most prestigious universities in the world, including Harvard University, University of British Columbia, Groningen and KU Leuven?
This video uses a few materials from this youtube video: https://www.youtube.com/watch?v=DjC_v-eHvKA&t=203s
Personal facebook: https://www.facebook.com/duchungyk
This vlog is made for educational purpose and sharing experience.
Học tiếng Anh
Xin học bổng thạc sĩ, tiến sĩ với điểm tiếng Anh, IELTS và TOEFL iBT thấp. Hung Pham - Philip Pham đã có thể xin học bổng du học tại các trường danh tiếng trên thế giới như trường đại học Harvard, đại học KU Leuven, Đại Học British Columbia, Đại học Groningen. Hy vọng video giúp ích cho các bạn.
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/CRpkayWXMoo/hqdefault.jpg)
universities in canada 在 sherrybyw Youtube 的最讚貼文
This has been a highly requested video ever since I talked about what I currently do (see my FAQ video here: https://bit.ly/2BRXFRl ). In this video, I talk about my decision making process when deciding what I wanted to do after graduation and how I managed to choose a career path that suits me and how I switched industries / field.
•••••••••••••••••••••••••••• FIND ME ON •••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••
Instagram • http://www.instagram.com/sherrybyw
Facebook • http://www.facebook.com/sherrybyw
Snapchat • sherrybyw
EMAIL:
For random questions - sherry@abrushofbeauty.com
For business inquiries - info@abrushofbeauty.com
•••••••••••••••••••••••••••• ABOUT ME •••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••
I'm Sherry and I love filming videos of all sorts - travel, lifestyle, and general entertainment. I speak English and Cantonese, and am currently working on my Mandarin. I'm originally from Canada (woo Toronto) and Hong Kong, but I currently work and live in Singapore!
What do I do full-time? https://www.youtube.com/watch?v=zbTk5nKjuEc
Here are some more random facts about me: https://www.youtube.com/watch?v=o0ufTue-O9k
•••••••••••••••••••••••••••• MORE VIDEOS •••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••
APARTMENT TOUR (DOWNTOWN MONTREAL): https://www.youtube.com/watch?v=6Xt1PWSPPFg
自然捲髮造型分享 ?How I Curl My Hair: https://www.youtube.com/watch?v=rRGTU7WNsG8
10分鐘去學的眼鏡化妝!! Glasses Makeup: https://www.youtube.com/watch?v=D92l5gnyzlY
Sisters Q&A!!!: https://www.youtube.com/watch?v=4pYfg3PV8Dk
自信心 ♡ How am I so confident?!: https://www.youtube.com/watch?v=a2pFq92Vf70
Snippet of my life: https://www.youtube.com/watch?v=qJn8gV25wgs
•••••••••••••••••••••••••••• CAMERA, EQUIPMENT, AND MUSIC ••••••••••••••••••••••••••••••••
https://soundcloud.com/ikson
DJI Osmo Pocket
Canon EOS 70D
Canon EF-S 18-55mm f/3.5-5.6
Canon EF-S 24mm f/2.8
Canon EF 50mm f/1.8
Canon
Sony NEX-5R
Minolta 35, 50, and 85mm
Iphone 7+
#realtalk #education #career
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/uun32y1iVo8/hqdefault.jpg)
universities in canada 在 List of universities in Canada - Wikipedia 的相關結果
The largest university in terms of enrolment is the University of Toronto, which has 84,000 students across campuses in three locations. York University in ... ... <看更多>
universities in canada 在 List of Top Universities & Colleges in Canada - Shiksha Study ... 的相關結果
Top Universities & Colleges in Canada - Ranking, Fees & Requirement (142) · 1. University of Toronto Toronto, Ontario · 2. The University of British Columbia ... ... <看更多>
universities in canada 在 Canadian universities - | UniversityStudy.ca 的相關結果
CANADIAN UNIVERSITIES. Start your search today by browsing the directory below and learn more about Canada's universities. ... <看更多>